fbpx
วิกิพีเดีย

อะโบมาซัม

อะโบมาซัม หรือ กระเพาะแท้ (อังกฤษ: abomasum หรือ maw, rennet-bag, reed tripe) เป็นกระเพาะอาหารลำดับที่ 4 และเป็นกระเพาะอาหารที่แท้จริงของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งสัตว์เคี้ยวเอื้องเป็นสัตว์ที่มีกระเพาะขนาดใหญ่มีความจุของกระเพาะมากเนื่องมาจากอาหารที่กินส่วนใหญ่เป็นพืช อาหารสัตว์หรืออาหารที่มีลักษณะหยาบ เช่น หญ้า ใบไม้ กิ่งไม้เล็ก ๆ รำหยาบ ฟาง เมล็ดธัญพืชทั้งเปลือก เป็นต้น ทำให้กระเพาะอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้องแบ่งออกเป็น 4 ส่วน เรียงตามลำดับดังนี้ รูเมน (rumen) เรติคิวลัม (reticulum) โอมาซัม (omasum) และ อะโบมาซัม (abomasum)

ระบบย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง – กระเพาะอะโบมาซัมอยู่ล่างสุด

คำว่า "อะโบมาซัม" มาจากภาษาละตินใหม่ ถูกนำมาใช้ในภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี ค.ศ. 1706 โดยประกอบขึ้นจากคำว่า ab- + omasum มีความหมายว่า "ลำไส้ของวัว"

ลักษณะโครงสร้าง

อะโบมาซัม เป็นส่วนของกระเพาะที่มีต่อมสร้างน้ำย่อยที่ชั้นเยื่อเมือกเหมือนกันกับกระเพาะของสัตว์กระเพาะเดี่ยวทั่วไป มีลักษณะเหมือนลูกแพร์ (pear-shaped) มีความจุประมาณ 8% ของความจุกระเพาะทั้งหมด อะโบมาซัมจะมีขนาดเล็กลงเมื่อเปรียบเทียบกับกระเพาะรูเมนเมื่อสัตว์มีการเจริญเติบโตขึ้น กระเพาะแท้ในสัตว์เคี้ยวเอื้องแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ fundic region มีชั้นเยื่อเมือกลักษณะเป็นกลีบ (fold) ประมาณ 12 กลีบ ทำหน้าที่ขับกรดเกลือ (HCl) และเอนไซม์ชนิดต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางที่เป็นกรด และส่วนที่สองคือ pyloric region ผนังส่วนนี้จะคล้ายกับผนังกระเพาะของสัตว์กระเพาะเดี่ยวทั่วไป เป็นที่รวมของอาหารก่อนที่จะถูกบีบให้เป็นก้อน (bolus) โดยการรัดตัวของกล้ามเนื้อให้ผ่านกล้ามเนื้อหูรูด เข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น (ดูโอดินัม) ต่อไป สำหรับแพะ แกะ จะสามารถพบส่วน cardiac region ได้

ตำแหน่ง

อะโบมาซัม อยู่ด้านขวาของกระเพาะรูเมน และติดกับพื้นล่างของช่องท้อง

 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง – กระเพาะอะโบมาซัมอยู่ด้านขวาของกระเพาะรูเมน และติดกับพื้นล่างของช่องท้อง

หน้าที่

อะโบมาซัม จะมีต่อมที่สร้างเอนไซม์ และปล่อยออกมาย่อยอาหารพวกโปรตีน รวมทั้งจุลินทรีย์ที่ติดอยู่ในอาหารเป็นจำนวนมาก สัตว์จึงได้รับกรดอะมิโนจากเซลล์จุลินทรีย์ และวิตามินต่างๆ ที่จุลินทรีย์สังเคราะห์ขึ้นมาทำให้สัตว์ได้รับสารอาหารมากกว่าที่จะได้รับจากหญ้าเพียงอย่างเดียว เมื่ออาหารผ่านกระเพาะส่วนนี้แล้ว จะเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้นที่มีอวัยวะช่วยย่อยอาหาร จะมีการย่อยอาหารและดูดซึมสารอาหารเช่นเดียวกับสัตว์กินพืชอื่น ๆ โดยอาศัยเอนไซม์จากตับอ่อนและน้ำดีจากตับ โดยตับทำหน้าที่สร้างน้ำดีเพื่อทำให้ไขมันที่อยู่ในลำไส้เล็กเกิดการแตกตัว ตับอ่อนทำหน้าที่สร้างเอนไซม์ช่วยย่อยพวกโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรตที่อยู่ในลำไส้เล็ก เมื่ออาหารถูกย่อยเป็นโมเลกุลขนาดเล็กแล้วจะถูกส่งต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่อไป อาหารที่ยังย่อยไม่หมดและกากอาหารจะเคลื่อนที่เข้าสู่ลำไส้ใหญ่ และขับกากอาหารออกทางทวารหนักในที่สุด


อ้างอิง

  1. The Chambers Dictionary, Ninth Edition, Chambers Harrap Publishers, 2003
  2. สัตว์กระเพาะรวมหรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง
  3. สัตว์เคี้ยวเอื้อง
  4. กระบวนการย่อยอาหารของสัตว์กระเพาะรวม

อะโบมาซ, หร, กระเพาะแท, งกฤษ, abomasum, หร, rennet, reed, tripe, เป, นกระเพาะอาหารลำด, บท, และเป, นกระเพาะอาหารท, แท, จร, งของส, ตว, เค, ยวเอ, อง, งส, ตว, เค, ยวเอ, องเป, นส, ตว, กระเพาะขนาดใหญ, ความจ, ของกระเพาะมากเน, องมาจากอาหารท, นส, วนใหญ, เป, นพ, อาหารส,. xaobmasm hrux kraephaaaeth xngkvs abomasum hrux maw rennet bag reed tripe 1 epnkraephaaxaharladbthi 4 aelaepnkraephaaxaharthiaethcringkhxngstwekhiywexuxng sungstwekhiywexuxngepnstwthimikraephaakhnadihymikhwamcukhxngkraephaamakenuxngmacakxaharthikinswnihyepnphuch xaharstwhruxxaharthimilksnahyab echn hya ibim kingimelk rahyab fang emldthyphuchthngepluxk epntn 2 thaihkraephaaxaharkhxngstwekhiywexuxngaebngxxkepn 4 swn eriyngtamladbdngni ruemn rumen ertikhiwlm reticulum oxmasm omasum aela xaobmasm abomasum rabbyxyxaharkhxngstwekhiywexuxng kraephaaxaobmasmxyulangsud khawa xaobmasm macakphasalatinihm thuknamaichinphasaxngkvskhrngaerkinpi kh s 1706 odyprakxbkhuncakkhawa ab omasum mikhwamhmaywa laiskhxngww enuxha 1 lksnaokhrngsrang 2 taaehnng 3 hnathi 4 xangxinglksnaokhrngsrang aekikhxaobmasm epnswnkhxngkraephaathimitxmsrangnayxythichneyuxemuxkehmuxnknkbkraephaakhxngstwkraephaaediywthwip milksnaehmuxnlukaephr pear shaped mikhwamcupraman 8 khxngkhwamcukraephaathnghmd 3 xaobmasmcamikhnadelklngemuxepriybethiybkbkraephaaruemnemuxstwmikarecriyetibotkhun kraephaaaethinstwekhiywexuxngaebngxxkepn 2 swn swnaerkkhux fundic region michneyuxemuxklksnaepnklib fold praman 12 klib thahnathikhbkrdeklux HCl aelaexnismchnidtang thithahnathiepntwklangthiepnkrd aelaswnthisxngkhux pyloric region phnngswnnicakhlaykbphnngkraephaakhxngstwkraephaaediywthwip epnthirwmkhxngxaharkxnthicathukbibihepnkxn bolus odykarrdtwkhxngklamenuxihphanklamenuxhurud ekhasulaiselkswntn duoxdinm txip sahrbaepha aeka casamarthphbswn cardiac region idtaaehnng aekikhxaobmasm xyudankhwakhxngkraephaaruemn aelatidkbphunlangkhxngchxngthxng 3 rabbyxyxaharkhxngstwekhiywexuxng kraephaaxaobmasmxyudankhwakhxngkraephaaruemn aelatidkbphunlangkhxngchxngthxnghnathi aekikhxaobmasm camitxmthisrangexnism aelaplxyxxkmayxyxaharphwkoprtin rwmthngculinthriythitidxyuinxaharepncanwnmak stwcungidrbkrdxamioncakesllculinthriy aelawitamintang thiculinthriysngekhraahkhunma 4 thaihstwidrbsarxaharmakkwathicaidrbcakhyaephiyngxyangediyw emuxxaharphankraephaaswnniaelw caekhasulaiselkswntnthimixwywachwyyxyxahar camikaryxyxaharaeladudsumsarxaharechnediywkbstwkinphuchxun odyxasyexnismcaktbxxnaelanadicaktb odytbthahnathisrangnadiephuxthaihikhmnthixyuinlaiselkekidkaraetktw tbxxnthahnathisrangexnismchwyyxyphwkoprtin ikhmn aelakharobihedrtthixyuinlaiselk emuxxaharthukyxyepnomelkulkhnadelkaelwcathuksngtxipyngswntang khxngrangkaytxip xaharthiyngyxyimhmdaelakakxaharcaekhluxnthiekhasulaisihy aelakhbkakxaharxxkthangthwarhnkinthisudxangxing aekikh The Chambers Dictionary Ninth Edition Chambers Harrap Publishers 2003 stwkraephaarwmhruxstwekhiywexuxng 3 0 3 1 stwekhiywexuxng krabwnkaryxyxaharkhxngstwkraephaarwmekhathungcak https th wikipedia org w index php title xaobmasm amp oldid 4745313, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม