fbpx
วิกิพีเดีย

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (อาหรับ: العراق‎; เคิร์ด: عێراقอังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (อาหรับ: جمهورية العراق‎; เคิร์ด: كؤماری عێراق‎) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจรดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จรดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจรดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด

สาธารณรัฐอิรัก

جمهورية العراق (อาหรับ)
كؤماری عێراق (เคิร์ด)
คำขวัญอาหรับ: الله أكبر
(อัลลอฮุ อัคบัร)
("อัลลอฮ์คือผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด")
เพลงชาติMawtini
ประเทศของข้า
เมืองหลวง
และ ใหญ่สุด
แบกแดด
ภาษาราชการภาษาอาหรับและภาษาเคิร์ด
  • Recognised regional languages
  • Turkmen
  • Syriac (Neo-Aramaic)
  • Armenian
ศาสนา
การปกครองสหพันธ์ ระบบรัฐสภา สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
• ประธานาธิบดี
บัรฮัม ศอเลียะห์
• นายกรัฐมนตรี
มุสตาฟา อัล-คัดฮิมี
• Speaker
Mohamed al-Halbousi
• Chief Justice
Medhat al-Mahmoud
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร
ได้รับเอกราช
1 ตุลาคม พ.ศ. 2462
3 ตุลาคม พ.ศ. 2475
พื้นที่
• รวม
437,072 ตารางกิโลเมตร (168,754 ตารางไมล์) (58)
1.1%
ประชากร
• 2557 ประมาณ
36,004,552 (36)
82.7 ต่อตารางกิโลเมตร (214.2 ต่อตารางไมล์) (125)
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 660.723 พันล้าน
$ 17,003
จีดีพี (ราคาตลาด)2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 192.660 พันล้าน
$ 4,958
จีนี (2555)29.5
ต่ำ
HDI (2562) 0.674
ปานกลาง · 123rd
สกุลเงินดีนาร์อิรัก (IQD)
เขตเวลาUTC+3 (AST)
• ฤดูร้อน (DST)
UTC+4
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์+964
โดเมนบนสุด.iq

ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย

ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ

พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน ค.ศ. 1920 โดยสันนิบาตชาติ เมื่อจักรวรรดิออตโตมันถูกแบ่งตามสนธิสัญญาแซฟวร์ ประเทศอิรักถูกกำหนดให้อยู่ในอำนาจของสหราชอาณาจักรเป็นอาณาเขตในอาณัติเมโสโปเตเมียของอังกฤษ พระมหากษัตริย์สถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1921 และราชอาณาจักรอิรักได้รับเอกราชจากอังกฤษใน ค.ศ. 1932 ใน ค.ศ. 1958 พระมหากษัตริย์ถูกล้มล้างและมีการสถาปนาสาธารณรัฐอิรัก ประเทศอิรักถูกควบคุมโดยพรรคบะอัธสังคมนิยมอาหรับตั้งแต่ ค.ศ. 1968 ถึง 2003 หลังการบุกครองโดยสหรัฐอเมริกาและพันธมิตร พรรคบะอัธของซัดดัม ฮุสเซนถูกโค่นจากอำนาจและมีการจัดการเลือกตั้งรัฐสภาหลายพรรคขึ้น ทหารสหรัฐออกจากอิรักทั้งหมดใน ค.ศ. 2011 แต่การก่อการกำเริบอิรักยังดำเนินต่อไปและทวีความรุนแรงขึ้นเมื่อนักรบจากสงครามกลางเมืองซีเรียไหลบ่าเข้าประเทศ

ภูมิศาสตร์

 
แผนที่ประเทศอิรัก

อิรักมีพื้นที่ทั้งหมด 437,072 ตารางกิโลเมตร ทิศตะวันออกติดกับ อิหร่าน ทิศเหนือ ติดกับตุรกี ทิศใต้ติดกับคูเวต ทิศตะวันตกติดกับ ซีเรีย และจอร์แดน สภาพทางภูมิศาสตร์ของอิรัก เป็นทะเลทรายร้ออิรักยละ 40 ที่ราบสูง ยากแต่การทำการเกษตรทำให้อิรักต้องนำเข้าสินค้าภาคการเกษตรเช่น ข้าวสาลี ข้าวจ้าว ธัญพืช แต่อย่างไรก็ดี อิรักก็มีแม่น้ำไหลผ่าน 2 สาย คือ ไทรกิส ยูเฟรตีส ทำให้ยังพอมีความอุดมสมบูรณ์อยู่บ้าง

ประวัติศาสตร์

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์อิรัก

ยุคโบราณ

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์เมโสโปเตเมีย

ยุคกลาง

ยุคอาณาจักรออตโตมาน

ดูบทความหลักที่: ออตโตมานอิรัก และ ราชวงศ์มัมลุกแห่งอิรัก
 
ส.ค.ส.คริสต์มาสค.ศ.1917 ของกองกำลังบริติชเมโซโปเตเมีย.
  • พ.ศ. 2281 - ตกอยู่ใต้อาณาจักรออตโตมาน

รัฐในอาณัติ และ ราชอาณาจักร

หลังจากสงครามโลกครั้งที่1 ยุติลงอาณาจักรออตโตมันที่เคยเป็นมหาอำนาจในตะวันออกกลางตกเป็นผู้แพ้สงคราม ดินแดนต่างๆที่ออตโตมันปกครองก็ถูกแบ่งแยกออกเป็นรัฐต่างๆ อิรักเป็นหนึ่งในรัฐที่ถูกแบ่งแยกออกมาโดยอังกฤษที่สามารถยึดครองอิรักจากออตโตมันได้ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่1

อังกฤษได้เข้ามาปกครองอิรัก ในฐานะรัฐอารักขาตั้งแต่ปี ค.ศ.1920 จนกระทั่งในปี ค.ศ.1932 อังกฤษได้ให้เอกราชแก่อิรักโดยมีราชวงศ์ฮัชไมต์ปกครองประเทศอิรัก

สาธารณรัฐ และ พรรคบะอัธ

ดูบทความหลักที่: สาธารณรัฐอิรัก (ค.ศ. 1958–68) และ สาธารณรัฐอิรัก (พรรคบะอัธ)
  • พ.ศ. 2511 - เริ่มต้นการปกครองโดยพรรคบาธ โดยมีประธานาธิบดี Ahmad Masan Al Bakr และรองประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein)
  • พ.ศ. 2522 - ซัดดัม ฮุสเซน ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี
  • พ.ศ. 2523-2531 -สงครามระหว่างอิรัก-อิหร่าน (สงครามอ่าวครั้งที่ 1)
  • พ.ศ. 2533 - เข้ายึดครองคูเวต(สงครามอ่าวครั้งที่ 2)
  • พ.ศ. 2533 - ถูกคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจโดยสหประชาชาติ

สหรัฐอเมริกาเข้ายึด

ดูบทความหลักที่: วิกฤติการณ์อิรัก ค.ศ. 2003 และ สงครามอิรัก
 
อนุสาวรีย์ของซัดดัม ฮุสเซน ภายในจัตุรัสฟิรเดาส์ กรุงแบกแดด ได้โค่นล้มลงภายหลังจากสงครามอิรัก เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2003.

การเมืองการปกครอง

บริหาร

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลอิรัก


นิติบัญญัติ

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาแห่งอิรัก

ตุลาการ

ดูบทความหลักที่: กฎหมายอิรัก

การเมืองภายใน

การแบ่งเขตการปกครอง

ประเทศอิรักแบ่งออกเป็น 19 จังหวัด (อาหรับ: muhafazat‎, เคิร์ด: Pârizgah‎)

  1. ดะฮูก
  2. นีนะวา
  3. อาร์บีล
  4. คีร์คูก
  5. ซุไลมานียะห์
  6. ซอลาดีน
  7. อัลอันบาร์
  8. แบกแดด
  9. ดิยาลา
  10. การ์บะลา
  11. บาบิล
  12. วาซิต
  13. นาจาฟ
  14. อัลกอดิซียะห์
  15. ไมซาน
  16. มุซันนา
  17. ซีกอร์
  18. บัสเราะห์
  19. ฮาลับจา

เขตปกครองตนเองเคอร์ดิสถาน (Kurdistan Autonomous Region) ซึ่งได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญ มีพื้นที่รวมบางส่วนของจังหวัดทางเหนือ และปกครองตนเองในเรื่องราชการภายในส่วนใหญ่

นโยบายต่างประเทศ

กองทัพ

ดูบทความหลักที่: กองทัพอิรัก

เศรษฐกิจ

โครงสร้าง

ระบอบเศรษฐกิจของอิรักเป็นแบบ สังคมนิยม รวมอำนาจไว้ที่ศุนย์กลาง นั่นคือรัฐบาลกลางของอิรัก มีระบบรัฐสวัสดิการมีการแจก ข้าว น้ำตาล ยารักษาโรคบางชนิด นม เสื้อผ้า ให้แก่ประชากรของอิรัก เศรษฐกิจของอิรักค่อนข้างถูกกดดันจากประชาคมโลกโดยเฉพาะในช่วงวิกฤติการณ์อ่าวเปอร์เซีย สงครามอิรัก และช่วงเหตุการณ์ 9/11 ทำให้เศรษฐกิจของอิรักบอบช้ำ แต่ยุทธปัจจัยทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอิรักคือ น้ำมัน อิรักเป็นประเทศที่มีน้ำมันไว้ในครอบครองเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากซาอุดีอาระเบีย โดยผลิตได้วันละ 2.58 ล้านบาร์เรลต่อวัน ส่งผลให้อิรักกลายเป็นดินแดนที่น่าสนใจอย่างยิ่งโดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจน้ำมันจากสหรัฐอเมริกาที่มุ่งหวังเข้าไปกอบโกยทรัพยากรล้ำค่าอย่างทองคำดำในอิรัก

โครงสร้างพื้นฐาน

การคมนาคม และ โทรคมนาคม

เส้นทางคมนาคม

โทรคมนาคม

การศึกษา

ดูบทความหลักที่: การศึกษาในประเทศอิรัก

สาธารณสุข

ประชากรศาสตร์

เชื้อชาติ

 
เด็กๆ ชาวเคอร์ดิสในอิรัก

สังคมของอิรักเป็นสังคมหลากหลายชาติพันธุ์ เป็นเหตุมาจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ที่เป็นแหล่งอารยธรรมมาหลายพันปี พลเมืองของอิรักที่นับถือศาสนาอิสลามนั้น ได้แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ มุสลิมชีอะห์(ร้อยละ 65) และ มุสลิมสุหนี่ (ร้อยละ 20) นอกจากนี้ยังมีชาวเคิร์ด อยู่ในบริเวณเคอร์ดิสถาน ชาวเคริ์ดในอิรักมีอยู่ประมาณ 3,700,000 คน นับว่าเป็นคนส่วนน้อยในอิรัก และเนื่องด้วยรูปแบบการปกครองที่ให้สิทธิของชนชาติอาหรับ และผูกขาดอำนาจทางเศรษฐกิจให้กับมุสลิมสุหนี่ ส่งผลให้ กลายเป็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างศาสนา และชาติพันธุ์ในอิรัก ทั้งกับมุสลิมด้วยกันเองคือ สุหนี่และชีอะห์ และ ยังปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวคิร์ดกับรัฐบาลกลางของอิรัก เพื่อเรียกร้องสิทธิและความเท่าเทียมอีกด้วย

ภาษา

ดูบทความหลักที่: ภาษาในประเทศอิรัก

ภาษาทางการของอิรัก คือ ภาษาอาหรับ และส่วนอื่นคือ ภาษาเคิร์ด

เมืองใหญ่

ดูบทความหลักที่: รายชื่อเมืองในประเทศอิรัก

ศาสนา

ดูบทความหลักที่: ภาษาในประเทศอิรัก
 
โบสถ์แห่งหนึ่งในอิรัก

ชาวอิรักส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม 96% แบ่งเป็นนิกาย ชีอะห์ 31.5% กับ ซุนนีย์ 64.5% ลัทธิเหตุผล กับ Yazdânism 2.0% ศาสนาคริสต์ 1.2% ศาสนาอื่นๆ 0.8%

วัฒนธรรม

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมอิรัก

วรรณกรรม

ดูบทความหลักที่: วรรณกรรมของอิรัก

นาฏศิลป์

ดูบทความหลักที่: นาฏศิลป์ของอิรัก

อาหาร

ดูบทความหลักที่: อาหารอิรัก

สื่อสารมวลชน

ดูบทความหลักที่: สื่อสารมวลชนในประเทศอิรัก

วันหยุด

ดูบทความหลักที่: รายชื่อวันสำคัญของอิรัก

กีฬา

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลทีมชาติอิรัก, อิรักในพาราลิมปิก, อิรักในโอลิมปิก และ อิรักในเอเชียนเกมส์

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ cia
  • ประเทศอิรัก จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล
  • ประธานาธิบดีอิรัก
  • คณะรัฐมนตรีอิรัก
ข้อมูลพื้นฐาน

ประเทศอ, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, อาหร, العراق, เค, عێراق, งกฤษ, iraq, หร, อช, อทางการค, สาธารณร, ฐอ, อาหร, جمهورية. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudpraethsxirk xahrb العراق ekhird عێراق xngkvs Iraq hruxchuxthangkarkhux satharnrthxirk xahrb جمهورية العراق ekhird كؤماری عێراق epnpraethsintawnxxkklang mixanaekhtthangthisehnuxcrdpraethsturki thangthistawnxxkcrdpraethsxihran thangthistawnxxkechiyngitcrdpraethskhuewt thangthisitcrdpraethssaxudixaraebiy thangthistawntkechiyngitcrdpraethscxraedn aelathangthistawntkcrdpraethssieriy krungaebkaedd sungepnemuxnghlwng tngxyuinklangpraeths raw 97 khxngprachakrxirk 36 lankhnepnchawmuslim swnihymiechuxsaysunniy chixahaelaekhirdsatharnrthxirkجمهورية العراق xahrb كؤماری عێراق ekhird thngchati traaephndinkhakhwy xahrb الله أكبر xllxhu xkhbr xllxhkhuxphuyingihythisud ephlngchati Mawtinipraethskhxngkha source source track track track track emuxnghlwngaela ihysudaebkaeddphasarachkarphasaxahrbaelaphasaekhirdRecognised regional languagesTurkmenSyriac Neo Aramaic Armenian 1 sasna98 xislam1 khrist1 Otherkarpkkhrxngshphnth rabbrthspha satharnrthrththrrmnuy prathanathibdibrhm sxeliyah naykrthmntrimustafa xl khdhimi SpeakerMohamed al Halbousi Chief JusticeMedhat al Mahmoudsphanitibyytisphaphuaethnrasdridrbexkrach cakckrwrrdixxtotman1 tulakhm ph s 2462 cakshrachxanackr3 tulakhm ph s 2475phunthi rwm437 072 tarangkiolemtr 168 754 tarangiml 58 aehlngna 1 1 prachakr 2557 praman36 004 552 36 khwamhnaaenn82 7 txtarangkiolemtr 214 2 txtarangiml 125 cidiphi xanacsux 2560 praman rwm 660 723 phnlan txhw 17 003cidiphi rakhatlad 2560 praman rwm 192 660 phnlan txhw 4 958cini 2555 29 5taHDI 2562 0 674panklang 123rdskulengindinarxirk IQD ekhtewlaUTC 3 AST vdurxn DST UTC 4khbrthdankhwamuxrhsothrsphth 964odemnbnsud iqpraethsxirkmiaenwchayfngswnaekhbwdkhwamyawid 58 kiolemtrthangehnuxkhxngxawepxresiy aelaxanaekhtkhxngpraethskhrxbkhlumthirablumaemnaemosopetemiy playthangthistawntkechiyngehnuxkhxngethuxkekhasakrxs aelathaelthraysieriyswntawnxxk sxngaemnahlk aemnaithkrisaelayuefrtis ihllngitphanicklangpraethsaelaihllngsuchttulxarxbiklxawepxresiy aemnaehlanithaihpraethsxirkmidinaednxudmsmburnmakmayphumiphakhrahwangaemnaithkrisaelayuefrtismkerykwa emosopetemiy aelakhadwaepnbxekidkhxngkarekhiynaelaxarythrrmekaaekthisudkhxngolk phunthiniyngepnthitngkhxngxarythrrmthisubthxdtxknmanbaet 6 shswrrskxnkhristkal inaetlachwngkhxngprawtisastr xirkepnsunyklangkhxngckrwrrdixkhkhaediy suemeriy xssieriy aelababioleniy nxkcakniyngekhyepnswnhnungkhxngckrwrrdimiediy xakhiemnid ehlelnnistik pharethiy aesssanid ormn rxchidin xumyyah xbbasiyah mxngokl safawid xafchariyahaelaxxtotmn aelaekhyepnxanaekhtinxantisnnibatchatiphayitkarkhwbkhumkhxngxngkvsphrmaednsmyihmkhxngpraethsxirkswnihypkin kh s 1920 odysnnibatchati emuxckrwrrdixxtotmnthukaebngtamsnthisyyaaesfwr praethsxirkthukkahndihxyuinxanackhxngshrachxanackrepnxanaekhtinxantiemosopetemiykhxngxngkvs phramhakstriysthapnakhunin kh s 1921 aelarachxanackrxirkidrbexkrachcakxngkvsin kh s 1932 in kh s 1958 phramhakstriythuklmlangaelamikarsthapnasatharnrthxirk praethsxirkthukkhwbkhumodyphrrkhbaxthsngkhmniymxahrbtngaet kh s 1968 thung 2003 hlngkarbukkhrxngodyshrthxemrikaaelaphnthmitr phrrkhbaxthkhxngsddm husesnthukokhncakxanacaelamikarcdkareluxktngrthsphahlayphrrkhkhun thharshrthxxkcakxirkthnghmdin kh s 2011 aetkarkxkarkaeribxirkyngdaenintxipaelathwikhwamrunaerngkhunemuxnkrbcaksngkhramklangemuxngsieriyihlbaekhapraeths enuxha 1 phumisastr 2 prawtisastr 2 1 yukhobran 2 2 yukhklang 2 3 yukhxanackrxxtotman 2 4 rthinxanti aela rachxanackr 2 5 satharnrth aela phrrkhbaxth 2 6 shrthxemrikaekhayud 3 karemuxngkarpkkhrxng 3 1 brihar 3 2 nitibyyti 3 3 tulakar 3 4 karemuxngphayin 4 karaebngekhtkarpkkhrxng 5 noybaytangpraeths 6 kxngthph 7 esrsthkic 7 1 okhrngsrang 8 okhrngsrangphunthan 8 1 karkhmnakhm aela othrkhmnakhm 8 1 1 esnthangkhmnakhm 8 1 2 othrkhmnakhm 8 2 karsuksa 8 3 satharnsukh 9 prachakrsastr 9 1 echuxchati 9 2 phasa 9 3 emuxngihy 9 4 sasna 10 wthnthrrm 10 1 wrrnkrrm 10 2 natsilp 10 3 xahar 10 4 suxsarmwlchn 10 5 wnhyud 10 6 kila 11 xangxing 12 aehlngkhxmulxunphumisastr aekikh aephnthipraethsxirk xirkmiphunthithnghmd 437 072 tarangkiolemtr thistawnxxktidkb xihran thisehnux tidkbturki thisittidkbkhuewt thistawntktidkb sieriy aelacxraedn sphaphthangphumisastrkhxngxirk epnthaelthrayrxxirkyla 40 thirabsung yakaetkarthakarekstrthaihxirktxngnaekhasinkhaphakhkarekstrechn khawsali khawcaw thyphuch aetxyangirkdi xirkkmiaemnaihlphan 2 say khux ithrkis yuefrtis thaihyngphxmikhwamxudmsmburnxyubangprawtisastr aekikhdubthkhwamhlkthi prawtisastrxirk yukhobran aekikh dubthkhwamhlkthi prawtisastremosopetemiy swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhklang aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhxanackrxxtotman aekikh dubthkhwamhlkthi xxtotmanxirk aela rachwngsmmlukaehngxirk swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid s kh s khristmaskh s 1917 khxngkxngkalngbritichemosopetemiy ph s 2281 tkxyuitxanackrxxtotmanrthinxanti aela rachxanackr aekikh dubthkhwamhlkthi rthxarkkhaemosopetemiy aela rachxanackrxirk swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidhlngcaksngkhramolkkhrngthi1 yutilngxanackrxxtotmnthiekhyepnmhaxanacintawnxxkklangtkepnphuaephsngkhram dinaedntangthixxtotmnpkkhrxngkthukaebngaeykxxkepnrthtang xirkepnhnunginrththithukaebngaeykxxkmaodyxngkvsthisamarthyudkhrxngxirkcakxxtotmnidinrahwangsngkhramolkkhrngthi1xngkvsidekhamapkkhrxngxirk inthanarthxarkkhatngaetpi kh s 1920 cnkrathnginpi kh s 1932 xngkvsidihexkrachaekxirkodymirachwngshchimtpkkhrxngpraethsxirk satharnrth aela phrrkhbaxth aekikh dubthkhwamhlkthi satharnrthxirk kh s 1958 68 aela satharnrthxirk phrrkhbaxth swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidph s 2511 erimtnkarpkkhrxngodyphrrkhbath odymiprathanathibdi Ahmad Masan Al Bakr aelarxngprathanathibdi sddm husesn Saddam Hussein ph s 2522 sddm husesn khundarngtaaehnngprathanathibdi ph s 2523 2531 sngkhramrahwangxirk xihran sngkhramxawkhrngthi 1 ph s 2533 ekhayudkhrxngkhuewt sngkhramxawkhrngthi 2 ph s 2533 thukkhwabatrthangesrsthkicodyshprachachatishrthxemrikaekhayud aekikh dubthkhwamhlkthi wikvtikarnxirk kh s 2003 aela sngkhramxirk xnusawriykhxngsddm husesn phayinctursfiredas krungaebkaedd idokhnlmlngphayhlngcaksngkhramxirk emuxeduxnemsayn kh s 2003 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkaremuxngkarpkkhrxng aekikhbrihar aekikh dubthkhwamhlkthi rthbalxirk nitibyyti aekikh dubthkhwamhlkthi rthsphaaehngxirk tulakar aekikh dubthkhwamhlkthi kdhmayxirk karemuxngphayin aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkaraebngekhtkarpkkhrxng aekikhpraethsxirkaebngxxkepn 19 cnghwd xahrb muhafazat ekhird Parizgah dahuk ninawa xarbil khirkhuk suilmaniyah sxladin xlxnbar aebkaedd diyala karbala babil wasit nacaf xlkxdisiyah imsan musnna sikxr bseraah halbcaekhtpkkhrxngtnexngekhxrdisthan Kurdistan Autonomous Region sungidrbkarrbrxngodyrththrrmnuy miphunthirwmbangswnkhxngcnghwdthangehnux aelapkkhrxngtnexngineruxngrachkarphayinswnihynoybaytangpraeths aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkxngthph aekikhdubthkhwamhlkthi kxngthphxirkesrsthkic aekikhokhrngsrang aekikh aebkaedd swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidrabxbesrsthkickhxngxirkepnaebb sngkhmniym rwmxanaciwthisunyklang nnkhuxrthbalklangkhxngxirk mirabbrthswsdikarmikaraeck khaw natal yarksaorkhbangchnid nm esuxpha ihaekprachakrkhxngxirk esrsthkickhxngxirkkhxnkhangthukkddncakprachakhmolkodyechphaainchwngwikvtikarnxawepxresiy sngkhramxirk aelachwngehtukarn 9 11 thaihesrsthkickhxngxirkbxbcha aetyuththpccythangesrsthkicthisakhykhxngxirkkhux namn xirkepnpraethsthiminamniwinkhrxbkhrxngepnxndb 2 khxngolkrxngcaksaxudixaraebiy odyphlitidwnla 2 58 lanbarerltxwn sngphlihxirkklayepndinaednthinasnicxyangyingodyechphaaklumthurkicnamncakshrthxemrikathimunghwngekhaipkxbokythrphyakrlakhaxyangthxngkhadainxirkokhrngsrangphunthan aekikhkarkhmnakhm aela othrkhmnakhm aekikh esnthangkhmnakhm aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidothrkhmnakhm aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarsuksa aekikh dubthkhwamhlkthi karsuksainpraethsxirk swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsatharnsukh aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidprachakrsastr aekikhechuxchati aekikh edk chawekhxrdisinxirk sngkhmkhxngxirkepnsngkhmhlakhlaychatiphnthu epnehtumacakphthnakarthangprawtisastrthiepnaehlngxarythrrmmahlayphnpi phlemuxngkhxngxirkthinbthuxsasnaxislamnn idaebngepn 2 klumihy khux muslimchixah rxyla 65 aela muslimsuhni rxyla 20 nxkcakniyngmichawekhird xyuinbriewnekhxrdisthan chawekhridinxirkmixyupraman 3 700 000 khn nbwaepnkhnswnnxyinxirk aelaenuxngdwyrupaebbkarpkkhrxngthiihsiththikhxngchnchatixahrb aelaphukkhadxanacthangesrsthkicihkbmuslimsuhni sngphlih klayepnpyhakhwamkhdaeyngrahwangsasna aelachatiphnthuinxirk thngkbmuslimdwyknexngkhux suhniaelachixah aela yngpyhakhwamkhdaeyngrahwangchawkhirdkbrthbalklangkhxngxirk ephuxeriykrxngsiththiaelakhwamethaethiymxikdwy phasa aekikh dubthkhwamhlkthi phasainpraethsxirk phasathangkarkhxngxirk khux phasaxahrb aelaswnxunkhux phasaekhird emuxngihy aekikh dubthkhwamhlkthi raychuxemuxnginpraethsxirk sasna aekikh dubthkhwamhlkthi phasainpraethsxirk obsthaehnghnunginxirk chawxirkswnihynbthuxsasnaxislam 96 aebngepnnikay chixah 31 5 kb sunniy 64 5 lththiehtuphl kb Yazdanism 2 0 sasnakhrist 1 2 sasnaxun 0 8 wthnthrrm aekikhdubthkhwamhlkthi wthnthrrmxirk wrrnkrrm aekikh dubthkhwamhlkthi wrrnkrrmkhxngxirk natsilp aekikh dubthkhwamhlkthi natsilpkhxngxirk xahar aekikh dubthkhwamhlkthi xaharxirk suxsarmwlchn aekikh dubthkhwamhlkthi suxsarmwlchninpraethsxirk wnhyud aekikh dubthkhwamhlkthi raychuxwnsakhykhxngxirk kila aekikh dubthkhwamhlkthi futbxlthimchatixirk xirkinpharalimpik xirkinoxlimpik aela xirkinexechiynekmsxangxing aekikh xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux cia praethsxirk cakewbistkrathrwngtangpraethsaehlngkhxmulxun aekikhkhnhaekiywkb Iraq ephimthiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy bthniyam cakwikiphcnanukrm sux cakkhxmmxns thrphyakrkareriyn cakwikiwithyaly xyphcn cakwikikhakhm khxkhwamtnchbb cakwikisxrs tara cakwikitararthbalprathanathibdixirk khnarthmntrixirkkhxmulphunthanIraq entry at The World Factbook aemaebb GovPubs praethsxirk thiewbist Curlie Iraq profile from the BBC News praethsxirk khxmulkarthxngethiywcak wikithxngethiyw Wikimedia Atlas of Iraqekhathungcak https th wikipedia org w index php title praethsxirk amp oldid 9519420, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม