fbpx
วิกิพีเดีย

สารประกอบโคออร์ดิเนชัน

สารประกอบโคออร์ดิเนชัน (อังกฤษ: Coordination Compounds) หรือสารเชิงซ้อนโคออร์ดิเนชัน (coordination complexes) หมายถึง สารประกอบที่ประกอบด้วย โคออร์ดิเนชันเอนทิตี (coordination entity) หรือ โคออร์ดิเนชันสเฟียร์ (coordination sphere) ซึ่ง โคออร์ดิเนชันเอนทิตี คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ประกอบด้วย อะตอมกลาง (central atom)(โดยปกติแล้วจะเป็นอะตอมของธาตุโลหะ) สร้างพันธะเชื่อมต่อกับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมรอบๆ แต่ละอะตอมหรือกลุ่มอะตอมดังกล่าวที่สร้างพันธะกับอะตอมกลางเรียกว่า ลิแกนด์ (ligand) [1]

รูป 1: อัลเฟรท แวร์เนอร์ (Alfred Werner) นักเคมีชาวสวิส ผู้ที่วางรากฐานวิชาเคมีโคออร์ดิเนชัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีจากการศึกษาสารประกอบโคออร์ดิเนชัน

ประวัติ

สารประกอบโคออร์ดิชันหลายชนิดเป็นที่รู้จักกันมาเป็นเวลานานแล้ว โดยเฉพาะสารที่มีสี เช่น คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) ฮีโมโกลบิน (hemoglobin) วิตามินบี 12 เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สมบัติทางเคมีและโครงสร้างของสารประกอบกลุ่มนี้ยังไม่เป็นที่เข้าใจมากนัก จนกระทั่ง อัลเฟรท แวร์เนอร์ นักเคมีชาวสวิส ได้สนใจศึกษาสารประกอบของโคบอลต์ โดยในปี ค.ศ. 1983 เขาได้เสนอว่า สารประกอบของโคบอลต์ (III) ที่มี 6 ลิแกนด์มีรูปร่างทางเรขาคณิตของโมเลกุล (molecular geometry) เป็นทรงแปดหน้า (octahedral)และได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ เวเลนซ์ปฐมภูมิ (primary valence) และ เวเลนซ์ทุติยภูมิ (secondary valence) ของอะตอมโลหะขึ้นมา โดยต่อมาเรารู้จักกันในชื่อ สถานะออกซิเดชัน (oxidation state) หรือ เลขออกซิเดชัน (oxidation number) และ เลขโคออร์ดิเนชัน (coordination number) ตามลำดับ นอกจากนี้ เขายังได้ศึกษาสมบัติเชิงแสง (optical properties) และสมบัติการนำไฟฟ้าของสารละลายของสารประกอบโคออร์ดิเนชัน ทำให้ทราบว่ามีไอโซเมอร์ของสารประกอบโคออร์ดิเนชันหลายชนิด [2][3] และได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี ในปี ค.ศ.1917 และเป็นนักเคมีสาขาเคมีอนินทรีย์คนแรกที่ได้รับรางวัลนี้

ปัจจุบัน วิชาเคมีที่ศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบโคออร์ดิเนชัน เรียกว่า เคมีโคออร์ดิเนชัน (coordination chemistry) ซึ่งได้แตกแขนงออกเป็นสาขาวิชาย่อยมากมาย อาทิ เคมีของสารประกอบโลหอินทรีย์ (organometallic chemistry) เคมีซุปราโมเลกุลาร์ (supramolecular chemistry) และเป็นพื้นฐานของศาสตร์แขนงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโครงสร้างของของแข็งโดยเฉพาะสารประกอบที่เรียกว่า โคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์ (coordination polymers) และ โครงข่ายโลหะ-สารอินทรีย์ (metal-organic frameworks) เป็นต้น

 
รูป 2: โครงสร้างของวิตามินบี 12 ซึ่งเป็นสารประกอบโคออร์ดิเนชันของโคบอลต์

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง

สารประกอบโคออร์ดิเนชันประกอบด้วย อะตอมกลาง (central atom) และ ลิแกนด์ (ligand) ที่สร้าง พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ (coordinate covalent bond) ผ่านอะตอมที่เป็นส่วนหนึ่งของลิแกนด์โดยเรียกอะตอมที่สร้างพันธะกับอะตอมกลางว่า อะตอมผู้ให้ (donor atom) จำนวนอะตอมผู้ให้ที่สร้าง พันธะซิกมา (sigma bond) กับอะตอมกลางเรียกว่า เลขโคออร์ดิเนชัน (coordination number) [4]

การเรียกชื่อกลุ่มของลิแกนด์จำแนกตามลักษณะการสร้างพันธะกับอะตอมกลางเป็น ดังนี้

  • ลิแกนด์ที่มีจำนวนอะตอมผู้ให้ 1 อะตอม เรียกว่า ยูนิเดนเทต (unidentate) ลิแกนด์ หรือ มอนอเดนเทต (monodentate) ลิแกนด์
  • ลิแกนด์ที่มีจำนวนอะตอมผู้ให้ 2 อะตอม เรียกว่า ไบเดนเทต (bidentate) ลิแกนด์ หรือ ไดเดนเทต (didentate) ลิแกนด์
  • ลิแกนด์ที่มีจำนวนอะตอมผู้ให้ 3 อะตอม เรียกว่า ไตรเดนเทต (tridentate) ลิแกนด์
  • ลิแกนด์ที่มีจำนวนอะตอมผู้ให้ 4 อะตอม เรียกว่า ควอดิเดนเทต (quadidentate) ลิแกนด์ หรือ เตตระเดนเทต (tetradentate) ลิแกนด์
  • ลิแกนด์ที่มีจำนวนอะตอมผู้ให้ 5 อะตอม เรียกว่า เพนตะเดนเทต (pentadentate) ลิแกนด์
  • ลิแกนด์ที่มีจำนวนอะตอมผู้ให้หลายอะตอม เรียกโดยรวมว่า มัลติเดนเทต (multidentate) ลิแกนด์ หรือ พอลิเดนเทต (polydentate) ลิแกนด์
  • พอลิเดนเทตลิแกนด์ที่สร้างพันธะกับโลหะแล้วทำให้เกิด วงแหวน (ring)ลักษณะดังรูป 3 หรือลิแกนด์มีการสร้างพันธะครอบอะตอมกลางคล้ายก้ามปู จะเรียกลิแกนด์นั้นว่าเป็น คีเลติง (chelating) ลิแกนด์
  • มอนอเดนเทตลิแกนด์ที่มีอะตอมผู้ให้มากกว่า 1 ชนิดโดยสามารถใช้อะตอมใดอะตอมหนึ่งสร้างพันธะกับอะตอมกลางได้ เรียกว่า แอมบิเดนเทต (ambidentate) ลิแกนด์ เช่น NSC- ใน M-NCS ซึ่งแตกต่างจาก NCS-M [5]

อะตอมกลางและลิแกนด์ เรียกรวมกันว่า โคออร์ดิเนชันสเฟียร์ (coordination sphere) หรือ โคออร์ดิเนชันเอนทิตี (coordination entity) หากโคออร์ดิเนชันเอนทิตีมีประจุ จะเรียกว่า ไอออนเชิงซ้อน (complex ion) และสารประกอบซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้าหากประกอบด้วยไอออนเชิงซ้อนหรือโคออร์ดิเนชันเอนทิตีที่เป็นกลางทางไฟฟ้าแล้ว จะเรียกว่า สารเชิงซ้อน (complex) หรือ สารประกอบโคออร์ดิเนชัน

สารประกอบโคออร์ดิเนชันที่มีอะตอมผู้ให้เป็นคาร์บอน หรือมีพันธะโลหะ–คาร์บอน (M–C bond) จะเรียกว่า สารประกอบโลหอินทรีย์ (organometallics compounds) [6]

โครงสร้าง

พันธะเคมี

พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมกลางและอะตอมผู้ให้เป็นพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ หรือพันธะเดทีฟ (Dative bond) ที่เกิดจากอะตอมผู้ให้มีการใช้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair) หรือคู่อิเล็กตรอน (electron pair) ในการสร้างพันธะ โดยให้ (donate)คู่อิเล็กตรอนแก่อะตอมกลาง หรือเรียกว่า อะตอมผู้ให้ โคออร์ดิเนต (coordinate)กับอะตอมกลาง กรณีที่คีเลติงลิแกนด์สร้างพันธะกับอะตอมกลาง เราอาจะเรียกได้ว่า อะตอมกลางถูก คีเลต (chelate) โดยลิแกนด์

 
รูป 3: โมเลกุลเอทิลีนไดเอมีน ให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของไนโตรเจนแก่อะตอมของโลหะ พันธะที่เกิดขึ้นเป็นพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ แสดงด้วยลูกศร

อย่างไรก็ตาม การอธิบายพันธะเคมีของสารประกอบโคออร์ดิเนชันให้สอดคล้องกับสมบัติทางกายภาพ เช่น สมบัติเชิงแสง สีของสารประกอบ สมบัติแม่เหล็ก ได้มีการเสนอแนวคิดและทฤษฎีขึ้นหลายทฤษฎี อาทิ

กรด−เบสลิวอิส

เนื่องจากการเกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์เกี่ยวข้องการให้−รับคู่อิเล็กตรอน โดยลิแกนด์เป็นตัวให้คู่อิเล็กตรอนแก่อะตอมกลางจึงจัดเป็นเบสตามนิยามของลิวอิสหรือ เบสลิวอิส (Lewis base) ส่วนอะตอมกลางซึ่งรับอิเล็กตรอนมาจากลิแกนด์จึงเป็นกรดตามนิยามของลิวอิส หรือ กรดลิวอิส (Lewis acid)โดยสารประกอบที่เกิดขึ้นเรียกว่า แอดดักต์ (adduct) ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นสารประกอบโคออร์ดิเนชันหรือแอดดักต์ที่เกิดจากแอมโมเนียให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (เบสลิวอิส)แก่อะตอมโบรอนในโมเลกุลโบรอนไตรฟลูออไรด์ (กรดลิวอิส)เกิดเป็นแอดดักต์ H3N—BF3

 

รูปทรงเรขาคณิต

การแสดงโครงสร้างของโมเลกุลสารประกอบโคออร์ดิเนชันสามารถแสดงได้ด้วยรูปทรงเรขาคณิต โดยเป็นการแสดงสิ่งแวดล้อมรอบๆอะตอมกลาง โดยรูปทรงเรขาคณิตของโมเลกุลจะถูกกำหนดโดยสมบัติทางเคมีโคออร์ดิเนชันของอะตอมกลาง เช่น โคบอลต์มักจะมีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 4 และ 6 โดยมีรูปทรงเรขาคณิตเป็นทรงสี่หน้าและทรงแปดหน้าตามลำดับ ในขณะที่นิกเกิลที่มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 4 จะมีรูปทรงเรขาคณิตเป็นระนาบจัตุรัส


การอ่านชื่อตามระบบ IUPAC

การอ่านชื่อสารประกอบโคออร์ดิเนชันตามระบบ IUPAC ได้ถูกกำหนดใว้ใน NOMENCLATURE OF INORGANIC CHEMISTRY (IUPAC Recommendations 2005) [7] โดยสรุปได้ ดังนี้

  • ให้อ่านชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของอะตอมกลาง
  • ไม่มีช่องว่างระหว่างแต่ละส่วนภายในเอกลักษณ์โคออร์ดิเนชันเดียวกัน
  • ให้ชื่อของลิแกนด์เรียงตามลำดับอักษร (คำนำหน้า (prefix) ที่ใช้ระบุจำนวนลิแกนด์จะไม่นำมาพิจารณาลำดับอักษรด้วย)
  • IUPAC ไม่เห็นด้วยในการใช้อักษรย่อในชื่อ [8]
  • ชื่อลิแกนด์ที่มีประจุลบให้เปลี่ยนชื่อลงท้ายเป็นโดยให้ตัด -e แล้วเปลี่ยนเป็นเสียง -o [9] เช่น sulphate เปลี่ยนเป็น sulphato, cyanide เปลี่ยนเป็น cyanido, chloride เปลี่ยนเป็น chlorido หรือ iodide เปลี่ยนเป็น iodido เป็นต้น
  • ลิแกนด์บางชนิดมีชื่อเฉพาะ เช่น แอมโมเนีย (ammonia) NH3 เมื่อเป็นลิแกนด์จะเรียกว่า แอมมีน (ammine) น้ำ H2O เมื่อเป็นลิแกนด์จะเรียกว่า อะควา (aqua)เป็นต้น
  • ให้ใช้เลขฮินดูอารบิกในการบอกประจุของไอออนเชิงซ้อน [10]

อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอใหม่ของ IUPAC ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก นักเคมีจึงนิยมอ่านชื่อตามข้อกำหนดเดิม เช่น ชื่อลิแกนด์ยังคงเปลี่ยนชื่อท้ายเป็นเสียง -o โดยตัด -ide เป็น -o เช่น cyanide เปลี่ยนเป็น cyano, chloride เปลี่ยนเป็น chloro หรือ iodide เปลี่ยนเป็น iodo เป็นต้น และมีการระบุสถานะออกซิเดชันของอะตอมกลางด้วยตัวเลขโรมัน

 
รูป 5: ไอออนเชิงซ้อนนี้มีชื่อตามระบบของ IUPAC ว่า pentaamminenitrocobalt (II) ion

ตัวอย่าง:

  • [CoCl(NH3)5]Cl2

IUPAC อ่านชื่อว่า pentaamminechloridocobalt(2+) chloride

ข้อกำหนดเดิม อ่านชื่อว่า pentaamminechlorocobalt(III) chloride

  • [AuF4]-

IUPAC อ่านชื่อว่า tetrafluoridoaurate(1-)

ข้อกำหนดเดิม อ่านชื่อว่า tetrafluoroaurate(III)

  • K4[Fe(CN)6]

IUPAC อ่านชื่อว่า potassium hexacyanidoferrate(II)

หรือ potassium hexacyanidoferrate(4-)

หรือ tetrapotassium hexacyanidoferrate

ข้อกำหนดเดิม อ่านชื่อว่า potassium hexacyanoferrate(II)


อนึ่ง สารประกอบโลหะอินทรีย์จะมีวิธีการอ่านชื่อที่แตกต่างออกไป

ประโยชน์

สารประกอบโคออร์ดิเนชันมีประโยชน์มากมาย เช่น

การสกัดแร่ทองคำ

  • การสกัดทองคำจากแร่ โดยใช้ปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบโคออร์ดิเนชันกับไซยาไนด์ หรือปฏิกิริยาไซยานิเดชัน (cyanidation reaction) ดังนี้
4 Au + 8 NaCN + O2 + 2 H2O → 4 Na[Au(CN)2] + 4 NaOH

ตัวเร่งปฏิกิริยา

  • สารประกอบโคออร์ดิเนชันหลายชนิดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) เช่น สารประกอบโคออร์ดิเนชันของโรเดียม HRh(CO)(PPh3)2 และ Rh(acac)(CO)2 ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรฟอมิเลชันของ 2-ออกทีน
 

ยารักษาโรค

  • สารประกอบโคออร์ดิเนชันหลายชนิดมีฤทธิ์ทางชีวภาพซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ได้ เช่น ออกซาลิพลาติน (oxaliplatin) ใช้ในเคมีบำบัด (chemotherapy) ในการรักษาโรคมะเร็ง เป็นต้น
 

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)" (2005) p. 145 – IR-9.1.2.2 Coordination compounds and the coordination entity http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.
  2. "Stereogenic metal centres – from Werner to supramolecular chemistry", Edwin C. Constable, Chem. Soc. Rev., 2013, Advance Article, DOI: 10.1039/C2CS35270B, http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2013/CS/C2CS35270B
  3. "Coordination chemistry beyond Werner: interplay between hydrogen bonding and coordination",Jan Reedijk , Chem. Soc. Rev., 2013, Advance Article, DOI: 10.1039/C2CS35239G, http://pubs.rsc.org/en/content/articlelanding/2013/CS/C2CS35239G Received 03 Jul 2012, First published on the web 17 Aug 2012
  4. "IUPAC. Compendium of Chemical Terminology", 2nd ed. (the "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997). XML on-line corrected version: (2006-) created by M. Nic, J. Jirat, B. Kosata; updates compiled by A. Jenkins. ISBN 0-9678550-9-8. doi:10.1351/goldbook. Last update: 2012-08-19; version: 2.3.2. DOI of this term: doi:10.1351/goldbook.C01331., http://goldbook.iupac.org/C01331.html
  5. "Essential of Inorganic Chemistry 1", D. Mingos, Oxford University Press, 1995, ISBN 978-019855848-4.
  6. "IUPAC. Compendium of Chemical Terminology", 2nd ed. (the "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997). XML on-line corrected version: (2006-) created by M. Nic, J. Jirat, B. Kosata; updates compiled by A. Jenkins. ISBN 0-9678550-9-8. doi:10.1351/goldbook. Last update: 2012-08-19; version: 2.3.2. DOI of this term: doi:10.1351/goldbook.C01331., http://goldbook.iupac.org/O04328.html
  7. "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)" (2005) p. 142-199 – IR-9 Coordination Compounds http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.
  8. "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)" (2005) p. 150 – IR-9.2.2.1 Sequences of ligands and central atoms within names http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.
  9. "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)", (2005), p.151 IR-9.2.2.3 Representing ligands in names, http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.
  10. "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)", (2005), p.152 IR-9.2.2.4 Charge numbers, oxidation numbers and ionic proportions, http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.
  11. Technical Bulletin, http://www.multimix.com.au/DOCUMENTS/Technical%20Bulletin1.pdf 2009-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  12. The status of platinum anticancer drugs in the clinic and in clinical trials Dalton Transactions, 2010, 39, 8113-8127

สารประกอบโคออร, เนช, งกฤษ, coordination, compounds, หร, อสารเช, งซ, อนโคออร, เนช, coordination, complexes, หมายถ, สารประกอบท, ประกอบด, วย, โคออร, เนช, นเอนท, coordination, entity, หร, โคออร, เนช, นสเฟ, ยร, coordination, sphere, โคออร, เนช, นเอนท, ไอออนหร, อโมเ. sarprakxbokhxxrdienchn xngkvs Coordination Compounds hruxsarechingsxnokhxxrdienchn coordination complexes hmaythung sarprakxbthiprakxbdwy okhxxrdienchnexnthiti coordination entity hrux okhxxrdienchnsefiyr coordination sphere sung okhxxrdienchnexnthiti khux ixxxnhruxomelkulthiprakxbdwy xatxmklang central atom odypktiaelwcaepnxatxmkhxngthatuolha srangphnthaechuxmtxkbxatxmhruxklumkhxngxatxmrxb aetlaxatxmhruxklumxatxmdngklawthisrangphnthakbxatxmklangeriykwa liaeknd ligand 1 rup 1 xlefrth aewrenxr Alfred Werner nkekhmichawswis phuthiwangrakthanwichaekhmiokhxxrdienchn sungidrbrangwloneblsakhaekhmicakkarsuksasarprakxbokhxxrdienchn enuxha 1 prawti 2 khasphththiekiywkhxng 3 okhrngsrang 3 1 phnthaekhmi 3 2 krd ebsliwxis 3 3 rupthrngerkhakhnit 4 karxanchuxtamrabb IUPAC 5 praoychn 5 1 karskdaerthxngkha 5 2 twerngptikiriya 5 3 yarksaorkh 6 duephim 7 xangxingprawti aekikhsarprakxbokhxxrdichnhlaychnidepnthiruckknmaepnewlananaelw odyechphaasarthimisi echn khlxorfill chlorophyll hiomoklbin hemoglobin witaminbi 12 epntn xyangirktam smbtithangekhmiaelaokhrngsrangkhxngsarprakxbklumniyngimepnthiekhaicmaknk cnkrathng xlefrth aewrenxr nkekhmichawswis idsnicsuksasarprakxbkhxngokhbxlt odyinpi kh s 1983 ekhaidesnxwa sarprakxbkhxngokhbxlt III thimi 6 liaekndmiruprangthangerkhakhnitkhxngomelkul molecular geometry epnthrngaepdhna octahedral aelaidesnxaenwkhidekiywkb ewelnspthmphumi primary valence aela ewelnsthutiyphumi secondary valence khxngxatxmolhakhunma odytxmaeraruckkninchux sthanaxxksiedchn oxidation state hruxelkhxxksiedchn oxidation number aela elkhokhxxrdienchn coordination number tamladb nxkcakni ekhayngidsuksasmbtiechingaesng optical properties aelasmbtikarnaiffakhxngsarlalaykhxngsarprakxbokhxxrdienchn thaihthrabwamiixosemxrkhxngsarprakxbokhxxrdienchnhlaychnid 2 3 aelaidrbrangwloneblsakhaekhmi inpi kh s 1917 aelaepnnkekhmisakhaekhmixninthriykhnaerkthiidrbrangwlnipccubn wichaekhmithisuksaekiywkbsarprakxbokhxxrdienchn eriykwa ekhmiokhxxrdienchn coordination chemistry sungidaetkaekhnngxxkepnsakhawichayxymakmay xathi ekhmikhxngsarprakxbolhxinthriy organometallic chemistry ekhmisupraomelkular supramolecular chemistry aelaepnphunthankhxngsastraekhnngihmthiekiywkhxngkbkarxxkaebbokhrngsrangkhxngkhxngaekhngodyechphaasarprakxbthieriykwa okhxxrdienchnphxliemxr coordination polymers aela okhrngkhayolha sarxinthriy metal organic frameworks epntn rup 2 okhrngsrangkhxngwitaminbi 12 sungepnsarprakxbokhxxrdienchnkhxngokhbxltkhasphththiekiywkhxng aekikhsarprakxbokhxxrdienchnprakxbdwy xatxmklang central atom aela liaeknd ligand thisrang phnthaokhxxrdientokhewelnt coordinate covalent bond phanxatxmthiepnswnhnungkhxngliaekndodyeriykxatxmthisrangphnthakbxatxmklangwa xatxmphuih donor atom canwnxatxmphuihthisrang phnthasikma sigma bond kbxatxmklangeriykwa elkhokhxxrdienchn coordination number 4 kareriykchuxklumkhxngliaekndcaaenktamlksnakarsrangphnthakbxatxmklangepn dngni liaekndthimicanwnxatxmphuih 1 xatxm eriykwa yuniednetht unidentate liaeknd hrux mxnxednetht monodentate liaeknd liaekndthimicanwnxatxmphuih 2 xatxm eriykwa ibednetht bidentate liaeknd hrux idednetht didentate liaeknd liaekndthimicanwnxatxmphuih 3 xatxm eriykwa itrednetht tridentate liaeknd liaekndthimicanwnxatxmphuih 4 xatxm eriykwa khwxdiednetht quadidentate liaeknd hrux ettraednetht tetradentate liaeknd liaekndthimicanwnxatxmphuih 5 xatxm eriykwa ephntaednetht pentadentate liaeknd liaekndthimicanwnxatxmphuihhlayxatxm eriykodyrwmwa mltiednetht multidentate liaeknd hrux phxliednetht polydentate liaeknd phxliednethtliaekndthisrangphnthakbolhaaelwthaihekid wngaehwn ring lksnadngrup 3 hruxliaekndmikarsrangphnthakhrxbxatxmklangkhlaykampu caeriykliaekndnnwaepn khielting chelating liaeknd mxnxednethtliaekndthimixatxmphuihmakkwa 1 chnidodysamarthichxatxmidxatxmhnungsrangphnthakbxatxmklangid eriykwa aexmbiednetht ambidentate liaeknd echn NSC in M NCS sungaetktangcak NCS M 5 xatxmklangaelaliaeknd eriykrwmknwa okhxxrdienchnsefiyr coordination sphere hrux okhxxrdienchnexnthiti coordination entity hakokhxxrdienchnexnthitimipracu caeriykwa ixxxnechingsxn complex ion aelasarprakxbsungepnklangthangiffahakprakxbdwyixxxnechingsxnhruxokhxxrdienchnexnthitithiepnklangthangiffaaelw caeriykwa sarechingsxn complex hrux sarprakxbokhxxrdienchnsarprakxbokhxxrdienchnthimixatxmphuihepnkharbxn hruxmiphnthaolha kharbxn M C bond caeriykwa sarprakxbolhxinthriy organometallics compounds 6 okhrngsrang aekikhphnthaekhmi aekikh phnthathiekidkhunrahwangxatxmklangaelaxatxmphuihepnphnthaokhxxrdientokhewelnt hruxphnthaedthif Dative bond thiekidcakxatxmphuihmikarichxielktrxnkhuoddediyw lone pair hruxkhuxielktrxn electron pair inkarsrangphntha odyih donate khuxielktrxnaekxatxmklang hruxeriykwa xatxmphuih okhxxrdient coordinate kbxatxmklang krnithikhieltingliaekndsrangphnthakbxatxmklang eraxacaeriykidwa xatxmklangthuk khielt chelate odyliaeknd rup 3 omelkulexthilinidexmin ihxielktrxnkhuoddediywkhxnginotrecnaekxatxmkhxngolha phnthathiekidkhunepnphnthaokhxxrdientokhewelnt aesdngdwyluksr xyangirktam karxthibayphnthaekhmikhxngsarprakxbokhxxrdienchnihsxdkhlxngkbsmbtithangkayphaph echn smbtiechingaesng sikhxngsarprakxb smbtiaemehlk idmikaresnxaenwkhidaelathvsdikhunhlaythvsdi xathi thvsdisnamphluk crystal field theory thvstiphnthaewelns valence bond theory thvsdixxrbithlechingomelkul molecular orbital theory thvstisnamliaeknd ligand field theory krd ebsliwxis aekikh enuxngcakkarekidphnthaokhxxrdientokhewelntekiywkhxngkarih rbkhuxielktrxn odyliaekndepntwihkhuxielktrxnaekxatxmklangcungcdepnebstamniyamkhxngliwxishrux ebsliwxis Lewis base swnxatxmklangsungrbxielktrxnmacakliaekndcungepnkrdtamniyamkhxngliwxis hrux krdliwxis Lewis acid odysarprakxbthiekidkhuneriykwa aexddkt adduct twxyangtxipniepnsarprakxbokhxxrdienchnhruxaexddktthiekidcakaexmomeniyihxielktrxnkhuoddediyw ebsliwxis aekxatxmobrxninomelkulobrxnitrfluxxird krdliwxis ekidepnaexddkt H3N BF3 rupthrngerkhakhnit aekikh karaesdngokhrngsrangkhxngomelkulsarprakxbokhxxrdienchnsamarthaesdngiddwyrupthrngerkhakhnit odyepnkaraesdngsingaewdlxmrxbxatxmklang odyrupthrngerkhakhnitkhxngomelkulcathukkahndodysmbtithangekhmiokhxxrdienchnkhxngxatxmklang echn okhbxltmkcamielkhokhxxrdienchnethakb 4 aela 6 odymirupthrngerkhakhnitepnthrngsihnaaelathrngaepdhnatamladb inkhnathinikekilthimielkhokhxxrdienchnethakb 4 camirupthrngerkhakhnitepnranabcturs esntrng linear echn CuCl2 Ag NH3 2 samehliymaebnrab trigonal planar echn HgI3 Ni CO 4 ranabcturs square planar echn AuCl4 PtCl4 2 Fe CO 5 phiramidthancturs square pyramidal echn NbCl4 O V acac 2 O rupthrngaepdhna octahedral echn Cr H2O 6 3 Fe CN 6 3 prisumsamehliym prismic trigonal echn Mo SCHCHS 3 phiramidkhuthanhaehliym pentagonal bipyramidal echn Nb O ox 3 3 aexntiprisumcturs square antiprism echn Mo CN 8 4 ReF8 2 karxanchuxtamrabb IUPAC aekikhkarxanchuxsarprakxbokhxxrdienchntamrabb IUPAC idthukkahndiwin NOMENCLATURE OF INORGANIC CHEMISTRY IUPAC Recommendations 2005 7 odysrupid dngni ihxanchuxliaekndkxnchuxkhxngxatxmklang immichxngwangrahwangaetlaswnphayinexklksnokhxxrdienchnediywkn ihchuxkhxngliaeknderiyngtamladbxksr khanahna prefix thiichrabucanwnliaekndcaimnamaphicarnaladbxksrdwy IUPAC imehndwyinkarichxksryxinchux 8 chuxliaekndthimipraculbihepliynchuxlngthayepnodyihtd e aelwepliynepnesiyng o 9 echn sulphate epliynepn sulphato cyanide epliynepn cyanido chloride epliynepn chlorido hrux iodide epliynepn iodido epntn liaekndbangchnidmichuxechphaa echn aexmomeniy ammonia NH3 emuxepnliaekndcaeriykwa aexmmin ammine na H2O emuxepnliaekndcaeriykwa xakhwa aqua epntn ihichelkhhinduxarbikinkarbxkpracukhxngixxxnechingsxn 10 xyangirktam khxesnxihmkhxng IUPAC yngimepnthiniymmaknk nkekhmicungniymxanchuxtamkhxkahndedim echn chuxliaekndyngkhngepliynchuxthayepnesiyng o odytd ide epn o echn cyanide epliynepn cyano chloride epliynepn chloro hrux iodide epliynepn iodo epntn aelamikarrabusthanaxxksiedchnkhxngxatxmklangdwytwelkhormn rup 5 ixxxnechingsxnnimichuxtamrabbkhxng IUPAC wa pentaamminenitrocobalt II ion twxyang CoCl NH3 5 Cl2IUPAC xanchuxwa pentaamminechloridocobalt 2 chloridekhxkahndedim xanchuxwa pentaamminechlorocobalt III chloride AuF4 IUPAC xanchuxwa tetrafluoridoaurate 1 khxkahndedim xanchuxwa tetrafluoroaurate III K4 Fe CN 6 IUPAC xanchuxwa potassium hexacyanidoferrate II hrux potassium hexacyanidoferrate 4 hrux tetrapotassium hexacyanidoferratekhxkahndedim xanchuxwa potassium hexacyanoferrate II xnung sarprakxbolhaxinthriycamiwithikarxanchuxthiaetktangxxkippraoychn aekikhsarprakxbokhxxrdienchnmipraoychnmakmay echn karskdaerthxngkha aekikh karskdthxngkhacakaer odyichptikiriyakarekidsarprakxbokhxxrdienchnkbisyaind hruxptikiriyaisyaniedchn cyanidation reaction dngni4 Au 8 NaCN O2 2 H2O 4 Na Au CN 2 4 NaOH 11 twerngptikiriya aekikh sarprakxbokhxxrdienchnhlaychnidepntwerngptikiriya catalyst echn sarprakxbokhxxrdienchnkhxngorediym HRh CO PPh3 2 aela Rh acac CO 2 ichepntwerngptikiriyaihodrfxmielchnkhxng 2 xxkthin yarksaorkh aekikh sarprakxbokhxxrdienchnhlaychnidmivththithangchiwphaphsungsamarthnamaichpraoychninthangkaraephthyid echn xxksaliphlatin oxaliplatin ichinekhmibabd chemotherapy inkarrksaorkhmaerng 12 epntn duephim aekikhphnthaokhxxrdientokhewelnt ekhmixninthriy okhrngkhayolha sarxinthriy okhrngsrangaebbekhkkin phxlixxkosemthlelt ekhmiolhxinthriyxangxing aekikh Nomenclature of Inorganic Chemistry IUPAC Recommendations 2005 2005 p 145 IR 9 1 2 2 Coordination compounds and the coordination entity http old iupac org publications books rbook Red Book 2005 pdf Stereogenic metal centres from Werner to supramolecular chemistry Edwin C Constable Chem Soc Rev 2013 Advance Article DOI 10 1039 C2CS35270B http pubs rsc org en Content ArticleLanding 2013 CS C2CS35270B Coordination chemistry beyond Werner interplay between hydrogen bonding and coordination Jan Reedijk Chem Soc Rev 2013 Advance Article DOI 10 1039 C2CS35239G http pubs rsc org en content articlelanding 2013 CS C2CS35239G Received 03 Jul 2012 First published on the web 17 Aug 2012 IUPAC Compendium of Chemical Terminology 2nd ed the Gold Book Compiled by A D McNaught and A Wilkinson Blackwell Scientific Publications Oxford 1997 XML on line corrected version 2006 created by M Nic J Jirat B Kosata updates compiled by A Jenkins ISBN 0 9678550 9 8 doi 10 1351 goldbook Last update 2012 08 19 version 2 3 2 DOI of this term doi 10 1351 goldbook C01331 http goldbook iupac org C01331 html Essential of Inorganic Chemistry 1 D Mingos Oxford University Press 1995 ISBN 978 019855848 4 IUPAC Compendium of Chemical Terminology 2nd ed the Gold Book Compiled by A D McNaught and A Wilkinson Blackwell Scientific Publications Oxford 1997 XML on line corrected version 2006 created by M Nic J Jirat B Kosata updates compiled by A Jenkins ISBN 0 9678550 9 8 doi 10 1351 goldbook Last update 2012 08 19 version 2 3 2 DOI of this term doi 10 1351 goldbook C01331 http goldbook iupac org O04328 html Nomenclature of Inorganic Chemistry IUPAC Recommendations 2005 2005 p 142 199 IR 9 Coordination Compounds http old iupac org publications books rbook Red Book 2005 pdf Nomenclature of Inorganic Chemistry IUPAC Recommendations 2005 2005 p 150 IR 9 2 2 1 Sequences of ligands and central atoms within names http old iupac org publications books rbook Red Book 2005 pdf Nomenclature of Inorganic Chemistry IUPAC Recommendations 2005 2005 p 151 IR 9 2 2 3 Representing ligands in names http old iupac org publications books rbook Red Book 2005 pdf Nomenclature of Inorganic Chemistry IUPAC Recommendations 2005 2005 p 152 IR 9 2 2 4 Charge numbers oxidation numbers and ionic proportions http old iupac org publications books rbook Red Book 2005 pdf Technical Bulletin http www multimix com au DOCUMENTS Technical 20Bulletin1 pdf Archived 2009 10 23 thi ewyaebkaemchchin The status of platinum anticancer drugs in the clinic and in clinical trials Dalton Transactions 2010 39 8113 8127ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sarprakxbokhxxrdienchn amp oldid 9597825, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม