fbpx
วิกิพีเดีย

ผักกาดหอม

ผักสลัด หรือ ผักกาดหอม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lactuca sativa) เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae ลำต้นเตี้ย แต่ส่วนที่เจริญมากที่สุดคือใบ แต่ละสายพันธุ์ก็มีช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมไม่เหมือนกัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชียและยุโรป ประเทศจีนปลูกผักกาดหอมมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ผักกาดหอมมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกเช่น ผักสลัด ผักกาดยี พังฉ้าย เป็นต้น

ผักกาดหอม
ทุ่งผักกาดแก้วในรัฐแคลิฟอร์เนีย
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: พืช
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
เคลด: พืชดอก
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
เคลด: แอสเทอริด
อันดับ: อันดับทานตะวัน
วงศ์: วงศ์ทานตะวัน
เผ่า: Cichorieae
สกุล: สกุลผักกาดหอม
L.
สปีชีส์: Lactuca sativa
ชื่อทวินาม
Lactuca sativa
L.
ชื่อพ้อง
  • Lactuca scariola var. sativa (Moris)
  • L. scariola var. integrata (Gren. and Godr.)
  • L. scariola var. integrifolia (G.Beck)

มนุษย์นำใบของผักกาดหอมมาบริโภค มักใช้เป็นส่วนประกอบของสลัด แซนด์วิช แฮมเบอร์เกอร์ ทาโก้ หรือรับประทานเป็นผักสด แกล้มกับอาหารรสจัดจำพวกยำหรือลาบ สาคูไส้หมู หรือข้าวเกรียบปากหม้อ หรือแม้แต่ใช้เป็นผักตกแต่งเพื่อความสวยงาม ผักกาดหอมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง[ต้องการอ้างอิง] ความต้องการใช้ผักกาดหอมของผู้บริโภคมีอยู่ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วงที่มีเทศกาลงานต่าง ๆ เช่น งานปีใหม่ จะขายดีเป็นพิเศษ

สรรพคุณ

  1. ผักกาดหอม มีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด จึงช่วยในการป้องกันและต่อต้านมะเร็งได้ (ใบ)[2]
  2. น้ำคั้นจากทั้งต้น นำมาใช้ปรุงเป็นยาบำรุงร่างกายได้ (ทั้งต้น)[4]
  3. ช่วยในการนอนหลับ ทำให้จิตใจสงบและผ่อนคลาย แก้อารมณ์เสียง่าย โดยดร. ดันแคน (แพทย์ยุคกลางชาวอังกฤษ) ในใบหรือก้านของผักกาดหอมจะมีสารรสขมที่มีชื่อว่า “แลกทูคาเรียม” (Lactucarium) ซึ่งสารนี้มีคุณสมบัติทำให้เกิดอาการง่วงนอน # ทำให้จิตใจสงบและผ่อนคลาย การรับประทานผักกาดหอมแบบสด ๆ ก่อนนอนหรือรับประทานเป็นอาหารมื้อเย็น จึงช่วยทำให้เรานอนหลับได้สบายยิ่งขึ้นนั่นเอง[2],[5]
  4. ผักกาดหอมมีน้ำเป็นองค์ประกอบโดยส่วนมาก จึงเป็นผักที่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน[3]
  5. ผักกาดหอมอุดมไปด้วยธาตุเหล็ก ที่ช่วยเสริมการสร้างเม็ดเลือด หรือฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) จึงเหมาะอย่างมากสำหรับผู้ที่เป็นโรคโลหิตจาง และยังช่วยแก้อาการอ่อนเพลีย หรือมีสมาธิสั้น การเรียนรู้ลดลง[3]
  6. น้ำคั้นจากใบ ช่วยแก้ไข้ได้ (ใบ)[2],[5]
  7. น้ำคั้นจากใบใช้เป็นยาแก้ไอได้เป็นอย่างดี (ใบ)[2],[5]
  8. เมล็ดผักกาดหอมตากแห้งประมาณ 5 กรัม นำมาชงกับน้ำร้อน 1 ถ้วยกาแฟ ใช้ดื่มก่อนอาหารเช้าและเย็น ถ้าหากใช้ต้นให้ใช้เพียงครึ่งต้นทานเพื่อช่วยขับเสมหะและแก้อาการไอ และไม่ควรใช้มากเกินไป (เมล็ด,ต้น)[5]
  9. สรรพคุณผักกาดหอม ช่วยขับเหงื่อ (น้ำคั้นจากใบ)[2],[5]
  10. ช่วยแก้อาการกระหายน้ำ (น้ำคั้นจากทั้งต้น)[4]
  11. การรับประทานผักกาดหอมจะช่วยในการขับถ่าย ช่วยป้องกันและบรรเทาอาการท้องผูกได้ (ทั้งต้น)[4]
  12. น้ำคั้นจากทั้งต้น ใช้เป็นยาระบายได้ (ทั้งต้น)[4]
  13. ช่วยขับลมในลำไส้ (น้ำคั้นจากทั้งต้น)[4]
  14. ช่วยขับพยาธิ (น้ำคั้นจากทั้งต้น)[4]
  15. ช่วยขับปัสสาวะ (น้ำคั้นจากใบ,เมล็ด)[2],[5]
  16. ช่วยรักษาโรคริดสีดวงทวาร (เมล็ด)[5]
  17. เมล็ดผักกาดหอม ใช้รักษาโรคตับ (เมล็ด)[5]
  18. น้ำคั้นจากทั้งต้นใช้ทาฝีมะม่วงที่รีดเอาหนองออกแล้วได้ (ทั้งต้น)[4]
  19. ช่วยระงับอาการปวด (เมล็ด)[5]
  20. ช่วยแก้อาการปวดเอว (เมล็ด)[5]
  21. เมล็ดผักกาดหอม สรรพคุณช่วยขับน้ำนมของสตรีหลังคลอดบุตร (เมล็ด)[2],[5]

การเพาะปลูก

วิกิตำรา มีคู่มือ ตำรา หรือวิธีการเกี่ยวกับ:
ผักกาดหอม

ผักกาดหอมเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วน แต่ก็สามารถปลูกได้ในดินแทบทุกชนิด ดินที่ใช้ปลูกต้องระบายน้ำได้ดี มีค่า pH ในดิน 6.5-7 ขุดดินเป็นร่องตื้นแล้วหว่านเมล็ดลงไป รดน้ำวันละ 2 เวลา เช้า-เย็น อย่างสม่ำเสมอ เมื่อผักกาดหอมงอกแล้วอาจต้องมีการย้ายกล้าออกเพื่อไม่ให้อยู่ติดกันแน่นเกินไป ผักกาดหอมเป็นผักที่ไม่ค่อยมีแมลงรบกวน จึงไม่จำเป็นต้องฉีดยาฆ่าแมลง แมลงศัตรูพืชที่พบบ้างก็มีเพลี้ย กับหนอนกระทู้หอม ซึ่งพบมากในฤดูหนาวแถวภาคกลางและภาคเหนือ อายุการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมประมาณ 40-50 วัน (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิกิตำรา)

อ้างอิง

  1. . Kew Royal Botanical Gardens. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-11-02. สืบค้นเมื่อ 2 April 2012.
  2. . United States Department of Agriculture. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 5 June 2012. สืบค้นเมื่อ 2 April 2012.

วรรณกรรม

  • Bradley, Fern Marshall; Ellis, Barbara W.; Martin, Deborah L., บ.ก. (2009). The Organic Gardener's Handbook of Natural Pest and Disease Control. Rodale. ISBN 978-1-60529-677-7.
  • Davey, M. R.; Anthony, P.; Van Hooff, P.; Power, J. B.; Lowe, K. C. (2007). "Lettuce". Transgenic Crops. Biotechnology in Agriculture and Forestry. 59. Springer. ISBN 978-3-540-36752-9.
  • Katz, Solomon H.; Weaver, Williams Woys (2003). Encyclopedia of Food and Culture. 2. Scribner. ISBN 978-0-684-80565-8.
  • Weaver, Williams Woys (1997). Heirloom Vegetable Gardening: A Master Gardener's Guide to Planting, Seed Saving and Cultural History. Henry Holt and Company. ISBN 978-0-8050-4025-8.

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Lactuca sativa
  • การปลูกผักกาดหอมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ 2009-05-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

กกาดหอม, บทความน, หร, อส, วนน, ของบทความต, องการปร, บร, ปแบบ, งอาจหมายถ, องการจ, ดร, ปแบบข, อความ, ดหน, แบ, งห, วข, ดล, งก, ภายใน, และ, หร, อการจ, ดระเบ, ยบอ, ณสามารถช, วยแก, ไขป, ญหาน, ได, โดยการกดท, แก, ไข, านบน, จากน, นปร, บปร, งหร, อจ, ดร, ปแบบอ, ในบทความใ. bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm phksld hrux phkkadhxm chuxwithyasastr Lactuca sativa epnphuchinwngs Asteraceae latnetiy aetswnthiecriymakthisudkhuxib aetlasayphnthukmichwngvdukalthiehmaasmimehmuxnkn mithinkaenidinthwipexechiyaelayuorp praethscinplukphkkadhxmmatngaetkhriststwrrsthi 5 phkkadhxmmichuxeriykxun xikechn phksld phkkadyi phngchay epntnphkkadhxmthungphkkadaekwinrthaekhlifxreniykarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr phuchekhld phuchmithxlaeliyngekhld phuchdxkekhld phuchibeliyngkhuaethekhld aexsethxridxndb xndbthantawnwngs wngsthantawnepha Cichorieaeskul skulphkkadhxmL spichis Lactuca sativachuxthwinamLactuca sativaL chuxphxng 1 2 Lactuca scariola var sativa Moris L scariola var integrata Gren and Godr L scariola var integrifolia G Beck mnusynaibkhxngphkkadhxmmabriophkh mkichepnswnprakxbkhxngsld aesndwich aehmebxrekxr thaok hruxrbprathanepnphksd aeklmkbxaharrscdcaphwkyahruxlab sakhuishmu hruxkhawekriybpakhmx hruxaemaetichepnphktkaetngephuxkhwamswyngam phkkadhxmmikhunkhathangophchnakarsung txngkarxangxing khwamtxngkarichphkkadhxmkhxngphubriophkhmixyutlxdthngpi odyechphaachwngthimiethskalngantang echn nganpiihm cakhaydiepnphiess enuxha 1 srrphkhun 2 karephaapluk 3 xangxing 4 wrrnkrrm 5 aehlngkhxmulxunsrrphkhun aekikhswnniimmikarxangxingcakexksarxangxinghruxaehlngkhxmul oprdchwyphthnaswnniodyephimaehlngkhxmulnaechuxthux enuxhathiimmikarxangxingxacthukkhdkhanhruxnaxxkphkkadhxm misartanxnumulxisrahlaychnid cungchwyinkarpxngknaelatxtanmaerngid ib 2 nakhncakthngtn namaichprungepnyabarungrangkayid thngtn 4 chwyinkarnxnhlb thaihciticsngbaelaphxnkhlay aekxarmnesiyngay odydr dnaekhn aephthyyukhklangchawxngkvs inibhruxkankhxngphkkadhxmcamisarrskhmthimichuxwa aelkthukhaeriym Lactucarium sungsarnimikhunsmbtithaihekidxakarngwngnxn thaihciticsngbaelaphxnkhlay karrbprathanphkkadhxmaebbsd kxnnxnhruxrbprathanepnxaharmuxeyn cungchwythaiheranxnhlbidsbayyingkhunnnexng 2 5 phkkadhxmminaepnxngkhprakxbodyswnmak cungepnphkthiehmaaxyangyingsahrbphupwyorkhebahwan 3 phkkadhxmxudmipdwythatuehlk thichwyesrimkarsrangemdeluxd hruxhiomoklbin Hemoglobin cungehmaaxyangmaksahrbphuthiepnorkholhitcang aelayngchwyaekxakarxxnephliy hruxmismathisn kareriynruldlng 3 nakhncakib chwyaekikhid ib 2 5 nakhncakibichepnyaaekixidepnxyangdi ib 2 5 emldphkkadhxmtakaehngpraman 5 krm namachngkbnarxn 1 thwykaaef ichdumkxnxaharechaaelaeyn thahakichtnihichephiyngkhrungtnthanephuxchwykhbesmhaaelaaekxakarix aelaimkhwrichmakekinip emld tn 5 srrphkhunphkkadhxm chwykhbehngux nakhncakib 2 5 chwyaekxakarkrahayna nakhncakthngtn 4 karrbprathanphkkadhxmcachwyinkarkhbthay chwypxngknaelabrrethaxakarthxngphukid thngtn 4 nakhncakthngtn ichepnyarabayid thngtn 4 chwykhblminlais nakhncakthngtn 4 chwykhbphyathi nakhncakthngtn 4 chwykhbpssawa nakhncakib emld 2 5 chwyrksaorkhridsidwngthwar emld 5 emldphkkadhxm ichrksaorkhtb emld 5 nakhncakthngtnichthafimamwngthiridexahnxngxxkaelwid thngtn 4 chwyrangbxakarpwd emld 5 chwyaekxakarpwdexw emld 5 emldphkkadhxm srrphkhunchwykhbnanmkhxngstrihlngkhlxdbutr emld 2 5 karephaapluk aekikh wikitara mikhumux tara hruxwithikarekiywkb phkkadhxm phkkadhxmecriyetibotiddiindinrwn aetksamarthplukidindinaethbthukchnid dinthiichpluktxngrabaynaiddi mikha pH indin 6 5 7 khuddinepnrxngtunaelwhwanemldlngip rdnawnla 2 ewla echa eyn xyangsmaesmx emuxphkkadhxmngxkaelwxactxngmikaryayklaxxkephuximihxyutidknaennekinip phkkadhxmepnphkthiimkhxymiaemlngrbkwn cungimcaepntxngchidyakhaaemlng aemlngstruphuchthiphbbangkmiephliy kbhnxnkrathuhxm sungphbmakinvduhnawaethwphakhklangaelaphakhehnux xayukarekbekiywphkkadhxmpraman 40 50 wn duraylaexiydephimetimthi wikitara xangxing aekikh Lactuca sativa Kew Royal Botanical Gardens khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 11 02 subkhnemux 2 April 2012 Lactuca serriola L United States Department of Agriculture khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 5 June 2012 subkhnemux 2 April 2012 wrrnkrrm aekikhBradley Fern Marshall Ellis Barbara W Martin Deborah L b k 2009 The Organic Gardener s Handbook of Natural Pest and Disease Control Rodale ISBN 978 1 60529 677 7 Davey M R Anthony P Van Hooff P Power J B Lowe K C 2007 Lettuce Transgenic Crops Biotechnology in Agriculture and Forestry 59 Springer ISBN 978 3 540 36752 9 Katz Solomon H Weaver Williams Woys 2003 Encyclopedia of Food and Culture 2 Scribner ISBN 978 0 684 80565 8 Weaver Williams Woys 1997 Heirloom Vegetable Gardening A Master Gardener s Guide to Planting Seed Saving and Cultural History Henry Holt and Company ISBN 978 0 8050 4025 8 aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb Lactuca sativa karplukphkkadhxmephuxphlitemldphnthu Archived 2009 05 02 thi ewyaebkaemchchin ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phkkadhxm amp oldid 10044414, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม