fbpx
วิกิพีเดีย

พืชบก

พืชบก
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Late Silurian–Recent (สปอร์จากยุคออร์โดวิเชียน)
ใบเฟิร์น
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
โดเมน: Eukaryota
อาณาจักรใหญ่: Archaeplastida
อาณาจักร: Plantae
อาณาจักรย่อย: Embryophyta
ส่วน

พืชบก (Embryophyte) หมายถึงกลุ่มพืชที่เติบโตบนพื้นแผ่นดิน (ซึ่งมีความหมายต่างจากพืชน้ำ) ประกอบไปด้วยต้นไม้, ไม้ดอก, เฟิร์น, มอสส์ และพืชบกสีเขียวอื่น ๆ ทั้งหมดเป็นยูแคริโอตหลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจากการสังเคราะห์ด้วยแสงและสังเคราะห์อาหารจากคาร์บอนไดออกไซด์ พืชบกอาจต่างจากสาหร่ายหลายเซลล์ที่ใช้คลอโรฟิลล์โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน พืชบกส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก เป็นต้น

ความหลากหลายและการจำแนก

พืชบกวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียวที่ซับซ้อน (Chlorophyta) ระหว่างมหายุคพาลีโอโซอิก สโตนเวิร์ตเป็นสิ่งที่แสดงถึงขั้นวิวัฒนาการนั้นได้ดีที่สุด พืชที่คล้ายสาหร่ายนี้อยู่ภายใต้การสลับของวงจรชีวิตระหว่างมีโครโมโซมหนึ่งชุดและมีโครโมโซมสองชุด (หรือที่เรียกว่าแกมีโทไฟต์และสปอโรไฟต์)

พืชไม่มีท่อลำเลียง

พืชไม่มีท่อลำเลียงเป็นพืชกลุ่มแรกในพืชบก อย่างไรก็ตามสปอโรไฟต์ในพืชกลุ่มนี้เป็นสิ่งที่แตกต่างออกไปอย่างมากในโครงสร้างและฟังก์ชัน วงจรชีวิตสั้นและต้องมีทั้งพ่อและแม่ พืชเหล่านี้เรียกว่า 'ไบรโอไฟต์' มีอยู่สามกลุ่ม:

พืชเหล่านี้มีขนาดเล็กและอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เปียกชื้น อาศัยน้ำในการแพร่กระจายสปอร์

พืชมีท่อลำเลียง

พืชอื่นที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมบนบกได้ดีกว่าปรากฏอยู่ในช่วงยุคไซลูเรียน ระหว่างยุคดิโวเนียนพืชมีหลากหลายขึ้นและกระจายในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันกลายเป็นพืชมีท่อลำเลียงหรือเทรคีโอไฟต์ (tracheophytes) ซึ่งมีเนื้อเยื่อท่อลำเลียงหรือเทรคีดซึ่งใช้ส่งผ่านน้ำตลอดทั่วลำต้นและผิวนอกเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อถูกทำลายจากการสูญเสียน้ำ ในพืชมีท่อลำเลียงส่วนมาก สปอโรไฟต์จะเป็นช่วงวงจรที่เหนือกว่าและมีการพัฒนาใบแท้จริง, ลำต้น และ ราก ขณะที่แกมีโทไฟต์เหลือเป็นช่วงสั้น ๆ

พืชมีท่อลำเลียงหลายชนิดยังคงใช้สปอร์ในการกระจายพันธุ์ มีอยู่สองกลุ่ม:

พืชกลุ่มอื่นนั้นปรากฏครั้งแรกเมื่อเกือบถึงสุดสิ้นสุดในมหายุคพาลีโอโซอิก การสืบพันธุ์ใช้แคปซูลป้องกันการสูญเสียน้ำที่เรียกว่าเมล็ด ดังนั้นพืชกลุ่มนี้จึงเรียกว่า spermatophyte หรือพืชมีเมล็ด ในรูปแบบแกมีโทไฟต์หายไปโดยสมบูรณ์กลายเป็นรูปแบบเรณูและไข่เซลล์เดียว ขณะที่สปอโรไฟต์เริ่มวงจรชีวิตของมันถูกห่อหุ้มอยู่ในเมล็ด เมล็ดของพืชบางชนิดสามารถอยู่รอดในสภาวะแห้งแล้งแบบสุดขั้วได้ ไม่เหมือนกับเมล็ดบางชนิดที่ต้องใช้น้ำจำนวนมากในการกระตุ้นให้งอก กลุ่มของพืชมีเมล็ดมีดังนี้:

  • Cycadophyta (ปรง)
  • Ginkgophyta (แป๊ะก๊วย)
  • Pinophyta (สน)
  • Gnetophyta (มะเมื่อย)
  • Magnoliophyta (พืชดอก)

พืชในสี่กลุ่มแรกเป็นพืชเมล็ดเปลือย เนื่องจากสปอโรไฟต์ขั้นต้นไม่ถูกห่อหุ้มจนกระทั่งหลังการถ่ายเรณู ในทางตรงข้าม เรณูของพืชดอกจะเจริญเป็นหลอดสอดใส่เปลือกเมล็ด พืชดอกเป็นพืชกลุ่มหลักสุดท้ายที่วิวัฒนาการมากจากพืชเมล็ดเปลือยในระหว่างยุคจูแรสซิกและกระจายพันธุ์อย่างรวดเร็วระหว่างยุคครีเทเชียส พวกมันเป็นกลุ่มพืชที่มีมากที่สุดในสิ่งมีชีวิตบนโลก

ความเป็นญาติกับสาหร่ายสีเขียว

การจัดจำแนกระดับชั้นในระดับสูงมีการพิจารณาที่หลากหลาย ผู้แต่งบางคนให้อาณาจักรพืชประกอบไปด้วยพืชบกเท่านั้น มีการตั้งชื่อและจัดระดับต่างกันไป พืชกลุ่มนี้บ่อยครั้งถูกพิจารณาให้เป็นส่วนหรือไฟล่า แต่ก็มีบางครั้งที่จัดเป็นแค่ชั้น และบางครั้งก็ลดเหลือเพียงสองส่วน การจัดจำแนกบางครั้งจัดให้พืชบกเป็นระดับไฟลัมใหญ่ (ส่วนใหญ่) ซึ่งรวมพืชบกและบาง Charophyceae ไว้ในอาณาจักรย่อยที่ชื่อว่า Streptophyta

ในระดับเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เซลล์ของพืชบกมีลักษณะคล้ายกับเซลล์ของสาหร่ายสีเขียว พวกมันเป็นยูแคริโอตที่ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสและพลาสติดล้อมรอบด้วยเยื่อทั้งสองด้าน โดยทั่วไปถือเป็นรูปแบบของคลอโรพลาสต์ซึ่งจะสังเคราะห์แสงและสะสมอาหารในรูปของแป้ง และมีลักษณะเฉพาะคือสารสีกับคลอโรฟิลล์ a และ b ซึ่งโดยทั่วไปจะทำให้พืชมีสีเขียวสว่าง พืชบกปกติมีแวคิวโอลหรือเยื่อหุ้มแวคิวโอลอยู่ตรงกลางซึ่งดูแลรักษาเซลล์ความเต่งและรักษาความแข็งของพืช พืชบกไม่มีแฟลเจลล่าและเซนทริโอลยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์

อ้างอิง

  1. Gray, J. (1985). (19850402) 309%3A1138%3C167%3ATMROEL%3E2.0.CO%3B2-E "The Microfossil Record of Early Land Plants: Advances in Understanding of Early Terrestrialization, 1970-1984" Check |url= value (help). Philosophical Transactions of the Royal Society of London. Series B, Biological Sciences. 309 (1138): 167–195. doi:10.1098/rstb.1985.0077.
  2. Wellman et al. 2003, Science
  • Kenrick, Paul & Crane, Peter R. (1997). The Origin and Early Diversification of Land Plants: A Cladistic Study. Washington, D. C.: Smithsonian Institution Press. ISBN 1-56098-730-8.
  • Raven, Peter H., Evert, Ray F., & Eichhorn, Susan E. (2005). Biology of Plants (7th ed.). New York: W. H. Freeman and Company. ISBN 0-7167-1007-2.
  • Smith, Alan R., Kathleen M. Pryer, E. Schuettpelz, P. Korall, H. Schneider, & Paul G. Wolf. (2006). "A classification for extant ferns". Taxon 55 (3) : 705-731.
  • Stewart, Wilson N. & Rothwell, Gar W. (1993). Paleobotany and the Evolution of Plants (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-38294-7.
  • Taylor, Thomas N. & Taylor, Edith L. (1993). The Biology and Evolution of Fossil Plants. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. ISBN 0-13-651589-4.

ชบก, วงเวลาท, ตอย, late, silurian, recent, สปอร, จากย, คออร, โดว, เช, ยน, preЄ, nใบเฟ, นการจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, โดเมน, eukaryotaอาณาจ, กรใหญ, archaeplastidaอาณาจ, กร, plantaeอาณาจ, กรย, อย, embryophytaส, วนพ, ชไม, อลำเล, ยง, bryophytes, marchantiophyta, เว. phuchbkchwngewlathimichiwitxyu Late Silurian Recent 1 2 spxrcakyukhxxrodwiechiyn PreYe Ye O S D C P T J K Pg Nibefirnkarcaaenkchnthangwithyasastrodemn Eukaryotaxanackrihy Archaeplastidaxanackr Plantaexanackryxy Embryophytaswnphuchimmithxlaeliyng bryophytes Marchantiophyta liewxrewirt Anthocerotophyta hxrnewirt Bryophyta mxss Horneophytopsida phuchmithxlaeliyng tracheophytes Rhyniophyta rhyniophytes Zosterophyllophyta zosterophylls Lycopodiophyta khlbmxss Trimerophytophyta trimerophytes Pteridophyta efirn phuchmiemld spermatophytes Pteridospermatophyta efirnmiemld Pinophyta sn Cycadophyta prng Ginkgophyta aepakwy Gnetophyta maemuxy Magnoliophyta phuchdxk phuchbk Embryophyte hmaythungklumphuchthietibotbnphunaephndin sungmikhwamhmaytangcakphuchna prakxbipdwytnim imdxk efirn mxss aelaphuchbksiekhiywxun thnghmdepnyuaekhrioxthlayesllthislbsbsxnthimixwywasahrbsubphnthuepnaebbphiess phuchbkidrbphlngngancakkarsngekhraahdwyaesngaelasngekhraahxaharcakkharbxnidxxkisd phuchbkxactangcaksahrayhlayesllthiichkhlxorfillodysahraymixwywasubphnthunnepnhmn phuchbkswnmakprbtwxasyxyubnbkaetkmibangswnxasyxyuinna echn sahrayhangkrarxk epntn enuxha 1 khwamhlakhlayaelakarcaaenk 1 1 phuchimmithxlaeliyng 1 2 phuchmithxlaeliyng 2 khwamepnyatikbsahraysiekhiyw 3 xangxingkhwamhlakhlayaelakarcaaenk aekikhphuchbkwiwthnakarmacaksahraysiekhiywthisbsxn Chlorophyta rahwangmhayukhphalioxosxik sotnewirtepnsingthiaesdngthungkhnwiwthnakarnniddithisud phuchthikhlaysahraynixyuphayitkarslbkhxngwngcrchiwitrahwangmiokhromosmhnungchudaelamiokhromosmsxngchud hruxthieriykwaaekmiothiftaelaspxorift phuchimmithxlaeliyng aekikh phuchimmithxlaeliyngepnphuchklumaerkinphuchbk xyangirktamspxoriftinphuchklumniepnsingthiaetktangxxkipxyangmakinokhrngsrangaelafngkchn wngcrchiwitsnaelatxngmithngphxaelaaem phuchehlanieriykwa ibroxift mixyusamklum Bryophyta mxss Anthocerotophyta hxrnewirt Marchantiophyta liewxrewirt phuchehlanimikhnadelkaelaxasyxyuinsingaewdlxmthiepiykchun xasynainkaraephrkracayspxr phuchmithxlaeliyng aekikh phuchxunthisamarthprbtwihekhakbsphaphaewdlxmbnbkiddikwapraktxyuinchwngyukhislueriyn rahwangyukhdioweniynphuchmihlakhlaykhunaelakracayinsphaphaewdlxmthitangknklayepnphuchmithxlaeliynghruxethrkhioxift tracheophytes sungmienuxeyuxthxlaeliynghruxethrkhidsungichsngphannatlxdthwlatnaelaphiwnxkephuxpxngknenuxeyuxthukthalaycakkarsuyesiyna inphuchmithxlaeliyngswnmak spxoriftcaepnchwngwngcrthiehnuxkwaaelamikarphthnaibaethcring latn aela rak khnathiaekmiothiftehluxepnchwngsn phuchmithxlaeliynghlaychnidyngkhngichspxrinkarkracayphnthu mixyusxngklum Lycopodiophyta khlbmxss Pteridophyta efirn hwaythanxy aelahyathxdplxng phuchklumxunnnpraktkhrngaerkemuxekuxbthungsudsinsudinmhayukhphalioxosxik karsubphnthuichaekhpsulpxngknkarsuyesiynathieriykwaemld dngnnphuchklumnicungeriykwa spermatophyte hruxphuchmiemld inrupaebbaekmiothifthayipodysmburnklayepnrupaebbernuaelaikhesllediyw khnathispxorifterimwngcrchiwitkhxngmnthukhxhumxyuinemld emldkhxngphuchbangchnidsamarthxyurxdinsphawaaehngaelngaebbsudkhwid imehmuxnkbemldbangchnidthitxngichnacanwnmakinkarkratunihngxk klumkhxngphuchmiemldmidngni Cycadophyta prng Ginkgophyta aepakwy Pinophyta sn Gnetophyta maemuxy Magnoliophyta phuchdxk phuchinsiklumaerkepnphuchemldepluxy enuxngcakspxoriftkhntnimthukhxhumcnkrathnghlngkarthayernu inthangtrngkham ernukhxngphuchdxkcaecriyepnhlxdsxdisepluxkemld phuchdxkepnphuchklumhlksudthaythiwiwthnakarmakcakphuchemldepluxyinrahwangyukhcuaerssikaelakracayphnthuxyangrwderwrahwangyukhkhriethechiys phwkmnepnklumphuchthimimakthisudinsingmichiwitbnolkkhwamepnyatikbsahraysiekhiyw aekikhkarcdcaaenkradbchninradbsungmikarphicarnathihlakhlay phuaetngbangkhnihxanackrphuchprakxbipdwyphuchbkethann mikartngchuxaelacdradbtangknip phuchklumnibxykhrngthukphicarnaihepnswnhruxifla aetkmibangkhrngthicdepnaekhchn aelabangkhrngkldehluxephiyngsxngswn karcdcaaenkbangkhrngcdihphuchbkepnradbiflmihy swnihy sungrwmphuchbkaelabang Charophyceae iwinxanackryxythichuxwa Streptophytainradbelkcnmxngdwytaeplaimehn esllkhxngphuchbkmilksnakhlaykbesllkhxngsahraysiekhiyw phwkmnepnyuaekhrioxtthiphnngesllprakxbdwyeslluolsaelaphlastidlxmrxbdwyeyuxthngsxngdan odythwipthuxepnrupaebbkhxngkhlxorphlastsungcasngekhraahaesngaelasasmxaharinrupkhxngaepng aelamilksnaechphaakhuxsarsikbkhlxorfill a aela b sungodythwipcathaihphuchmisiekhiywswang phuchbkpktimiaewkhiwoxlhruxeyuxhumaewkhiwoxlxyutrngklangsungduaelrksaesllkhwametngaelarksakhwamaekhngkhxngphuch phuchbkimmiaeflecllaaelaesnthrioxlykewninesllsubphnthuxangxing aekikh Gray J 1985 19850402 309 3A1138 3C167 3ATMROEL 3E2 0 CO 3B2 E The Microfossil Record of Early Land Plants Advances in Understanding of Early Terrestrialization 1970 1984 Check url value help Philosophical Transactions of the Royal Society of London Series B Biological Sciences 309 1138 167 195 doi 10 1098 rstb 1985 0077 Wellman et al 2003 Science Kenrick Paul amp Crane Peter R 1997 The Origin and Early Diversification of Land Plants A Cladistic Study Washington D C Smithsonian Institution Press ISBN 1 56098 730 8 Raven Peter H Evert Ray F amp Eichhorn Susan E 2005 Biology of Plants 7th ed New York W H Freeman and Company ISBN 0 7167 1007 2 Smith Alan R Kathleen M Pryer E Schuettpelz P Korall H Schneider amp Paul G Wolf 2006 A classification for extant ferns Taxon 55 3 705 731 Stewart Wilson N amp Rothwell Gar W 1993 Paleobotany and the Evolution of Plants 2nd ed Cambridge Cambridge University Press ISBN 0 521 38294 7 Taylor Thomas N amp Taylor Edith L 1993 The Biology and Evolution of Fossil Plants Englewood Cliffs NJ Prentice Hall ISBN 0 13 651589 4 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phuchbk amp oldid 8952650, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม