fbpx
วิกิพีเดีย

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (อังกฤษ: Molecular Orbitals; MO) เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่อธิบายพฤติกรรมคล้ายคลื่นของอิเล็กตรอนในโมเลกุลโดยฟังก์ชันนี้มีความสำคัญในการคำนวณสมบัติทางเคมีและสมบัติทางกายภาพ อาทิ ความน่าจะเป็นที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณต่างๆรอบโมเลกุล คำว่า "ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล" ถูกนำใช้ครั้งแรกโดย โรเบิร์ต มัลลิเกน (Robert S. Mulliken) ในปี ค.ศ. 1932

ภาพรวมของออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลสามารถใช้แสดงบริเวณในโมเลกุลที่สามารถพบอิเล็กตรอน ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลได้จากการรวมกันของออร์บิทัลเชิงอะตอมที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับอิเล็กตรอนรอบๆอะตอม ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลสามารถระบุโครงแบบอิเล็กตรอนของโมเลกุลตำแหน่งการกระจายตัวและพลังงานของอิเล็กตรอนในโมเลกุล โดยออร์บิทัลเชิงโมเลกุลได้จากการรวมกันเชิงเส้นตรงของออร์บิทัลเชิงอะตอม (LCAO) ในทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbital theory)

การเกิดออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเกิดจากอันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มีสมมาตรที่เข้ากันได้ (ได้จากการพิจารณาตามทฤษฎีพอยท์กรุ๊ป) โดยจำนวนออร์บิทัลเชิงโมเลกุลจะต้องเท่ากับจำนวนออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มารวมกันสำหรับโมเลกุลอะตอมคู่ใดๆแล้ว ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแสดงได้ดังฟังก์ชันคลื่นดังต่อไปนี้

 
 

เมื่อ   และ   แทนฟังก์ชันคลื่นของโมเลกุลสำหรับออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบสร้างพันธะและออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะตามลำดับ   และ   คือ ฟังก์ชันคลื่นของอะตอม ส่วน ca และ cb คือสัมประสิทธิ์

ชนิดของออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลสามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบสร้างพันธะ (bonding molecular orbitals)

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลต้านสร้างพันธะ (antibonding molecular orbitals)

  • อันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็นอันตรกิริยาแบบหักล้างกัน (destructive (out-of-phase) interactions) โดยมีระนาบบัพ (nodal plane) ที่ฟังก์ชันคลื่นของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลต้านสร้างพันธะเป็นศูนย์ระหว่างอะตอมที่เกิดอันตรกิริยากัน
  • พลังงานของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะจะสูงกว่าพลังงานของออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มารวมกัน

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลไม่สร้างพันธะ (nonbonding molecular orbitals)

  • ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลไม่สร้างพันธะเป็นผลของการไม่มีอันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมเนื่องจากไม่มีออร์บิทัลที่มีสมมาตรเข้ากันได้
  • พลังงานของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลไม่สร้างพันธะจะเท่ากับพลังงานของออร์บิทัลเชิงอะตอม

การบอกชื่อของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลตามสมมาตร

เราสามารถจำแนกชนิดของอันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมตามสมบัติทางสมมาตร โดยการบอกชื่อออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเป็น σ (ซิกมา), π (ไพ), δ (เดลตา), φ (ฟี), γ (แกมมา) เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับสมมาตรของออร์บิทัลเชิงอะตอม s, p, d, f และ g ตามลำดับ จำนวนระนาบบัพ ของ ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบ σ, π, δ, ... จะเท่ากับ 0, 1, 2, ... ตามลำดับ

สมมาตรแบบ σ

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ σ เกิดจากอันตรกิริยาระหว่าง s-ออร์บิทัล จำนวน 2 ออร์บิทัล หรือ pz จำนวน 2 ออร์บิทัลตามแนวแกนระหว่างนิวเคลียส โดยการหมุนรอบแกนไม่ทำให้เปลี่ยนเฟส และ σ* ออร์บิทัล หรือ ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะ σ ก็ไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อมีการหมุนรอบแกนเช่นกัน

สมมาตรแบบ π

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ π เกิดจากอันตรกิริยาระหว่าง px จำนวน 2 ออร์บิทัล หรือ py จำนวน 2 ออร์บิทัล ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ π จะไม่สมมาตรเมื่อเมื่อมีการหมุนรอบแกนระหว่างนิวเคลียสเนื่องจากจะทำให้มรการเปลี่ยนเฟสขึ้น ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะ π* ก็ไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อมีการหมุนรอบแกนเช่นกัน

 
การเรียงตัวของ p-ออร์บิทัลเพื่อเกิดเป็นพันธะ π

สมมาตรแบบ δ

ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ δ เกิดจากอันตรกิริยาระหว่าง dxy จำนวน 2 ออร์บิทัล หรือ dx2-y2 จำนวน 2 ออร์บิทัล เนื่องจากออร์บิทัลเชิงโมเลกุลชนิดนี้เกิดขึ้นโดยออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบ d ที่มีพลังงานต่ำ จึงพบได้ในสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะแทรนซิชัน เช่น พันธะระหว่าง Rh-Rh ในไอออนลบเชิงซ้อน [Re2Cl8]2−

 
การเรียงตัวของ d-ออร์บิทัลเพื่อเกิดเป็นพันธะ δ

สมมาตรแบบ φ

นักเคมีเชิงทฤษฎีได้คำนวณพันธะที่มีสมมาตรแบบ φ และในปี ค.ศ.2005 ได้มีการรายงานสารประกอบที่มีพันธะแบบ φ ในโมเลกุล U2

การเรียงตัวของ f-ออร์บิทัลเพื่อเกิดเป็นพันธะ φ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Mulliken, Robert S. (July 1932). Electronic Structures of Polyatomic Molecules and Valence. II. General Considerations. Physical Review 41 (1): 49–71.
  2. R. S. Mulliken, The assignment of quantum numbers for electrons in molecules, Physical Review, vol. 32, pages 186–222 (1928).
  3. Catherine E. Housecroft, Alan G, Sharpe, Inorganic Chemistry, Pearson Prentice Hall; 2nd Edition, 2005, p. 29-33.
  4. Michael Munowitz, Principles of Chemistry, Norton & Company, 2000, p. 229-233.
  5. F. A. Cotton (1965), Metal-Metal Bonding in [Re2X8]2− Ions and Other Metal Atom Clusters , Inorganic Chemistry, 4 (3), 334–336.
  6. Gagliardi, Laura; Roos, Björn O. (2005). Quantum chemical calculations show that the uranium molecule U2 has a quintuple bond. Nature 433: 848–851.

ออร, ลเช, งโมเลก, งกฤษ, molecular, orbitals, เป, นฟ, งก, นทางคณ, ตศาสตร, อธ, บายพฤต, กรรมคล, ายคล, นของอ, เล, กตรอนในโมเลก, ลโดยฟ, งก, นน, ความสำค, ญในการคำนวณสมบ, ทางเคม, และสมบ, ทางกายภาพ, อาท, ความน, าจะเป, นท, จะพบอ, เล, กตรอนในบร, เวณต, างๆรอบโมเลก, คำว, . xxrbithlechingomelkul xngkvs Molecular Orbitals MO epnfngkchnthangkhnitsastrthixthibayphvtikrrmkhlaykhlunkhxngxielktrxninomelkulodyfngkchnnimikhwamsakhyinkarkhanwnsmbtithangekhmiaelasmbtithangkayphaph xathi khwamnacaepnthicaphbxielktrxninbriewntangrxbomelkul khawa xxrbithlechingomelkul thuknaichkhrngaerkody orebirt mlliekn Robert S Mulliken inpi kh s 1932 1 2 enuxha 1 phaphrwmkhxngxxrbithlechingomelkul 2 karekidxxrbithlechingomelkul 3 chnidkhxngxxrbithlechingomelkul 3 1 xxrbithlechingomelkulaebbsrangphntha bonding molecular orbitals 3 2 xxrbithlechingomelkultansrangphntha antibonding molecular orbitals 3 3 xxrbithlechingomelkulimsrangphntha nonbonding molecular orbitals 4 karbxkchuxkhxngxxrbithlechingomelkultamsmmatr 4 1 smmatraebb s 4 2 smmatraebb p 4 3 smmatraebb d 4 4 smmatraebb f 5 duephim 6 xangxingphaphrwmkhxngxxrbithlechingomelkul aekikhxxrbithlechingomelkulsamarthichaesdngbriewninomelkulthisamarthphbxielktrxn xxrbithlechingomelkulidcakkarrwmknkhxngxxrbithlechingxatxmthiihraylaexiydekiywkbxielktrxnrxbxatxm xxrbithlechingomelkulsamarthrabuokhrngaebbxielktrxnkhxngomelkultaaehnngkarkracaytwaelaphlngngankhxngxielktrxninomelkul odyxxrbithlechingomelkulidcakkarrwmknechingesntrngkhxngxxrbithlechingxatxm LCAO inthvsdixxrbithlechingomelkul molecular orbital theory karekidxxrbithlechingomelkul aekikhxxrbithlechingomelkulekidcakxntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmthimismmatrthiekhaknid idcakkarphicarnatamthvsdiphxythkrup odycanwnxxrbithlechingomelkulcatxngethakbcanwnxxrbithlechingxatxmthimarwmknsahrbomelkulxatxmkhuidaelw xxrbithlechingomelkulaesdngiddngfngkchnkhlundngtxipni PS c a ps a c b ps b displaystyle Psi c a psi a c b psi b PS c a ps a c b ps b displaystyle Psi c a psi a c b psi b emux PS displaystyle Psi aela PS displaystyle Psi aethnfngkchnkhlunkhxngomelkulsahrbxxrbithlechingomelkulaebbsrangphnthaaelaxxrbithlechingomelkulaebbtanphnthatamladb ps a displaystyle psi a aela ps b displaystyle psi b khux fngkchnkhlunkhxngxatxm swn ca aela cb khuxsmprasiththichnidkhxngxxrbithlechingomelkul aekikhxxrbithlechingomelkulsamarthaebngxxkepn 3 chnid dngni xxrbithlechingomelkulaebbsrangphntha bonding molecular orbitals aekikh xntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmepnxntrkiriyaaebbesrimkn constructive in phase interactions phlngngankhxngxxrbithlechingomelkulaebbsrangphnthacatakwaphlngngankhxngxxrbithlechingxatxmthimarwmknxxrbithlechingomelkultansrangphntha antibonding molecular orbitals aekikh xntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmepnxntrkiriyaaebbhklangkn destructive out of phase interactions odymiranabbph nodal plane thifngkchnkhlunkhxngxxrbithlechingomelkultansrangphnthaepnsunyrahwangxatxmthiekidxntrkiriyakn phlngngankhxngxxrbithlechingomelkulaebbtanphnthacasungkwaphlngngankhxngxxrbithlechingxatxmthimarwmknxxrbithlechingomelkulimsrangphntha nonbonding molecular orbitals aekikh xxrbithlechingomelkulimsrangphnthaepnphlkhxngkarimmixntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmenuxngcakimmixxrbithlthimismmatrekhaknid phlngngankhxngxxrbithlechingomelkulimsrangphnthacaethakbphlngngankhxngxxrbithlechingxatxmkarbxkchuxkhxngxxrbithlechingomelkultamsmmatr aekikherasamarthcaaenkchnidkhxngxntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmtamsmbtithangsmmatr odykarbxkchuxxxrbithlechingomelkulepn s sikma p iph d edlta f fi g aekmma epntn sungsxdkhlxngkbsmmatrkhxngxxrbithlechingxatxm s p d f aela g tamladb canwnranabbph khxng xxrbithlechingomelkulaebb s p d caethakb 0 1 2 tamladb smmatraebb s aekikh xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb s ekidcakxntrkiriyarahwang s xxrbithl canwn 2 xxrbithl hrux pz canwn 2 xxrbithltamaenwaeknrahwangniwekhliys odykarhmunrxbaeknimthaihepliynefs aela s xxrbithl hrux xxrbithlechingomelkulaebbtanphntha s kimepliynefsemuxmikarhmunrxbaeknechnkn 3 smmatraebb p aekikh xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb p ekidcakxntrkiriyarahwang px canwn 2 xxrbithl hrux py canwn 2 xxrbithl xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb p caimsmmatremuxemuxmikarhmunrxbaeknrahwangniwekhliysenuxngcakcathaihmrkarepliynefskhun xxrbithlechingomelkulaebbtanphntha p kimepliynefsemuxmikarhmunrxbaeknechnkn 4 kareriyngtwkhxng p xxrbithlephuxekidepnphntha p smmatraebb d aekikh xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb d ekidcakxntrkiriyarahwang dxy canwn 2 xxrbithl hrux dx2 y2 canwn 2 xxrbithl enuxngcakxxrbithlechingomelkulchnidniekidkhunodyxxrbithlechingomelkulaebb d thimiphlngnganta cungphbidinsarprakxbechingsxnkhxngolhaaethrnsichn echn phntharahwang Rh Rh inixxxnlbechingsxn Re2Cl8 2 5 kareriyngtwkhxng d xxrbithlephuxekidepnphntha d smmatraebb f aekikh nkekhmiechingthvsdiidkhanwnphnthathimismmatraebb f aelainpi kh s 2005 idmikarrayngansarprakxbthimiphnthaaebb f inomelkul U2 6 kareriyngtwkhxng f xxrbithlephuxekidepnphntha fduephim aekikhewelns ewelnsxielktrxn sarprakxbokhxxrdienchn thvsdixxrbithlechingomelkul karrwmknechingesntrngkhxngxxrbithlechingxatxmxangxing aekikh Mulliken Robert S July 1932 Electronic Structures of Polyatomic Molecules and Valence II General Considerations Physical Review 41 1 49 71 R S Mulliken The assignment of quantum numbers for electrons in molecules Physical Review vol 32 pages 186 222 1928 Catherine E Housecroft Alan G Sharpe Inorganic Chemistry Pearson Prentice Hall 2nd Edition 2005 p 29 33 Michael Munowitz Principles of Chemistry Norton amp Company 2000 p 229 233 F A Cotton 1965 Metal Metal Bonding in Re2X8 2 Ions and Other Metal Atom Clusters Inorganic Chemistry 4 3 334 336 Gagliardi Laura Roos Bjorn O 2005 Quantum chemical calculations show that the uranium molecule U2 has a quintuple bond Nature 433 848 851 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xxrbithlechingomelkul amp oldid 6420460, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม