fbpx
วิกิพีเดีย

ก้านสมองส่วนท้าย

ก้านสมองส่วนท้าย หรือ เมดัลลา (อังกฤษ: medulla oblongata, medulla) เป็นโครงสร้างรูปก้านซึ่งอยู่ในก้านสมอง มันอยู่ด้านหน้าและด้านหลังโดยส่วนหนึ่งของสมองน้อย มันอยู่ด้านหน้าของสมองน้อยโดยค่อนข้างต่ำกว่า เนื้อเซลล์ประสาทที่มีรูปกรวยของมันมีหน้าที่ซึ่งไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ (ของระบบประสาทอิสระ) เริ่มตั้งแต่การอาเจียนจนไปถึงการจาม เมดัลลามีศูนย์หัวใจ ศูนย์การหายใจ ศูนย์การอาเจียน (area postrema) และศูนย์ปรับขนาดหลอดเลือด และดังนั้นจึงมีหน้าที่เหนืออำนาจจิตใจเกี่ยวกับการหายใจ อัตราหัวใจเต้น และความดันเลือด

ก้านสมองส่วนท้าย
(Medulla oblongata)
ก้านสมองส่วนท้าย (สีม่วง) เป็นส่วนของก้านสมอง (มีสี)
ภาพตัดขวางของก้านสมองส่วนท้าย ตัดใกล้ ๆ กับตรงกลางของ olivary body
รายละเอียด
ส่วนหนึ่งของก้านสมอง
ตัวระบุ
ภาษาละตินMedulla oblongata, myelencephalon
MeSHD008526
นิวโรเนมส์698
นิวโรเล็กซ์ IDbirnlex_957
TA98A14.1.03.003
TA25983
FMA62004
ศัพท์กายวิภาคศาสตร์ของประสาทกายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

ช่วงพัฒนาการเมื่อเป็นตัวอ่อน เมดัลลาพัฒนามาจาก myelencephalon ซึ่งเป็นถุงเล็ก (vesicle) ถุงที่สองที่เกิดในช่วงพัฒนาการของสมองส่วนท้าย (rhombencephalon, hindbrain)

คำพ้นสมัยว่า bulb หมายถึงเมดัลลา ดังนั้น คำทางการแพทย์ปัจจุบันว่า bulbar เช่น bulbar palsy (อัมพาตก้านสมองส่วนท้าย) จึงยังเป็นคำที่ใช้เมื่อเกี่ยวกับเมดัลลา โดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงอาการ/โรค และยังหมายถึงเส้นประสาท (nerve), ลำเส้นใยประสาท (tract) ที่เชื่อมกับเมดัลลา และกล้ามเนื้อต่าง ๆ ที่เมดัลลาส่งใยประสาทไปถึง เช่น ลิ้น คอหอย และกล่องเสียง

กายวิภาค

 
ภาพเคลื่อนไหวของก้านสมองส่วนท้าย
 
เมดัลลาและส่วนต่าง ๆ (10-16) (10) พีระมิด (11) anterior median fissure (15) ข่ายหลอดเลือดสมอง (choroid plexus) ในโพรงสมองที่สี่ (13) olive (7) พอนส์
 
ภาพเคลื่อนไหวของเมดัลลา มันโผล่ออกจากฟอราเมน แมกนัมที่ฐานกะโหลกศีรษะ แล้วต่อจากนั้นกลายเป็นไขสันหลัง

เมดัลลาสามารถรจัดเป็นสองส่วน คือ

  • ส่วน "เปิด" ด้านบน ที่ผิวด้านบน (dorsal) ของมันอยู่ติดกับโพรงสมองที่สี่
  • ส่วน "ปิด" ด้านล่าง เป็นส่วนที่โพรงสมองที่สี่ได้แคบลง ณ obex ในเมดัลลาส่วนท้าย (caudal)

รอบ ๆ

anterior median fissure เป็นร่องในเมดัลลาที่เป็นรอยพับของเยื่อเพียโดยทอดยาวไปตามเมดัลลาทั้งหมด มันยุติที่ขอบด้านล่างของพอนส์โดยขยายเป็นรูปสามเหลี่ยมเล็กที่เรียกว่า foramen cecum ด้านข้างของร่องนี้เป็นบริเวณสูงขึ้นที่เรียกว่า พิระมิดของเมดัลลา (medullary pyramid) พิระมิดมีลำเส้นใยประสาท pyramidal tract ซึ่งรวม corticospinal tract และ corticobulbar tract ที่ด้านหลัง (caudal) ของเมดัลลา ลำเส้นใยประสาทเหล่านี้ข้ามไขว้ทแยงไปอีกข้างหนึ่งโดยเรียกว่า decussation of the pyramids ซึ่งบังร่องตามที่ว่า ณ จุดนี้ เส้นใยประสาทที่เรียกว่า anterior external arcuate fiber โผล่ขึ้นจากร่องเหนือส่วนไขว้ทแยงนี้แล้วโค้งไปทางด้านข้าง (lateral) ขึ้นไปยังผิวของเมดัลลาเพื่อรวมกับ inferior peduncle/inferior cerebellar peduncle

บริเวณระหว่างร่องหน้าส่วนข้าง (anterolateral sulcus) กับร่องหลังส่วนข้าง (posterolateral sulcus) ซึ่งอยู่ทางส่วนบนของเมดัลลา กำหนดได้ด้วยส่วนพองคู่ที่เรียกว่า olivary bodies (หรือ olives) มันพองเพราะมีนิวเคลียสใหญ่สุดของ olivary bodies คือ inferior olivary nucleus

ด้านหลังของเมดัลลาระหว่างร่องหลังส่วนใน (posterior median sulcus) กับร่องหลังส่วนข้าง (posterolateral sulcus) มีลำเส้นใยประสาทที่เข้าไปในเมดัลลาโดยมาจาก posterior funiculus ของไขสันหลัง มีลำเส้นใยประสาทคือ gracile fasciculus ซึ่งทอดไปตามด้านใน (medial) ต่อจาก midline และ cuneate fasciculus ซึ่งทอดไปตามด้านข้าง (lateral) ต่อจาก midline มัดเส้นใยประสาท (fasciculus) เหล่านี้ไปสุดที่ส่วนนูนเป็นปุ่มซึ่งเรียกว่า gracile tubercle และ cuneate tubercle เป็นปุ่มเนื่องกับเนื้อเทาที่เรียกว่า gracile nucleus และ cuneate nucleus ตัวเซลล์ของนิวเคลียสเหล่านี้เป็น second order neuron ของวิถีประสาท posterior column-medial lemniscus pathway แอกซอนของเซลล์ซึ่งเรียกว่า internal arcuate fibers/fasciculi จะข้ามไขว้ทแยงจากข้างหนึ่งของเมดัลลาไปยังอีกข้างหนึ่งโดยเรียกว่า medial lemniscus

เหนือปุ่มทั้งสองตามที่ว่านี้ ด้านหลังของเมดัลลาเป็นแอ่งรูปสามเหลี่ยม ซึ่งเป็นส่วนล่างของพื้นโพรงสมองที่สี่ ที่ข้างทั้งสองของแอ่งนี้ประกบกับ inferior cerebellar peduncle ซึ่งเชื่อมเมดัลลากับสมองน้อย

ส่วนล่างขอเมดัลลาทางด้านข้าง (lateral) ต่อจาก cuneate fasciculus กำหนดโดยส่วนนูนเป็นแถบยาวที่เรียกว่า tuberculum cinereum รอยนูนเกิดจากเนื้อเทาที่เรียกว่า spinal trigeminal nucleus เนื้อเทาของนิวเคลียสนี้ปกคลุมด้วยชั้นเส้นใยประสาทอันเป็นลำเส้นใยประสาทส่วนไขสันหลัง (spinal tract) ของเส้นประสาทไทรเจมินัล

ฐานของเมดัลลากำหนดด้วยเส้นใยประสาท commissural fibers ซึ่งเป็นใยประสาทที่ข้ามจากไขสันหลังข้างหนึ่งไปยังก้านสมองอีกข้างหนึ่ง ส่วนต่ำจากนี้ลงไปเป็นไขสันหลัง

เส้นเลือด

หลอดเลือดแดงหลายเส้นส่งเลือดไปยังเมดัลลา

  • anterior spinal artery ส่งเลือดไปยังด้านใน (medial) ของเมดัลลาทั้งหมด
  • posterior inferior cerebellar artery เป็นสาขาใหญ่ของ vertebral artery และส่งเลือดไปยังส่วนหลังด้านข้าง (posterolateral) ของเมดัลลา เป็นส่วนที่ลำเส้นใยประสาทรับความรู้สึกหลักวิ่งเข้าไปยุติเป็นไซแนปส์ เส้นเลือดยังส่งเลือดไปยังสมองน้อยเป็นบางส่วนด้วย
  • สาขาอื่น ๆ ของ vertebral artery ส่งเลือดไปยังบริเวณระหว่างหลอดเลือดที่กล่าวมาแล้วทั้งสอง รวมทั้ง solitary nucleus และนิวเคลียสรับความรู้สึกและเส้นใยประสาทรับความรู้สึกอื่น ๆ

พัฒนาการ

เมดัลลาเกิดขึ้นในครรภ์จาก myelencephalon โดยเปลี่ยนสภาพกลายเป็นเมดัลลาอย่างสมบูรณ์ในสัปดาห์ที่ 20 neuroblast จากส่วน alar plate ของ neural tube ในระดับเดียวกันจะเป็นตัวให้เกิดนิวเคลียสรับความรู้สึก (sensory nuclei) ในเมดัลลา neuroblast จากส่วน basal plate (ของ neural tube) จะกลายเป็นนิวเคลียสสั่งการ (motor nuclei) คือ

หน้าที่

เมดัลลาเป็นตัวเชื่อมสมองระดับที่สูงกว่ากับไขสันหลัง ทำหน้าที่ต่าง ๆ ของระบบประสาทอิสระรวมทั้ง

  • การควบคุมการหายใจ (control of ventilation) อาศัยกระแสประสาทที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมีคือ carotid body ซึ่งอยู่ที่หลอดเลือดแดงที่คอและ aortic body ซึ่งอยู่ที่ส่วนโค้งเอออร์ตาเหนือหัวใจ กลุ่มตัวรับรู้สารเคมี (chemoreceptor) เหล่านี้เป็นตัวควบคุมการหายใจ คือพวกมันจะตรวจจับความเป็นกรดในเลือด ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเลือดเป็นกรดเกิน เมดัลลาจะได้รับข้อมูลจากตัวรับสารเคมีแล้วส่งกระแสประสาทไปยังเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ คือ intercostal muscle ที่ซี่โครงและ phrenical muscle ที่กะบังลมเพื่อเพิ่มอัตราการหดเกร็ง เพิ่มการหายใจ และเพิ่มการเติมออกซิเจนใส่ในเลือด กลุ่มเซลล์ประสาทในเมดัลลาคือ ventral respiratory group และ dorsal respiratory group มีบทบาทในการควบคุมเช่นนี้ กลุ่มอินเตอร์นิวรอน pre-Bötzinger complex ในเมดัลลาก็มีบทบาทในการหายใจด้วยเหมือนกัน
  • ศูนย์หัวใจร่วมหลอดเลือด เป็นส่วนของระบบประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก
  • ศูนย์ปรับขนาดหลอดเลือด - มีตัวรับรับรู้ความดันในหลอดเลือด (baroreceptor) ซึ่งส่งข้อมูลไปยังเมดัลลาส่วน solitary nucleus เพื่อให้ปรับความดันได้
  • ศูนย์รีเฟล็กซ์สำหรับการอาเจียน การไอ การจาม และการกลืน รีเฟล็กซ์เหล่านี้รวมทั้งรีเฟล็กซ์ขย้อน (pharyngeal reflex), รีเฟล็กซ์การกลืน (swallowing reflex) หรือ palatal reflex และรีเฟล็กซ์ขากรรไกร (masseter reflex) จึงสามารถเรียกรีเฟล็กซ์เหล่านี้แต่ละอย่างว่า bulbar reflex

ความสำคัญในการตรวจรักษา

เส้นเลือดอุดตัน (เช่นที่เกิดในโรคหลอดเลือดสมอง) อาจสร้างปัญหาต่อเมดัลลาที่ pyramidal tract, medial lemniscus และ hypoglossal nucleus เป็นเหตุของกลุ่มอาการที่เรียกว่า medial medullary syndrome อาการเช่น

  • เมื่อพยายามแลบลิ้น ลิ้นจะเบี้ยวไปทางข้างสมองที่มีปัญหาเพราะกล้ามเนื้อด้านนั้นอ่อนแรง เป็นปัญหาที่ hypoglossal nerve fiber
  • แขนขาอ่อนแรง (หรืออัมพาตครึ่งซีกโดยขึ้นอยู่กับความรุนแรง) ในร่างกายซีกตรงข้ามกับสมองข้างที่มีปัญหา เป็นปัญหาที่ pyramidal tract
  • การเสียความรู้สึกสัมผัสที่แยกแยะวัตถุได้ (discriminative touch) การรับรู้อากัปกิริยาที่รู้สึกได้ และการรับรู้แรงสั่นในร่างกายซีกตรงข้ามกับสมองด้านที่มีปัญหา เป็นปัญหาที่ medial lemniscus

กลุ่มอาการ lateral medullary syndrome อาจเกิดเพราะการอุดตันของเส้นเลือด posterior inferior cerebellar artery หรือของ vertebral artery อาการรวมทั้งการเสียความรู้สึกเจ็บและอุณหภูมิที่ร่างกายซีกตรงกันข้าม (กับซีกสมองที่บาดเจ็บ) หรือใบหน้าซีกเดียวกัน ส่วนอัมพาตก้านสมองส่วนท้ายแบบลุกลาม (progressive bulbar palsy, PBP) เป็นโรคที่ทำลายประสาทซึ่งส่งไปยังกล้ามเนื้อ bulbar muscle (เช่น ลิ้น คอหอย และกล่องเสียง) อาการที่เป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งปัญหาการเคี้ยว การพูด และการกลืน ส่วน infantile progressive bulbar palsy เป็น PBP ที่เกิดในเด็ก

สัตว์อื่น

ทั้งปลาแลมป์เพรย์ทะเลและแฮ็กฟิชมีเมดัลลาที่พัฒนาขึ้นอย่างเต็มที่ เพราะปลาทั้งสองมีลักษณะคล้ายกับปลาไม่มีขากรรไกรรุ่นต้น ๆ มาก จึงเสนอว่า เมดัลลาได้พัฒนาขึ้นในปลารุ่นต้น ๆ เช่นนี้เมื่อประมาณ 505 ล้านปีก่อน สมมติฐานว่า เมดัลลาเป็นส่วนของสมองสัตว์เลื้อยคลานในยุคต้น ๆ ได้หลักฐานจากขนาดที่ใหญ่โดยเปรียบเทียบในสัตว์เลื้อยคลานยุคปัจจุบันรวมทั้งจระเข้ จระเข้ตีนเป็ด และกิ้งก่ามอนิเตอร์

รูปภาพอื่น ๆ

เชิงอรรถ

  1. ในกายวิภาคศาสตร์ olivary body (พหูพจน์ olivary bodies, olives โดยมาจากคำละตินว่า oliva) เป็นโครงสร้างรูปไข่คู่ที่เด่นภายในก้านสมองส่วนท้ายซึ่งอยู่ทางด้านล่างของก้านสมอง เป็นโครงสร้างที่มี olivary nuclei
  2. myelencephalon หรือ afterbrain เป็นส่วนหลังสุดของสมองส่วนท้ายของตัวอ่อน (embryonic hindbrain) ซึ่งเมดัลลาพัฒนามาจาก
  3. obex (จากคำละตินซึ่งแปลว่า ส่วนกั้น) เป็นจุดในสมองมนุษย์ซึ่งโพรงสมองที่สี่ได้แคบลงเป็น central canal ของไขสันหลัง โดยเกิดที่เมดัลลาส่วนท้าย (caudal medulla) เส้นใยประสาทรับความรู้สึกที่ส่งเข้าไปในสมองจะข้ามไขว้ทแยง (decussate) ณ จุดนี้
  4. medullary pyramid (พิระมิดของเมดัลลา) เป็นโครงสร้างเนื้อขาวเป็นคู่ของก้านสมองส่วนท้ายที่มีเส้นใยประสาทสั่งการของ corticospinal tract และ corticobulbar tract โดยรวมเรียกว่า pyramidal tract ขอบล่างของพิระมิดจะกำหนดด้วยเส้นใยประสาทที่ข้ามไขว้ทแยง (decussate)
  5. ด้านหลังบนของเมดัลลามี inferior cerebellar peduncle ซึ่งเป็นโครงสร้างเป็นเส้นคล้ายเชือกหนาระหว่างโพรงสมองที่สี่ส่วนล่างกับรากของเส้นประสาทคอหอยและกล่องเสียง (9) และเส้นประสาทเวกัส (10) inferior cerebellar peduncle แต่ละอันเชื่อมไขสันหลังพร้อมเมดัลลากับสมองน้อย และประกอบด้วย juxtarestiform body และ restiform body
  6. posterior funiculus ของไขสันหลังอยู่ระหว่าง posterolateral sulcus กับ posterior median sulcus เป็นส่วนที่มี posterior columns (หรือเรียกว่า dorsal columns) ซึ่งเป็นเนื้อขาวที่มี fasciculus gracilis และ fasciculus cuneatus ส่วนแบ่งที่เป็นเซลล์เกลียแยก fasciculus สองส่วนนี้ออกจากกันแล้วกลายเป็นข้างทั้งสองของ posterior intermediate sulcus.
  7. รีเฟล็กซ์ขย้อน (pharyngeal reflex หรือ gag reflex หรือ laryngeal spasm) เป็นการหดเกร็งกล้ามเนื้อด้านหลังของคอโดยรีเฟล็กซ์ ที่เกิดเพราะการถูกเพดานปาก ลิ้นด้านหลัง บริเวณใกล้ ๆ ทอนซิล ลิ้นไก่ และคอด้านหลัง รีเฟล็กซ์นี้บวกกับรีเฟล็กซ์ทางเดินหายใจ/ทางเดินอาหารอื่น ๆ เช่น การกลืน ช่วยป้องกันวัตถุในช่องปากไม่ให้เข้าไปในคอยกเว้นเมื่อกลืน ดังนั้น จึงช่วยไม่ให้ติดคอ
  8. การกลืนเป็นกระบวนการในร่างกายสัตว์หรือมนุษย์ ที่ทำให้วัตถุผ่านปากเข้าไปในคอหอยแล้วเข้าไปในหลอดอาหารในขณะที่ปิดฝากล่องเสียง เป็นเรื่องสำคัญในการกินและการดื่ม เพราะถ้าทำงานล้มเหลว วัตถุ (เช่น อาหาร เครื่องดื่ม หรือยา) ก็จะล่วงเข้าไปในท่อลมแล้วทำให้หายใจไม่ออกหรือสูดเข้าไปในปอด ในมนุษย์ การปิดฝากล่องเสียงชั่วคราวโดยอัตโนมัติจะเกิดอาศัยรีเฟล็กซ์การกลืน (swallowing reflex)
  9. รีเฟล็กซ์ขากรรไกร (jaw jerk reflex หรือ masseter reflex) เป็นรีเฟล็กซ์กล้ามเนื้อยืด (stretch reflex) ที่แพทย์ใช้ตรวจสถานะของเส้นประสาทไทรเจมินัล (5) และช่วยแยกแยะระหว่างปัญหาไขสันหลังระดับคอส่วนบน (upper cervical cord compression) กับรอยโรคที่อยู่เหนือฟอราเมน แมกนัม คือแพทย์จะเคาะขากรรไกรล่างโดยเคาะเป็นมุมลงล่างใต้ปากที่คางเมื่อปากเปิดอยู่เล็กน้อย ร่างกายจะตอบสนองโดยกระตุกกล้ามเนื้อแมสซีเตอร์ให้ขากรรไกรกระตุกกลับขึ้นบน ปกติแล้วรีเฟล็กซ์นี้ตอบสนองน้อยหรือไม่มี แต่คนไข้ที่มีรอยโรคของเซลล์ประสาทสั่งการบน (upper motor neuron lesion) จะมีปฏิกิริยาที่เห็นได้ชัด

อ้างอิง

บทความนี้ได้ข้อมูลสาธารณสมบัติจาก page 767 ของ  Gray's Anatomy ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 20 (ค.ศ. 1918)

  1. "medulla oblongata", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) ก้านสมองส่วนท้าย
  2. "Myelencephalon". Segen's Medical Dictionary. 2011. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-02. สืบค้นเมื่อ 2015-05-05.
  3. Carlson, Neil R (2013). Foundations of Behavioral Neuroscience (9th ed.). Pearson. pp. 70–71. ISBN 978-0205947997.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  4. . University of Wisconsin-Madison, Medical Neuroscience 721. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-03-06.
  5. "Dysphagia Screening: Contributions of Cervical Auscultation Signals and Modern Signal-Processing Techniques". 2015. doi:10.1109/THMS.2015.2408615. Cite journal requires |journal= (help)
  6. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-02-24. สืบค้นเมื่อ 2008-02-17.
  7. Virella, Anthony A. . Virella Neuro Surgery. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-08-30. สืบค้นเมื่อ 2016-03-13.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  8. Hughes, T. (2003). "Neurology of swallowing and oral feeding disorders: Assessment and management". Journal of Neurology, Neurosurgery & Psychiatry. 74 (90003): 48iii. doi:10.1136/jnnp.74.suppl_3.iii48. PMC 1765635. [1]
  9. Nishizawa, H; Kishida, R; Kadota, T; Goris, RC; Kishida, Reiji; Kadota, Tetsuo; Goris, Richard C. (1988). "Somatotopic organization of the primary sensory trigeminal neurons in the hagfish, Eptatretus burgeri". J Comp Neurol. 267 (2): 281–95. doi:10.1002/cne.902670210. PMID 3343402.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  10. Rovainen, CM (1985). "Respiratory bursts at the midline of the rostral medulla of the lamprey". J Comp Physiol A. 157 (3): 303-9. doi:10.1007/BF00618120. PMID 3837091.
  11. Haycock, DE (2011). Being and Perceiving. Manupod Press. ISBN 978-0-9569621-0-2.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ภาพสมองตัดแต่งสีซึ่งรวมส่วน "medulla" at the BrainMaps project

านสมองส, วนท, าย, หร, เมด, ลลา, งกฤษ, medulla, oblongata, medulla, เป, นโครงสร, างร, ปก, านซ, งอย, ในก, านสมอง, นอย, านหน, าและด, านหล, งโดยส, วนหน, งของสมองน, อย, นอย, านหน, าของสมองน, อยโดยค, อนข, างต, ำกว, เน, อเซลล, ประสาทท, ปกรวยของม, นม, หน, าท, งไม, ได,. kansmxngswnthay 1 hrux emdlla xngkvs medulla oblongata medulla epnokhrngsrangrupkansungxyuinkansmxng mnxyudanhnaaeladanhlngodyswnhnungkhxngsmxngnxy mnxyudanhnakhxngsmxngnxyodykhxnkhangtakwa enuxesllprasaththimirupkrwykhxngmnmihnathisungimidxyuitxanaccitic khxngrabbprasathxisra erimtngaetkarxaeciyncnipthungkarcam emdllamisunyhwic sunykarhayic sunykarxaeciyn area postrema aelasunyprbkhnadhlxdeluxd aeladngnncungmihnathiehnuxxanacciticekiywkbkarhayic xtrahwicetn aelakhwamdneluxdkansmxngswnthay Medulla oblongata kansmxngswnthay simwng epnswnkhxngkansmxng misi phaphtdkhwangkhxngkansmxngswnthay tdikl kbtrngklangkhxng olivary body A raylaexiydswnhnungkhxngkansmxngtwrabuphasalatinMedulla oblongata myelencephalonMeSHD008526niworenms698niworelks IDbirnlex 957TA98A14 1 03 003TA25983FMA62004sphthkaywiphakhsastrkhxngprasathkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths chwngphthnakaremuxepntwxxn emdllaphthnamacak myelencephalon B sungepnthungelk vesicle thungthisxngthiekidinchwngphthnakarkhxngsmxngswnthay rhombencephalon hindbrain khaphnsmywa bulb hmaythungemdlla dngnn khathangkaraephthypccubnwa bulbar echn bulbar palsy xmphatkansmxngswnthay cungyngepnkhathiichemuxekiywkbemdlla odyechphaaemuxklawthungxakar orkh aelaynghmaythungesnprasath nerve laesniyprasath tract thiechuxmkbemdlla aelaklamenuxtang thiemdlla sngiyprasathipthung echn lin khxhxy aelaklxngesiyng enuxha 1 kaywiphakh 1 1 rxb 1 2 esneluxd 1 3 phthnakar 2 hnathi 3 khwamsakhyinkartrwcrksa 4 stwxun 5 rupphaphxun 6 echingxrrth 7 xangxing 8 aehlngkhxmulxunkaywiphakh aekikh phaphekhluxnihwkhxngkansmxngswnthay emdllaaelaswntang 10 16 10 phiramid 11 anterior median fissure 15 khayhlxdeluxdsmxng choroid plexus inophrngsmxngthisi 13 olive 7 phxns phaphekhluxnihwkhxngemdlla mnophlxxkcakfxraemn aemknmthithankaohlksirsa aelwtxcaknnklayepnikhsnhlng emdllasamarthrcdepnsxngswn khux swn epid danbn thiphiwdanbn dorsal khxngmnxyutidkbophrngsmxngthisi swn pid danlang epnswnthiophrngsmxngthisiidaekhblng n obex C inemdllaswnthay caudal rxb aekikh anterior median fissure epnrxnginemdllathiepnrxyphbkhxngeyuxephiyodythxdyawiptamemdllathnghmd mnyutithikhxbdanlangkhxngphxnsodykhyayepnrupsamehliymelkthieriykwa foramen cecum dankhangkhxngrxngniepnbriewnsungkhunthieriykwa phiramidkhxngemdlla medullary pyramid D phiramidmilaesniyprasath pyramidal tract sungrwm corticospinal tract aela corticobulbar tract thidanhlng caudal khxngemdlla laesniyprasathehlanikhamikhwthaeyngipxikkhanghnungodyeriykwa decussation of the pyramids sungbngrxngtamthiwa n cudni esniyprasaththieriykwa anterior external arcuate fiber ophlkhuncakrxngehnuxswnikhwthaeyngniaelwokhngipthangdankhang lateral khunipyngphiwkhxngemdllaephuxrwmkb inferior peduncle inferior cerebellar peduncle E briewnrahwangrxnghnaswnkhang anterolateral sulcus kbrxnghlngswnkhang posterolateral sulcus sungxyuthangswnbnkhxngemdlla kahndiddwyswnphxngkhuthieriykwa olivary bodies hrux olives mnphxngephraaminiwekhliysihysudkhxng olivary bodies khux inferior olivary nucleusdanhlngkhxngemdllarahwangrxnghlngswnin posterior median sulcus kbrxnghlngswnkhang posterolateral sulcus milaesniyprasaththiekhaipinemdllaodymacak posterior funiculus F khxngikhsnhlng milaesniyprasathkhux gracile fasciculus sungthxdiptamdanin medial txcak midline aela cuneate fasciculus sungthxdiptamdankhang lateral txcak midline mdesniyprasath fasciculus ehlaniipsudthiswnnunepnpumsungeriykwa gracile tubercle aela cuneate tubercle epnpumenuxngkbenuxethathieriykwa gracile nucleus aela cuneate nucleus twesllkhxngniwekhliysehlaniepn second order neuron khxngwithiprasath posterior column medial lemniscus pathway aexksxnkhxngesllsungeriykwa internal arcuate fibers fasciculi cakhamikhwthaeyngcakkhanghnungkhxngemdllaipyngxikkhanghnungodyeriykwa medial lemniscusehnuxpumthngsxngtamthiwani danhlngkhxngemdllaepnaexngrupsamehliym sungepnswnlangkhxngphunophrngsmxngthisi thikhangthngsxngkhxngaexngniprakbkb inferior cerebellar peduncle E sungechuxmemdllakbsmxngnxyswnlangkhxemdllathangdankhang lateral txcak cuneate fasciculus kahndodyswnnunepnaethbyawthieriykwa tuberculum cinereum rxynunekidcakenuxethathieriykwa spinal trigeminal nucleus enuxethakhxngniwekhliysnipkkhlumdwychnesniyprasathxnepnlaesniyprasathswnikhsnhlng spinal tract khxngesnprasathithrecminlthankhxngemdllakahnddwyesniyprasath commissural fibers sungepniyprasaththikhamcakikhsnhlngkhanghnungipyngkansmxngxikkhanghnung swntacaknilngipepnikhsnhlng esneluxd aekikh hlxdeluxdaednghlayesnsngeluxdipyngemdlla anterior spinal artery sngeluxdipyngdanin medial khxngemdllathnghmd posterior inferior cerebellar artery epnsakhaihykhxng vertebral artery aelasngeluxdipyngswnhlngdankhang posterolateral khxngemdlla epnswnthilaesniyprasathrbkhwamrusukhlkwingekhaipyutiepnisaenps esneluxdyngsngeluxdipyngsmxngnxyepnbangswndwy sakhaxun khxng vertebral artery sngeluxdipyngbriewnrahwanghlxdeluxdthiklawmaaelwthngsxng rwmthng solitary nucleus aelaniwekhliysrbkhwamrusukaelaesniyprasathrbkhwamrusukxun phthnakar aekikh emdllaekidkhuninkhrrphcak myelencephalon B odyepliynsphaphklayepnemdllaxyangsmburninspdahthi 20 3 neuroblast cakswn alar plate khxng neural tube inradbediywkncaepntwihekidniwekhliysrbkhwamrusuk sensory nuclei inemdlla neuroblast cakswn basal plate khxng neural tube caklayepnniwekhliyssngkar motor nuclei khux neuroblast cak alar plate caklayepnniwekhliystang rwmthng solitary nucleus sungepnklumniwekhliysrbkhwamrusuksungidkhxmulekiywkbrscaklinepntn khxmulsarekhmiaelaaerngklcakxwywatang phayinrangkayrwmthnghwicaelapxd spinal trigeminal nucleus sungidiyprasathnaekhakhux general somatic afferent fibers ephuxkarrbrukhwamecbpwd smphs aelaxunhphumicakibhnakhangediywknkhxngrangkay cochlear nuclei aela vestibular nuclei sungidesniyprasathnaekhakhux special somatic afferent fibers ephuxkaridyin aelakarthrngtw inferior olivary nucleus sungsngkraaesprasathtxipyngsmxngnxyephuxkicthang motor coordination aela motor learning dorsal column nuclei sungminiwekhliys gracile nucleus aela cuneate nuclei thiepnesllprasath second order neuron khxngwithiprasath Dorsal column medial lemniscus pathway aelasngkhxmulsmphslaexiydaelakarrbruxakpkiriyaipyngsmxng neuroblast cak basal plate caklayepn hypoglossal nucleus sungmiesniyprasathnaxxkkhux general somatic efferent fiber sungsngkraaesprasathsngkaripyngklamenuxokhrngrang nucleus ambiguus sungepntwesllprasathkhxngiyprasathnaxxkkhux special visceral efferent sungsngkraaesprasathsngkaripyngklamenuxthiswnokhngkhxhxy pharyngeal arch inmnusy dorsal nucleus of vagus nerve aela inferior salivatory nucleus thngsxngmiaexksxnepn general visceral efferent fiber sungsngkraaesprasathsngkaripyngklamenuxeriyb klamenuxhwic aelatxmtang hnathi aekikhemdllaepntwechuxmsmxngradbthisungkwakbikhsnhlng thahnathitang khxngrabbprasathxisrarwmthng karkhwbkhumkarhayic control of ventilation xasykraaesprasaththiidcaktwrbrusarekhmikhux carotid body sungxyuthihlxdeluxdaedngthikhxaela aortic body sungxyuthiswnokhngexxxrtaehnuxhwic klumtwrbrusarekhmi chemoreceptor ehlaniepntwkhwbkhumkarhayic khuxphwkmncatrwccbkhwamepnkrdineluxd yktwxyangechn thaeluxdepnkrdekin emdllacaidrbkhxmulcaktwrbsarekhmiaelwsngkraaesprasathipyngenuxeyuxklamenux khux intercostal muscle thisiokhrngaela phrenical muscle thikabnglmephuxephimxtrakarhdekrng ephimkarhayic aelaephimkaretimxxksiecnisineluxd klumesllprasathinemdllakhux ventral respiratory group aela dorsal respiratory group mibthbathinkarkhwbkhumechnni klumxinetxrniwrxn pre Botzinger complex inemdllakmibthbathinkarhayicdwyehmuxnkn sunyhwicrwmhlxdeluxd epnswnkhxngrabbprasathsimphaethtikaelapharasimphaethtik sunyprbkhnadhlxdeluxd mitwrbrbrukhwamdninhlxdeluxd baroreceptor sungsngkhxmulipyngemdllaswn solitary nucleus ephuxihprbkhwamdnid sunyrieflkssahrbkarxaeciyn karix karcam aelakarklun rieflksehlanirwmthngrieflkskhyxn pharyngeal reflex G rieflkskarklun swallowing reflex H hrux palatal reflex aelarieflkskhakrrikr masseter reflex I cungsamartheriykrieflksehlaniaetlaxyangwa bulbar reflex 8 khwamsakhyinkartrwcrksa aekikhesneluxdxudtn echnthiekidinorkhhlxdeluxdsmxng xacsrangpyhatxemdllathi pyramidal tract medial lemniscus aela hypoglossal nucleus epnehtukhxngklumxakarthieriykwa medial medullary syndrome xakarechn emuxphyayamaelblin lincaebiywipthangkhangsmxngthimipyhaephraaklamenuxdannnxxnaerng epnpyhathi hypoglossal nerve fiber aekhnkhaxxnaerng hruxxmphatkhrungsikodykhunxyukbkhwamrunaerng inrangkaysiktrngkhamkbsmxngkhangthimipyha epnpyhathi pyramidal tract karesiykhwamrusuksmphsthiaeykaeyawtthuid discriminative touch karrbruxakpkiriyathirusukid aelakarrbruaerngsninrangkaysiktrngkhamkbsmxngdanthimipyha epnpyhathi medial lemniscusklumxakar lateral medullary syndrome xacekidephraakarxudtnkhxngesneluxd posterior inferior cerebellar artery hruxkhxng vertebral artery xakarrwmthngkaresiykhwamrusukecbaelaxunhphumithirangkaysiktrngknkham kbsiksmxngthibadecb hruxibhnasikediywkn swnxmphatkansmxngswnthayaebbluklam progressive bulbar palsy PBP epnorkhthithalayprasathsungsngipyngklamenux bulbar muscle echn lin khxhxy aelaklxngesiyng xakarthiepnmakkhuneruxy rwmthngpyhakarekhiyw karphud aelakarklun swn infantile progressive bulbar palsy epn PBP thiekidinedkstwxun aekikhthngplaaelmpephrythaelaelaaehkfichmiemdllathiphthnakhunxyangetmthi 9 10 ephraaplathngsxngmilksnakhlaykbplaimmikhakrrikrruntn mak cungesnxwa emdllaidphthnakhuninplaruntn echnniemuxpraman 505 lanpikxn 11 smmtithanwa emdllaepnswnkhxngsmxngstweluxykhlaninyukhtn idhlkthancakkhnadthiihyodyepriybethiybinstweluxykhlanyukhpccubnrwmthngcraekh craekhtinepd aelakingkamxnietxrrupphaphxun aekikh klibsmxngtang mummxngdanhnaswnlang anteroinferior khxngemdlla aelaphxns thansmxng phngaesdngtaaehnngkhxngthungkhxngehlwiteyuxxaaerknxyd subarachnoid cisternae hlk 3 thung emdlla phaphculthsn swnhlngkhxngemdllaswn epid aesdngophrngsmxngthisi bnsud aelaniwekhliysprasathkhxngesnprasathsmxngthi 12 danin khux medial aelathi 10 dankhang khux lateral aetmsi H amp E LFBechingxrrth aekikh inkaywiphakhsastr olivary body phhuphcn olivary bodies olives odymacakkhalatinwa oliva epnokhrngsrangrupikhkhuthiednphayinkansmxngswnthay sungxyuthangdanlangkhxngkansmxng epnokhrngsrangthimi olivary nuclei 2 0 2 1 myelencephalon hrux afterbrain epnswnhlngsudkhxngsmxngswnthay khxngtwxxn embryonic hindbrain sungemdllaphthnamacak 2 obex cakkhalatinsungaeplwa swnkn epncudinsmxngmnusysungophrngsmxngthisiidaekhblngepn central canal khxngikhsnhlng odyekidthiemdllaswnthay caudal medulla esniyprasathrbkhwamrusukthisngekhaipinsmxngcakhamikhwthaeyng decussate n cudni medullary pyramid phiramidkhxngemdlla epnokhrngsrangenuxkhawepnkhukhxngkansmxngswnthaythimiesniyprasathsngkarkhxng corticospinal tract aela corticobulbar tract odyrwmeriykwa pyramidal tract khxblangkhxngphiramidcakahnddwyesniyprasaththikhamikhwthaeyng decussate 5 0 5 1 danhlngbnkhxngemdllami inferior cerebellar peduncle sungepnokhrngsrangepnesnkhlayechuxkhnarahwangophrngsmxngthisiswnlangkbrakkhxngesnprasathkhxhxyaelaklxngesiyng 9 aelaesnprasathewks 10 inferior cerebellar peduncle aetlaxnechuxmikhsnhlngphrxmemdllakbsmxngnxy aelaprakxbdwy juxtarestiform body aela restiform body posterior funiculus khxngikhsnhlngxyurahwang posterolateral sulcus kb posterior median sulcus epnswnthimi posterior columns hruxeriykwa dorsal columns sungepnenuxkhawthimi fasciculus gracilis aela fasciculus cuneatus swnaebngthiepnesllekliyaeyk fasciculus sxngswnnixxkcakknaelwklayepnkhangthngsxngkhxng posterior intermediate sulcus rieflkskhyxn pharyngeal reflex hrux gag reflex hrux laryngeal spasm epnkarhdekrngklamenuxdanhlngkhxngkhxodyrieflks 4 thiekidephraakarthukephdanpak lindanhlng briewnikl thxnsil linik aelakhxdanhlng rieflksnibwkkbrieflksthangedinhayic thangedinxaharxun echn karklun chwypxngknwtthuinchxngpakimihekhaipinkhxykewnemuxklun dngnn cungchwyimihtidkhx karklunepnkrabwnkarinrangkaystwhruxmnusy thithaihwtthuphanpakekhaipinkhxhxyaelwekhaipinhlxdxaharinkhnathipidfaklxngesiyng epneruxngsakhyinkarkinaelakardum ephraathathanganlmehlw wtthu echn xahar ekhruxngdum hruxya kcalwngekhaipinthxlmaelwthaihhayicimxxkhruxsudekhaipinpxd 5 inmnusy karpidfaklxngesiyngchwkhrawodyxtonmticaekidxasyrieflkskarklun swallowing reflex rieflkskhakrrikr jaw jerk reflex hrux masseter reflex epnrieflksklamenuxyud stretch reflex thiaephthyichtrwcsthanakhxngesnprasathithrecminl 5 aelachwyaeykaeyarahwangpyhaikhsnhlngradbkhxswnbn upper cervical cord compression kbrxyorkhthixyuehnuxfxraemn aemknm 6 7 khuxaephthycaekhaakhakrrikrlangodyekhaaepnmumlnglangitpakthikhangemuxpakepidxyuelknxy rangkaycatxbsnxngodykratukklamenuxaemssietxrihkhakrrikrkratukklbkhunbn pktiaelwrieflksnitxbsnxngnxyhruximmi aetkhnikhthimirxyorkhkhxngesllprasathsngkarbn upper motor neuron lesion camiptikiriyathiehnidchdxangxing aekikhbthkhwamniidkhxmulsatharnsmbticak page 767 khxng Gray s Anatomy chbbphimphkhrngthi 20 kh s 1918 medulla oblongata sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr kansmxngswnthay Myelencephalon Segen s Medical Dictionary 2011 ekb cakaehlngedimemux 2019 06 02 subkhnemux 2015 05 05 Carlson Neil R 2013 Foundations of Behavioral Neuroscience 9th ed Pearson pp 70 71 ISBN 978 0205947997 CS1 maint uses authors parameter link NUCLEUS AMBIGUUS University of Wisconsin Madison Medical Neuroscience 721 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 03 06 Dysphagia Screening Contributions of Cervical Auscultation Signals and Modern Signal Processing Techniques 2015 doi 10 1109 THMS 2015 2408615 Cite journal requires journal help Neurological Examination khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 02 24 subkhnemux 2008 02 17 Virella Anthony A Cervical Spondylosis Virella Neuro Surgery khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 08 30 subkhnemux 2016 03 13 CS1 maint uses authors parameter link Hughes T 2003 Neurology of swallowing and oral feeding disorders Assessment and management Journal of Neurology Neurosurgery amp Psychiatry 74 90003 48iii doi 10 1136 jnnp 74 suppl 3 iii48 PMC 1765635 1 Nishizawa H Kishida R Kadota T Goris RC Kishida Reiji Kadota Tetsuo Goris Richard C 1988 Somatotopic organization of the primary sensory trigeminal neurons in the hagfish Eptatretus burgeri J Comp Neurol 267 2 281 95 doi 10 1002 cne 902670210 PMID 3343402 CS1 maint multiple names authors list link Rovainen CM 1985 Respiratory bursts at the midline of the rostral medulla of the lamprey J Comp Physiol A 157 3 303 9 doi 10 1007 BF00618120 PMID 3837091 Haycock DE 2011 Being and Perceiving Manupod Press ISBN 978 0 9569621 0 2 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb kansmxngswnthayScholia has a profile for kansmxngswnthay Q189033 phaphsmxngtdaetngsisungrwmswn medulla at the BrainMaps projectekhathungcak https th wikipedia org w index php title kansmxngswnthay amp oldid 9526193, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม