fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย

ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย เป็นรูปแบบใหม่ของภาษาแอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีรีแอก แต่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาอัคคาเดียที่ใช้พูดในจักรวรรดิอัสซีเรีย หรือภาษาแอราเมอิกที่เป็นภาษากลางในจักรวรรดิอัสซีเรีย ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช เริ่มแรกภาษานี้ ใช้พูดนบริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอิหร่านและซิอิต ตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ปัจจุบันมีผู้พูดกระจายไปทั่วโลก ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอัสซีเรียแห่งตะวันออก มีผู้พูดราว 200,000 คน ในอิรัก ซีเรีย อิหร่าน อาร์มีเนีย จอร์เจีย และตุรกี เขียนด้วย อักษรซีรีแอก อักษรละติน และอักษรฮีบรู

ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย
ܐܬܘܪܝܐ Ātûrāyâ, ܣܘܪܬ Sûret
ประเทศที่มีการพูดอาร์มีเนีย, ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, อาร์เซอร์ไบจาน, เบลเยียม, บราซิล, แคนาดา, ไซปรัส, ฝรั่งเศส, จอร์เจีย, เยอรมัน, กรีซ, อิหร่าน, อิรัก, อิตาลี, เลบานอน, เนเธอร์แลนด์, นิวซีแลนด์, รัสเซีย, สวีเดน, ซีเรีย, สหรัฐอเมริกา
ภูมิภาคตะวันออกกลาง, อเมริกาเหนือ, ยุโรป & ออสเตรเลีย
จำนวนผู้พูด210,000 คน (fluent), มีชนกลุ่มน้อยชาวอัสซีเรีย 1-2 ล้านคนที่พูดสำเนียงอื่นๆ  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
แอโฟรเอชีแอติก
รหัสภาษา
ISO 639-2syr
ISO 639-3aii

จุดกำเนิด ประวติและการใช้ในปัจจุบัน

เป็นภาษาที่สืบเนื่องมาจากภาษาแอราเมอิกที่ใช้พูดโดยชาวยิวและชาวคริสต์ ซึ่งสำเนียงของสองกลุ่มนี้มีความแตกต่างกัน ได้รับอิทธิพลจากภาษาซีรีแอก ซึ่งเป็นสำเนียงของภาษาแอราเมอิกยุคกลางทางตะวันออก ซึ่งกลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในเขตอารยธรรมอิสลาม ชุมชนชาวคริสต์ที่พูดภาษาแอราเมอิกมักใช้สองภาษา คือภาษาซีรีแอกในทางศาสนาและภาษาแอราเมอิกในชีวิตประจำวัน สำเนียงของชาวคริสต์มักเรียก Sûret, Syriac, or Sûryāya Swādāya, ซึ่งหมายถึง Syriac. ชื่อ Assyrian (Ātûrāya หรือ Āsûrāya) มาจากนักภาษาศาสตร์ชาวรัสเซียที่ศึกษาภาษานี้ในผู้พูดที่อพยพเข้าไปในจอร์เจีย พวกเขาเรียกภาษานี้ว่า Айсорский, Aysorskiy, จากชื่อในภาษาอาร์มีเนีย Ասորի, Asori. ในช่วงพ.ศ. 2473 ชื่อของภาษานี้ในภาษารัสเซียคือ Ассирийский, Assiriyskiy, หรือAssyrian ในภาษาอังกฤษ

ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียมีหลายสำเนียง ภาษาแอราเมอิกใหม่คัลเดียอาจจัดเป็นภาษาเดียวกับภาษานี้ได้ ความแตกต่างที่สำคัญอยู่ระหว่างสำเนียง Alqosh ทางภาคเหนือของอิรัก และสำเนียงบริเวณอูร์เมียซึ่งกลายเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย การเปรียบเทียบระหว่างสองสำเนียงนี้ยังทำได้จำกัด

สำเนียงอูร์เมียเป็นที่รู้จักเมื่อ พ.ศ. 2379 เมื่อสำเนียงนี้ถูกนำไปใช้ในการตีพิมพ์ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย โดยมิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียน ใน พ.ศ. 2395 มีการแปลไบเบิลเป็นสำเนียงนี้และออกตีพิมพ์เผยแพร่ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ชาวอัสซีเรียที่อยู่ในตุรกีถูกบังคับให้ต้องย้ายถิ่นฐาน ส่วนใหญ่อพยพไปอยู่ในอิรัก ทำให้เกิดสำเนียงใหม่ เรียก Iraqi Koine สำเนียงนี้เป็นการผสมระหว่างหลายสำเนียงโดยมีสำเนียงอูร์เมียเป็นพื้นฐาน

อ้างอิง

  • Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. ISBN 1-55540-430-8.
  • Maclean, Arthur John (1895). Grammar of the dialects of vernacular Syriac: as spoken by the Eastern Syrians of Kurdistan, north-west Persia, and the Plain of Mosul: with notices of the vernacular of the Jews of Azerbaijan and of Zakhu near Mosul. Cambridge University Press, London.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย

ภาษาแอราเมอ, กใหม, สซ, เร, เป, นร, ปแบบใหม, ของภาษาแอราเมอ, กตะว, นออกหร, อภาษาซ, แอก, แต, ไม, เก, ยวข, องก, บภาษาอ, คคาเด, ยท, ใช, ดในจ, กรวรรด, สซ, เร, หร, อภาษาแอราเมอ, กท, เป, นภาษากลางในจ, กรวรรด, สซ, เร, ในช, วง, อนพ, ทธศ, กราช, เร, มแรกภาษาน, ใช, ดนบร, . phasaaexraemxikihmxssieriy epnrupaebbihmkhxngphasaaexraemxiktawnxxkhruxphasasiriaexk aetimekiywkhxngkbphasaxkhkhaediythiichphudinckrwrrdixssieriy hruxphasaaexraemxikthiepnphasaklanginckrwrrdixssieriy inchwng 257 pikxnphuththskrach erimaerkphasani ichphudnbriewnthaelsabxuremiy thangtawnxxkechiyngehnuxkhxngxihranaelasixit tawnxxkechiyngitkhxngturki pccubnmiphuphudkracayipthwolk phuphudswnihynbthuxsasnakhristnikayxssieriyaehngtawnxxk miphuphudraw 200 000 khn inxirk sieriy xihran xarmieniy cxreciy aelaturki ekhiyndwy xksrsiriaexk xksrlatin aelaxksrhibruphasaaexraemxikihmxssieriyܐܬܘܪܝܐ Aturaya ܣܘܪܬ Suretpraethsthimikarphudxarmieniy xxsetreliy xxsetriy xaresxribcan ebleyiym brasil aekhnada isprs frngess cxreciy eyxrmn kris xihran xirk xitali elbanxn enethxraelnd niwsiaelnd rsesiy swiedn sieriy shrthxemrikaphumiphakhtawnxxkklang xemrikaehnux yuorp amp xxsetreliycanwnphuphud210 000 khn fluent michnklumnxychawxssieriy 1 2 lankhnthiphudsaeniyngxun imphbwnthi trakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitikklangphasaaexraemxikphasaaexraemxikihmphasaaexraemxikihmtawnxxkechiyngehnuxphasaaexraemxikihmxssieriyrhsphasaISO 639 2syrISO 639 3aiicudkaenid prawtiaelakarichinpccubn aekikhepnphasathisubenuxngmacakphasaaexraemxikthiichphudodychawyiwaelachawkhrist sungsaeniyngkhxngsxngklumnimikhwamaetktangkn idrbxiththiphlcakphasasiriaexk sungepnsaeniyngkhxngphasaaexraemxikyukhklangthangtawnxxk sungklayepnphasathangsasnakhxngchawkhristinekhtxarythrrmxislam chumchnchawkhristthiphudphasaaexraemxikmkichsxngphasa khuxphasasiriaexkinthangsasnaaelaphasaaexraemxikinchiwitpracawn saeniyngkhxngchawkhristmkeriyk Suret Syriac or Suryaya Swadaya sunghmaythung Syriac chux Assyrian Aturaya hrux Asuraya macaknkphasasastrchawrsesiythisuksaphasaniinphuphudthixphyphekhaipincxreciy phwkekhaeriykphasaniwa Ajsorskij Aysorskiy cakchuxinphasaxarmieniy Ասորի Asori inchwngph s 2473 chuxkhxngphasaniinphasarsesiykhux Assirijskij Assiriyskiy hruxAssyrian inphasaxngkvsphasaaexraemxikihmxssieriymihlaysaeniyng phasaaexraemxikihmkhlediyxaccdepnphasaediywkbphasaniid khwamaetktangthisakhyxyurahwangsaeniyng Alqosh thangphakhehnuxkhxngxirk aelasaeniyngbriewnxuremiysungklayepnsaeniyngmatrthankhxngphasaaexraemxikihmxssieriy karepriybethiybrahwangsxngsaeniyngniyngthaidcakdsaeniyngxuremiyepnthiruckemux ph s 2379 emuxsaeniyngnithuknaipichinkartiphimphphasaaexraemxikihmxssieriy odymichchnnarikhnaephrsibthieriyn in ph s 2395 mikaraeplibebilepnsaeniyngniaelaxxktiphimphephyaephr rahwangsngkhramolkkhrngthi 1 chawxssieriythixyuinturkithukbngkhbihtxngyaythinthan swnihyxphyphipxyuinxirk thaihekidsaeniyngihm eriyk Iraqi Koine saeniyngniepnkarphsmrahwanghlaysaeniyngodymisaeniyngxuremiyepnphunthanxangxing aekikhHeinrichs Wolfhart ed 1990 Studies in Neo Aramaic Scholars Press Atlanta Georgia ISBN 1 55540 430 8 Maclean Arthur John 1895 Grammar of the dialects of vernacular Syriac as spoken by the Eastern Syrians of Kurdistan north west Persia and the Plain of Mosul with notices of the vernacular of the Jews of Azerbaijan and of Zakhu near Mosul Cambridge University Press London wikiphiediy saranukrmesri inphasaaexraemxikihmxssieriyekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaaexraemxikihmxssieriy amp oldid 9349853, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม