fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาอาหม

ภาษาอาหม เป็นหนึ่งในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มกัม-ไท, เบ-ไท, ไท-แสก อยู่ในตระกูลภาษาขร้า-ไท ภาษาอาหมนั้นมีอักษร และถ้อยคำของตนใช้สื่อสารทั้งพูดและเขียนมาอย่างต่อเนื่อง แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาอัสสัมซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้อยคำที่บันทึกจารึกไว้ในคัมภีร์ในบทสวดในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ก็แสดงให้เห็นว่านักบวชชาวไทอาหมยังใช้ภาษาไทได้อย่างสมบูรณ์

อาหม
ประเทศที่มีการพูดรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย
ภูมิภาคเอเชียใต้
สูญหายภาษาตาย ปัจจุบันใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาของชาวอาหม
ตระกูลภาษา
ขร้า-ไท
ระบบการเขียนอักษรอาหม
รหัสภาษา
ISO 639-3aho

ประวัติ

พัฒนาการและการจัดจำแนกภาษายังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ บรรพบุรุษน่าจะเป็นภาษาไทดั้งเดิมเมื่อราว 2,000 ปีที่ผ่านมา ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับภาษาจีนแต่อาจจะเกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ชาวอาหมเดิมอยู่ในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและเวียดนาม ต่อมาได้อพยพเข้ามณฑลยูนนาน รัฐชาน จนถึงลุ่มแม่น้ำพรหมบุตรในที่สุด

ชาวอาหมได้พัฒนาอาณาจักรของตนเองในช่วง พ.ศ. 1771-2386 ภาษาอาหมเป็นภาษาทางการของอาณาจักรตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-21 จนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยภาษาอัสสัมที่เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นผลมาจากการรับวัฒนธรรมฮินดู

ยุคเสื่อม

ชาวอาหมไม่เคยคิดว่าตัวเองต่ำต้อย จนกระทั่งกษัตริย์อาหมยอมรับวัฒนธรรมฮินดู นำระบบวรรณะมาใช้ เพราะถูกพราหมณ์ยกยอ และนำพิธีกรรมมารองรับสถานะให้กษัตริย์มีฐานะที่สูงขึ้น เมื่อนำพิธีกรรมต่าง ๆ มาใช้ ภาษาก็เปลี่ยนไปตามพราหมณ์ผู้ประกอบพิธีกรรม ทั้งที่ชาวอาหมแท้ ๆ นั้นมีจำนวนไม่มากนัก และภาษาอัสสัมก็ครอบงำสังคม รวมไปถึงราชสำนักเพื่อเข้าถึงฮินดู จนลามไปยังขุนนางและราษฎรต่าง ๆ ครั้นตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ อังกฤษก็ถอดกษัตริย์อาหมออก และให้อำนาจแก่พราหมณ์และขุนนางฮินดูแทน ภาษาอาหมจึงใช้กันจำกัดลงเรื่อย ๆ จนเป็นภาษาตายไม่มีใครใช้ในชีวิตประจำวัน กลุ่มนักบวชเทวไท (Deotai) ซึ่งเป็นนักบวชตามความเชื่อลัทธิฟ้าหลวง แม้จะพยายามรักษาประเพณี พิธีกรรมต่าง ๆ แต่ก็ทำได้จำกัด และนักบวชก็ขาดคนพูดอาหมด้วย และไม่มีใครเข้าใจได้ชัดเจน

การฟื้นฟูในปัจจุบัน

แม้ว่าภาษาอาหมจะมีการฟื้นฟูอย่างน้อย 3 ช่วงเวลา ช่วงที่ 1 ในสมัยพระเจ้าจักรธวัช สิงห์ในช่วงปี ค.ศ. 1663 -1663 ช่วงที่ 2 ในยุคหลังจากอังกฤษเข้าปกครองในรัฐอัสสัมราวปี ค.ศ. 1826 และช่วงที่ 3 ตั้งแต่ ค.ศ. 1980 จนถึงปัจจุบัน ได้มีการฟื้นฟูภาษาไทและตั้ง สมาคมวรรณกรรมไทตะวันออก (Eastern Tai Literary Association) ที่เมืองกูวาฮาติ โดยมุ่งมั่นปฏิบัติให้พัฒนาการเรียน เขียนอ่านภาษาอาหม พร้อมกันนี้ให้สนับสนุนให้ค้นคว้าศึกษาเอกสารโบราณของชาวอาหมอย่างจริงจัง การฟื้นฟูภาษาอาหมนั้นอาศัยสัทวิทยาของภาษาพี่น้อง เช่น ภาษาอ่ายตนและภาษาพ่าเก โดยภาษาดังกล่าวจะถูกเรียกว่า ภาษาไทในอัสสัม เนื่องจากประกอบไปด้วยคำไททุกกลุ่มในรัฐอัสสัม หากการฟื้นฟูดังกล่าวได้ผล ภาษาเขียนในรัฐอัสสัมจะใช้อักษรอาหมเป็นหลักแทนอักษรไทอื่น ๆ ในรัฐอัสสัม โดยอาศัยพื้นฐานภาษาอ่ายตนในรัฐอัสสัม เนื่องจากใกล้เคียงกับภาษาอาหมมากที่สุด ชาวอาหมอาจอาศัยชาวอ่ายตนในการรื้อฟื้นภาษา

ลักษณะภาษา

ภาษาอาหมกับภาษาในศิลาจารึกสุโขทัยของไทย ต่างก็เป็นภาษาไทยุคเก่าที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมากกว่าภาษาถิ่นไทยในปัจจุบัน และในภาษาอาหมไม่มีการใช้คำราชาศัพท์ คำที่ใช้พูดกับคนธรรมดาก็ใช้พูดกับกษัตริย์ได้ การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม รากศัพท์เป็นคำเดี่ยว ไม่มีการผันคำกริยา ไม่มีกาล และไม่มีรูปพหูพจน์ของคำนาม แสดงเวลาด้วยกริยาช่วย

โคลงกลอน

กลอนอาหมที่มีเรื่องเกี่ยวกับการสร้างโลก ซึ่งเป็นกลอนไทยที่มีจำนวนพยางค์เลขคี่เขียนแบบกลอนหัวเดียว ลงท้ายวรรคคู่ด้วยสระเสียงเดียวกัน เหมือนเพลงลำตัด หรือเพลงเรือ สรุปคือ กลอนหก และกลอนแปดของไทยเป็นลูกผสมระหว่างกลอนไทยที่มีจำนวนพยางค์เป็นเลขคี่ แต่ต่อมาใช้เลขคู่แบบปัฐยาวัตของอินเดีย และคำสวดของอาหม ก็คล้ายกับ แหล่ ของไทยด้วย

ตัวอย่างคำ

คำนับจำนวน เวลา

ในการนับเลขอาหมโดยเฉพาะการนับทั้งหมด แต่มีสำเนียงเพี้ยนจากภาษาไทยไปบ้าง

  • เอ็ด = หนึ่ง
  • ฉอง = สอง
  • ฉาม = สาม
  • ฉี่ = สี่
  • ห่า = ห้า
  • หรุก = หก
  • จิด = เจ็ด
  • เป็ด = แปด
  • เก่า = เก้า
  • ฉิบ = สิบ

คำทักทาย

  • เปอ่องเลเล = มีความหมายว่าจงเจริญ (ซึ่งมาจากภาษาพม่าซ้อนคำไทอาหมเดิม เนื่องจาก เป(แพ้) แปลว่า ชนะ รวมกับคำว่า อ่อง ซึ่งเป็นภาษาพม่าที่แปลว่า ชนะ เช่นเดียวกัน ส่วนคำว่า เล เป็นคำลงท้ายแบบเดียวกับหางเสียง ครับ, ค่ะ)
  • คุปต่าง = กราบไหว้ (ในบทบูชาบรรพชน)
  • คุปต่าง ชมโหลง = ขอบคุณ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 71
  2. การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 123
  • บุญยงค์ เกศเทศ. "คนไท" ในชมพูทวีป. กรุงเทพฯ : หลักพิมพ์. หน้า 80-81
  • บรรจบ พันธุเมธา. กาเลหม่านไต, 2504.
  • ประเสริฐ ณ นคร. การสร้างโลกตามคติไทอาหม และความรู้จากไทอาหม
  • วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. ภาษาเชิงประวัติ: วิวัฒนาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. หน้า 213-229

ภาษาอาหม, เป, นหน, งในกล, มภาษาย, อยไทพาย, งเป, นภาษาในกล, มก, ไท, เบ, ไท, ไท, แสก, อย, ในตระก, ลภาษาขร, ไท, นม, กษร, และถ, อยคำของตนใช, อสารท, งพ, ดและเข, ยนมาอย, างต, อเน, อง, แต, ชาวอาหมในป, จจ, นน, นห, นไปใช, ภาษาอ, สส, มซ, งอย, ในตระก, ลภาษาอ, นโด, โรเป, . phasaxahm epnhnunginklumphasayxyithphayph sungepnphasainklumkm ith eb ith ith aesk xyuintrakulphasakhra ith phasaxahmnnmixksr aelathxykhakhxngtnichsuxsarthngphudaelaekhiynmaxyangtxenuxng aetchawxahminpccubnnnhnipichphasaxssmsungxyuintrakulphasaxinod yuorepiynaelw xyangirktam thxykhathibnthukcarukiwinkhmphirinbthswdinphithikrrmxnskdisiththikaesdngihehnwankbwchchawithxahmyngichphasaithidxyangsmburnxahmpraethsthimikarphudrthxssm praethsxinediyphumiphakhexechiyitsuyhayphasatay pccubnichinphithikrrmthangsasnakhxngchawxahmtrakulphasakhra ith km itheb ithith aeskxahmrabbkarekhiynxksrxahmrhsphasaISO 639 3aho enuxha 1 prawti 1 1 yukhesuxm 1 2 karfunfuinpccubn 2 lksnaphasa 2 1 okhlngklxn 3 twxyangkha 3 1 khanbcanwn ewla 3 2 khathkthay 4 duephim 5 xangxingprawti aekikhphthnakaraelakarcdcaaenkphasayngepnthithkethiyngknxyu brrphburusnacaepnphasaithdngedimemuxraw 2 000 pithiphanma sungimekiywkhxngkbphasacinaetxaccaekiywkhxngkbtrakulphasaxxsotrniesiyn chawxahmedimxyuinekhtpkkhrxngtnexngkwangsicwngaelaewiydnam txmaidxphyphekhamnthlyunnan rthchan cnthunglumaemnaphrhmbutrinthisudchawxahmidphthnaxanackrkhxngtnexnginchwng ph s 1771 2386 phasaxahmepnphasathangkarkhxngxanackrtngaetphuththstwrrsthi 18 21 cnkrathngthukaethnthidwyphasaxssmthiepnphasaklumxinod xaryn sungepnphlmacakkarrbwthnthrrmhindu yukhesuxm aekikh chawxahmimekhykhidwatwexngtatxy cnkrathngkstriyxahmyxmrbwthnthrrmhindu narabbwrrnamaich ephraathukphrahmnykyx aelanaphithikrrmmarxngrbsthanaihkstriymithanathisungkhun emuxnaphithikrrmtang maich phasakepliyniptamphrahmnphuprakxbphithikrrm thngthichawxahmaeth nnmicanwnimmaknk aelaphasaxssmkkhrxbngasngkhm rwmipthungrachsankephuxekhathunghindu cnlamipyngkhunnangaelarasdrtang khrntkepnemuxngkhunkhxngxngkvs xngkvskthxdkstriyxahmxxk aelaihxanacaekphrahmnaelakhunnanghinduaethn phasaxahmcungichkncakdlngeruxy cnepnphasatayimmiikhrichinchiwitpracawn klumnkbwchethwith Deotai sungepnnkbwchtamkhwamechuxlththifahlwng aemcaphyayamrksapraephni phithikrrmtang aetkthaidcakd aelankbwchkkhadkhnphudxahmdwy aelaimmiikhrekhaicidchdecn karfunfuinpccubn aekikh aemwaphasaxahmcamikarfunfuxyangnxy 3 chwngewla chwngthi 1 insmyphraecackrthwch singhinchwngpi kh s 1663 1663 chwngthi 2 inyukhhlngcakxngkvsekhapkkhrxnginrthxssmrawpi kh s 1826 aelachwngthi 3 tngaet kh s 1980 cnthungpccubn idmikarfunfuphasaithaelatng smakhmwrrnkrrmithtawnxxk Eastern Tai Literary Association thiemuxngkuwahati odymungmnptibtiihphthnakareriyn ekhiynxanphasaxahm phrxmknniihsnbsnunihkhnkhwasuksaexksarobrankhxngchawxahmxyangcringcng karfunfuphasaxahmnnxasysthwithyakhxngphasaphinxng echn phasaxaytnaelaphasaphaek odyphasadngklawcathukeriykwa phasaithinxssm enuxngcakprakxbipdwykhaiththukkluminrthxssm hakkarfunfudngklawidphl phasaekhiyninrthxssmcaichxksrxahmepnhlkaethnxksrithxun inrthxssm 1 odyxasyphunthanphasaxaytninrthxssm enuxngcakiklekhiyngkbphasaxahmmakthisud chawxahmxacxasychawxaytninkarruxfunphasa 2 lksnaphasa aekikhphasaxahmkbphasainsilacaruksuokhthykhxngithy tangkepnphasaithyukhekathimilksnakhlaykhlungknmakkwaphasathinithyinpccubn aelainphasaxahmimmikarichkharachasphth khathiichphudkbkhnthrrmdakichphudkbkstriyid kareriyngpraoykhepnaebbprathan kriya krrm raksphthepnkhaediyw immikarphnkhakriya immikal aelaimmirupphhuphcnkhxngkhanam aesdngewladwykriyachwy okhlngklxn aekikh klxnxahmthimieruxngekiywkbkarsrangolk sungepnklxnithythimicanwnphyangkhelkhkhiekhiynaebbklxnhwediyw lngthaywrrkhkhudwysraesiyngediywkn ehmuxnephlnglatd hruxephlngerux srupkhux klxnhk aelaklxnaepdkhxngithyepnlukphsmrahwangklxnithythimicanwnphyangkhepnelkhkhi aettxmaichelkhkhuaebbpthyawtkhxngxinediy aelakhaswdkhxngxahm kkhlaykb aehl khxngithydwytwxyangkha aekikheka chn ku opeka phxta ip ipka khabxklaip ipkhn ipxyangrwderw ip iph epla wangepla epa epalm mung emuxng ec emuxngthimikhunalxmrxb trngkbkhawa aec inkhaemuxng echn aechm mu vdu xakas ewla muhnaw vduhnaw muehniyw ewlani ediywni maphuk phrungni ihm epha tha khxy tha pinihng funlaxxng trngkbkhawa ihng inphasalaw sungpccubnmiichaethbchnbth ci cdca trngkbkhawa cuxca inphasalaw thk eyn thk elng wing ym yim ka khxham xay ekhaxay xay phichay xa epidxxk epidephyxxk xa nxngkhxngphx thiif if binhwd epnhwd bxr ihy kwang khnma khnelw khnchw ngxnta khiw khiw ekhiyw fn manta aewnta khibtin rxngetha aerngif rthif ong ww aerngong ekwiyn aerngnxng rthsamlx rik eriyk da phibanphieruxn echn phisa daphlxy mxyda enindinfngphraxthikstriyxahm hmxruhmxaesng puorhit hmxlikhmxlay xalksn eruxn ban swa esux hmakom hmak ebiw plu phlu fm phm khanbcanwn ewla aekikh inkarnbelkhxahmodyechphaakarnbthnghmd aetmisaeniyngephiyncakphasaithyipbang exd hnung chxng sxng cham sam chi si ha ha hruk hk cid ecd epd aepd eka eka chib sibkhathkthay aekikh epxxngelel mikhwamhmaywacngecriy sungmacakphasaphmasxnkhaithxahmedim enuxngcak ep aeph aeplwa chna rwmkbkhawa xxng sungepnphasaphmathiaeplwa chna echnediywkn swnkhawa el epnkhalngthayaebbediywkbhangesiyng khrb kha khuptang krabihw inbthbuchabrrphchn khuptang chmohlng khxbkhunduephim aekikhxahmxangxing aekikh karsuksaprawtisastrithxahm hna 71 karsuksaprawtisastrithxahm hna 123 buyyngkh ekseths khnith inchmphuthwip krungethph hlkphimph hna 80 81 brrcb phnthuemtha kaelhmanit 2504 praesrith n nkhr karsrangolktamkhtiithxahm aelakhwamrucakithxahm wiilwrrn khnisthannth phasaechingprawti wiwthnakarphasaithyaelaphasaxngkvs hna 213 229ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaxahm amp oldid 9429704, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม