fbpx
วิกิพีเดีย

ปรากฏการณ์เซมัน

ปรากฏการณ์เซมัน (อังกฤษ: Zeeman Effect) เป็นปรากฏการณ์ที่ถูกตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์ชาวเนเธอร์แลนด์ ชื่อ ปีเตอร์ เซมัน (Pieter Zeeman) โดยปรากฏการณ์นี้จะเกิดการแยกเส้นสเปกตรัมเมื่อให้สนามแม่เหล็กคงที่แก่แหล่งกำเนิดแสง ซึ่งคล้ายคลึงกับปรากฏการณ์สตาร์ค (Stark Effect) ที่สนามไฟฟ้าทำให้เกิดการแยกเส้นสเปกตรัม

Zeeman splitting of the 5s level of Rb-87, including fine structure and hyperfine structure splitting. Here F = J + I, where I is the nuclear spin. (for Rb-87, I = 3/2)

เนื่องจากระยะห่างระหว่าง Zeeman sub-levels เป็นฟังก์ชันของสนามแม่เหล็ก ดังนั้น ปรากฏการณ์นี้จึงถูกใช้ในการวัดสนามแม่เหล็ก ยกตัวอย่างเช่น สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์และดาวอื่น ๆ หรือในห้องปฏิบัติการทางพลาสมา ปรากฏการณ์เซมันมีความสำคัญมากในการนำไปประยุกต์ใช้งาน เช่น สเปกโตรสโกปชนิด nuclear magnetic resonance (NMR), สเปกโตรสโกปชนิด electron spin resonance และเครื่อง MRI (magnetic resonance imaging) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในการปรับปรุงความแม่นยำในการดูดซับอะตอมของสเปกโตรสโกป

ศัพท์เฉพาะสำหรับปรากฏการณ์เซมัน

ตามประวัติศาสตร์ ปรากฏการณ์ซีมันแบบ normal และแบบ anomalous มีความแตกต่างกัน ซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้ถูกค้นพบโดย โทมัส เพรสตัน (Thomas Preston) ที่เมืองดับลิน (Dublin) ซึ่งเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Ireland) ปรากฏการณ์ซีมันแบบ anomalous ปรากฏเมื่ออิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนระดับพลังงาน โดยอิเล็กตรอนมีสปินเป็นเลขคี่จำนวนครึ่ง ดังนั้นระดับพลังงานย่อยของซีมันจึงเป็นจำนวนคู่ ที่เราเรียกชื่อปรากฏการณ์นี้ว่า anomalous เนื่องจากในขณะที่ซีมันทำการศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์นี้ ยังไม่มีการค้นพบสปินของอิเล็กตรอน และยังไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับสปินที่ดีพอ เราจึงเรียกปรากฏการณ์นี้ว่าเป็นแบบ anomalous

เมื่อเราพิจารณากรณีที่ความเข้มของสนามแม่เหล็กมีค่าสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบความเข้มของสนามภายนอกและความเข้มของสนามภายในอะตอม อิเล็กตรอนที่อยู่ติดกันจะถูกรบกวน และจะมีการจัดเรียงเส้นสเปกตรัมใหม่ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า ปรากฏการณ์ Paschen-Back

การนำเสนอทางทฤษฎี

ผลรวมฮามิลโทเนียนของอะตอมในสนามแม่เหล็ก คือ

 

โดยที่

  คือ ฮามิลโทเนียนของอะตอมที่ไม่ถูกรบกวน

 คือ การรบกวนเนื่องจากสนามแม่เหล็ก ดังสมการ

 

โดยที่   คือ โมเมนต์แม่เหล็กของอะตอม โมเมนต์แม่เหล็กประกอบด้วยส่วนไฟฟ้าและส่วนนิวเคลียร์ แต่ส่วนหลังจะมีขนาดเล็กลง ดังนั้น

 

โดยที่

  คือ Bohr magneton

  คือ ผลรวมโมเมนตัมเชิงมุมทางไฟฟ้า

  คือ Landé g-factor

ซึ่งวิธีที่ถูกต้องมากขึ้นคือการพิจารณาตัวดำเนินการของโมเมนต์แม่เหล็กของอิเล็กตรอนเป็นผลรวมของโมเมนตัมเชิงมุม (orbital angular momentum, L) และโมเมนตัมสปิน (spin angular momentum, S) และคูณแต่ละจำนวนด้วย Gyromagnetic ratio

 

ซึ่ง   และ  

ปรากฏการณ์เซมันแบบ Weak-field

ปรากฏการณ์ที่ส่งผลต่อเส้นสเปรกตัมของอะตอมในสนามแม่เหล็กโดยที่อันตรกิริยาของ spin-orbit มีอิทธิพลมากกว่าผลเนื่องจากสนามแม่เหล็กภายนอก โดยที่ผลรวมของโมเมนตัมเชิงมุมคือ  

ค่าเฉลี่ยของสปินเวกเตอร์คือ สปินเวกเตอร์ที่โพรเจกชั่นบนทิศทางของ  

 

และค่าเฉลี่ยของโมเมนตัมเชิงมุมจะเป็น

 

ดังนั้นถ้าให้ VM เป็นพลังงานศักย์เนื่องจากการรบกวนของสนามแม่เหล็กจะได้ว่า

 

แทนค่า   แล้วยกกำลังสองทั้ง ข้างเราจะได้

 

แทนค่า   แล้วยกกำลังสองทั้ง ข้างเราจะได้

 

แทนค่า   ในสมการและให้ เพื่อหาค่าพลังงานศักย์ของอะตอมที่ถูกรบกวนโดยสนามแม่เหล็กภายนอก

 

เมื่อปริมาณในวงเล็บใหญ่คือ Landé g-factor gJ ของอะตอม (gL= 1, gS = 2) และ คือ ผลรวมของโมเมนตัมเชิงมุมใน z-component สำหรับอิเล็กตรอนเดี่ยวบน filled shell, และ จะทำให้ Landé g-factor สามารถอนุมานได้เป็น

 

สามารถเขียน VM ในรูปของ ค่าแก้ไขของ Zeeman ได้เป็น

 

ปรากฏการณ์เซมันแบบสนามแม่เหล็กเข้ม (Strong field Zeeman Effect)

ปรากฏการณ์ซีมานแบบสนามแม่เหล็กเข้ม เรียกอีกชื่อว่า ปรากฏการณ์ Paschen-Back เป็นการแยกระดับพลังงานอะตอมอยู่ในสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูง เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อสนามแม่เหล็กภายนอกมีค่ามากพอที่จะรบกวนอันตรกิริยาระหว่างสปินกับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (The spin-orbit coupling) โดยปรากฏการณ์นี้ได้รับการตั้งชื่อจาก นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน Friedrich Paschen และ Ernst E. A Back

เมื่อการรบกวนของสนามแม่เหล็ก (the magnetic-field perturbation) มีค่ามากกว่าอันตรกิริยาของสปินกับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (the spin-orbit interaction) อย่างมาก อาจถือว่า   ซึ่งจะช่วยให้คำนวณหาค่าคาดหวังของโมเมนตัมเชิงมุมออร์บิทัล ( ) และโมเมนตัมเชิงมุมของสปิน ( ) ได้ง่าย โดยพลังงานจะอยู่ในรูป

 

จากสมการข้างบน แสดงให้เห็นว่า อันตรกิริยาระหว่างสปินกับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (The spin-orbit coupling) ได้รับการกระทบจากสนามภายนอกอย่างสมบูรณ์ อย่างไรก็ตามกฎการเลือก (The selection rules)   และ   ยังเป็นเลขควอนตัมที่ยังคงใช้ได้ นั่นคือ   เป็นผลให้มีเพียงเส้นสเปกตรัม 3 เส้นที่จะมองเห็นได้ ซึ่งสอดคล้องกับกฎการเลือก (The selection rule) ที่ว่า   โดยการแยกเส้นสเปกตรัม   เป็นส่วนที่ไม่ขึ้นกับพลังงานที่ไม่ถูกรบกวนและโครงสร้างของระดับพลังงานของอะตอมของระดับที่พิจารณา โดยจะเห็นว่า องค์ประกอบทั้งสามในสมการนี้เป็นคำตอบของการเปลี่ยนสถานะหลาย ๆ สถานะ

ในกรณีทั่วไป (ถ้า   ) จะต้องเพิ่มเทอมของอันตรกิริยาระหว่างสปินกับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (The spin-orbit coupling) และ Relativistic corrections หรือที่เรียกกันว่า “fine structure” ซึ่งเป็นการรบกวนต่อระดับที่ไม่ถูกรบกวน โดยค่าพลังงานของ fine-structure corrections สำหรับอะตอมไฮโดรเจนใน the Paschen–Back limit จากการใช้ทฤษฎี Perturbation อันดับที่ 1 เป็นไปตามสมการข้างล่าง

 

ปรากฏการณ, เซม, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, zeeman, effect,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir praktkarnesmn xngkvs Zeeman Effect epnpraktkarnthithuktngchuxtamnkfisikschawenethxraelnd chux pietxr esmn Pieter Zeeman odypraktkarnnicaekidkaraeykesnsepktrmemuxihsnamaemehlkkhngthiaekaehlngkaenidaesng sungkhlaykhlungkbpraktkarnstarkh Stark Effect thisnamiffathaihekidkaraeykesnsepktrmZeeman splitting of the 5s level of Rb 87 including fine structure and hyperfine structure splitting Here F J I where I is the nuclear spin for Rb 87 I 3 2 enuxngcakrayahangrahwang Zeeman sub levels epnfngkchnkhxngsnamaemehlk dngnn praktkarnnicungthukichinkarwdsnamaemehlk yktwxyangechn snamaemehlkkhxngdwngxathityaeladawxun hruxinhxngptibtikarthangphlasma praktkarnesmnmikhwamsakhymakinkarnaipprayuktichngan echn sepkotrsokpchnid nuclear magnetic resonance NMR sepkotrsokpchnid electron spin resonance aelaekhruxng MRI magnetic resonance imaging nxkcakniyngsamarthichinkarprbprungkhwamaemnyainkardudsbxatxmkhxngsepkotrsokp enuxha 1 sphthechphaasahrbpraktkarnesmn 2 karnaesnxthangthvsdi 3 praktkarnesmnaebb Weak field 4 praktkarnesmnaebbsnamaemehlkekhm Strong field Zeeman Effect sphthechphaasahrbpraktkarnesmn aekikhtamprawtisastr praktkarnsimnaebb normal aelaaebb anomalous mikhwamaetktangkn sungpraktkarnehlanithukkhnphbody othms ephrstn Thomas Preston thiemuxngdblin Dublin sungepnemuxnghlwngaelaemuxngthiihythisudkhxngsatharnrthixraelnd Ireland praktkarnsimnaebb anomalous praktemuxxielktrxnmikarepliynradbphlngngan odyxielktrxnmispinepnelkhkhicanwnkhrung dngnnradbphlngnganyxykhxngsimncungepncanwnkhu thieraeriykchuxpraktkarnniwa anomalous enuxngcakinkhnathisimnthakarsuksaekiywkbpraktkarnni yngimmikarkhnphbspinkhxngxielktrxn aelayngimmikhaxthibayekiywkbspinthidiphx eracungeriykpraktkarnniwaepnaebb anomalousemuxeraphicarnakrnithikhwamekhmkhxngsnamaemehlkmikhasungkhun emuxepriybethiybkhwamekhmkhxngsnamphaynxkaelakhwamekhmkhxngsnamphayinxatxm xielktrxnthixyutidkncathukrbkwn aelacamikarcderiyngesnsepktrmihm praktkarnnieriykwa praktkarn Paschen Backkarnaesnxthangthvsdi aekikhphlrwmhamilotheniynkhxngxatxminsnamaemehlk khux H H 0 V M displaystyle H H 0 V M odythiH 0 displaystyle H 0 khux hamilotheniynkhxngxatxmthiimthukrbkwnV M displaystyle V M khux karrbkwnenuxngcaksnamaemehlk dngsmkar V M m B displaystyle V M vec mu cdot vec B odythi m displaystyle vec mu khux omemntaemehlkkhxngxatxm omemntaemehlkprakxbdwyswniffaaelaswnniwekhliyr aetswnhlngcamikhnadelklng dngnn m m B g J ℏ displaystyle vec mu approx frac mu B g vec J hbar odythim B displaystyle mu B khux Bohr magnetonJ displaystyle vec J khux phlrwmomemntmechingmumthangiffag displaystyle g khux Lande g factorsungwithithithuktxngmakkhunkhuxkarphicarnatwdaeninkarkhxngomemntaemehlkkhxngxielktrxnepnphlrwmkhxngomemntmechingmum orbital angular momentum L aelaomemntmspin spin angular momentum S aelakhunaetlacanwndwy Gyromagnetic ratio m m B g l L g s S ℏ displaystyle vec mu frac mu B g l vec L g s vec S hbar sung g l 1 displaystyle g l 1 aela g s 2 0023192 displaystyle g s approx 2 0023192 praktkarnesmnaebb Weak field aekikhpraktkarnthisngphltxesnseprktmkhxngxatxminsnamaemehlkodythixntrkiriyakhxng spin orbit mixiththiphlmakkwaphlenuxngcaksnamaemehlkphaynxk odythiphlrwmkhxngomemntmechingmumkhux J L S displaystyle scriptstyle vec J vec L vec S khaechliykhxngspinewketxrkhux spinewketxrthiophreckchnbnthisthangkhxng J displaystyle scriptstyle vec J S a v g S J J 2 J displaystyle vec S avg frac vec S cdot vec J J 2 vec J aelakhaechliykhxngomemntmechingmumcaepnL a v g L J J 2 J displaystyle vec L avg frac vec L cdot vec J J 2 vec J dngnnthaih VM epnphlngnganskyenuxngcakkarrbkwnkhxngsnamaemehlkcaidwa V M m B ℏ J g L L J J 2 g S S J J 2 B displaystyle langle V M rangle frac mu B hbar vec J left g L frac vec L cdot vec J J 2 g S frac vec S cdot vec J J 2 right cdot vec B aethnkha L J S displaystyle scriptstyle vec L vec J vec S aelwykkalngsxngthng khangeracaidS J 1 2 J 2 S 2 L 2 ℏ 2 2 j j 1 l l 1 s s 1 displaystyle vec S cdot vec J frac 1 2 J 2 S 2 L 2 frac hbar 2 2 j j 1 l l 1 s s 1 aethnkha S J L displaystyle scriptstyle vec S vec J vec L aelwykkalngsxngthng khangeracaidL J 1 2 J 2 S 2 L 2 ℏ 2 2 j j 1 l l 1 s s 1 displaystyle vec L cdot vec J frac 1 2 J 2 S 2 L 2 frac hbar 2 2 j j 1 l l 1 s s 1 aethnkha J z ℏ m j displaystyle scriptstyle J z hbar m j insmkaraelaih ephuxhakhaphlngnganskykhxngxatxmthithukrbkwnodysnamaemehlkphaynxkV M m B B m j g L j j 1 l l 1 s s 1 2 j j 1 g S j j 1 l l 1 s s 1 2 j j 1 m B B m j 1 g S 1 j j 1 l l 1 s s 1 2 j j 1 m B B m j g j displaystyle begin aligned V M amp mu B Bm j left g L frac j j 1 l l 1 s s 1 2j j 1 g S frac j j 1 l l 1 s s 1 2j j 1 right amp mu B Bm j left 1 g S 1 frac j j 1 l l 1 s s 1 2j j 1 right amp mu B Bm j g j end aligned emuxprimaninwngelbihykhux Lande g factor gJ khxngxatxm gL 1 gS 2 aela khux phlrwmkhxngomemntmechingmumin z component sahrbxielktrxnediywbn filled shell aela cathaih Lande g factor samarthxnumanidepng j 1 g S 1 2 l 1 displaystyle g j 1 pm frac g S 1 2l 1 samarthekhiyn VM inrupkhxng khaaekikhkhxng Zeeman idepnE Z 1 n l j m j H Z n l j m j V M PS m B g J B e x t m j displaystyle begin aligned E Z 1 langle nljm j H Z nljm j rangle langle V M rangle Psi mu B g J B ext m j end aligned praktkarnesmnaebbsnamaemehlkekhm Strong field Zeeman Effect aekikhpraktkarnsimanaebbsnamaemehlkekhm eriykxikchuxwa praktkarn Paschen Back epnkaraeykradbphlngnganxatxmxyuinsnamaemehlkthimikhwamekhmsung ehtukarnniekidkhunemuxsnamaemehlkphaynxkmikhamakphxthicarbkwnxntrkiriyarahwangspinkbkarekhluxnthikhxngxielktrxnchnnxksud The spin orbit coupling odypraktkarnniidrbkartngchuxcak nkfisikschaweyxrmn Friedrich Paschen aela Ernst E A Backemuxkarrbkwnkhxngsnamaemehlk the magnetic field perturbation mikhamakkwaxntrkiriyakhxngspinkbkarekhluxnthikhxngxielktrxnchnnxksud the spin orbit interaction xyangmak xacthuxwa H 0 S 0 displaystyle H 0 S 0 sungcachwyihkhanwnhakhakhadhwngkhxngomemntmechingmumxxrbithl L z displaystyle L z aelaomemntmechingmumkhxngspin S z displaystyle S z idngay odyphlngngancaxyuinrupE z ps H 0 B z m B ℏ L z g s S z ps E 0 B z m B m l g s m s displaystyle E z left langle psi left H 0 frac B z mu B hbar L z g s S z right psi right rangle E 0 B z mu B m l g s m s caksmkarkhangbn aesdngihehnwa xntrkiriyarahwangspinkbkarekhluxnthikhxngxielktrxnchnnxksud The spin orbit coupling idrbkarkrathbcaksnamphaynxkxyangsmburn xyangirktamkdkareluxk The selection rules m l displaystyle m l aela m s displaystyle m s yngepnelkhkhwxntmthiyngkhngichid nnkhux D s 0 D m s 0 D l 1 D m l 0 1 displaystyle Delta s 0 Delta m s 0 Delta l pm 1 Delta m l 0 pm 1 epnphlihmiephiyngesnsepktrm 3 esnthicamxngehnid sungsxdkhlxngkbkdkareluxk The selection rule thiwa D m l 0 1 displaystyle Delta m l 0 pm 1 odykaraeykesnsepktrm D E B m B D m l displaystyle Delta E B mu B Delta m l epnswnthiimkhunkbphlngnganthiimthukrbkwnaelaokhrngsrangkhxngradbphlngngankhxngxatxmkhxngradbthiphicarna odycaehnwa xngkhprakxbthngsaminsmkarniepnkhatxbkhxngkarepliynsthanahlay sthanainkrnithwip tha s 0 displaystyle s neq 0 catxngephimethxmkhxngxntrkiriyarahwangspinkbkarekhluxnthikhxngxielktrxnchnnxksud The spin orbit coupling aela Relativistic corrections hruxthieriykknwa fine structure sungepnkarrbkwntxradbthiimthukrbkwn odykhaphlngngankhxng fine structure corrections sahrbxatxmihodrecnin the Paschen Back limit cakkarichthvsdi Perturbation xndbthi 1 epniptamsmkarkhanglangE z f s E z a 2 2 n 3 3 4 n l l 1 m l m s l l 1 2 l 1 displaystyle E z fs E z frac alpha 2 2n 3 left frac 3 4n left frac l l 1 m l m s l l 1 2 l 1 right right ekhathungcak https th wikipedia org w index php title praktkarnesmn amp oldid 7583312, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม