fbpx
วิกิพีเดีย

การเห็นภาพซ้อน

การเห็นภาพซ้อน หรือ การเห็นซ้อนสอง (อังกฤษ: Diplopia, double vision) เป็นการเห็นภาพสองภาพของวัตถุเดียวกัน ที่อาจซ้อนกันตามแนวนอน แนวตั้ง แนวเฉียง หรือแนวหมุน และปกติเป็นผลของความพิการของกล้ามเนื้อตา (extraocular muscles, EOMs) คือตาทั้งสองทำงานได้ดีแต่ไม่สามารถหันไปที่เป้าหมายได้อย่างถูกต้อง โดยกล้ามเนื้อตาอาจมีปัญหาทางกายภาพ มีโรคที่แผ่นเชื่อมประสาทสั่งการและกล้ามเนื้อ (neuromuscular junction) มีโรคที่เส้นประสาทสมอง (เส้น 3, 4, และ 6) ที่สั่งการกล้ามเนื้อ และเป็นบางครั้ง มีปัญหาเกี่ยวกับวิถีประสาท supranuclear oculomotor หรือการบริโภคสิ่งที่เป็นพิษ

การเห็นภาพซ้อน
(Diplopia)
ภาพซ้อนที่คนไข้เห็น
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10H53.2
ICD-9368.2
DiseasesDB31225
eMedicineoph/191
MeSHD004172

การเห็นภาพซ้อนอาจเป็นอาการปรากฏแรก ๆ ของโรคทั่วร่างกาย โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและประสาท และอาจทำการทรงตัวของร่างกาย การเคลื่อนไหว และการอ่านหนังสือ ให้พิการ

แบบต่าง ๆ

ขั้นแรกในการวินิจฉัยอาการนี้ บ่อยครั้งก็เพื่อกำจัดประเภทใดประเภทหนึ่งจากสองประเภท (ซึ่งคนไข้อาจมีทั้งสอง) โดยปิดตาทีละข้างเพื่อตรวจดูว่า แต่ละข้างมีอาการอะไรเดี่ยว ๆ บ้าง

เห็นด้วยสองตา

การเห็นภาพซ้อนด้วยสองตาเป็นผลของตาเหล่ คือตาซึ่งไม่มองไปที่เดียวกันไม่ว่าจะเป็นแบบเหล่เข้า (esotropia) หรือเหล่ออก (exotropia) คือ ในขณะที่รอยบุ๋ม (fovea) ของตาข้างหนึ่งจ้องดูที่วัตถุเป้าหมาย รอยบุ๋มอีกข้างหนึ่งกลับเล็งไปที่อื่น ๆ ดังนั้น ภาพจากวัตถุเป้าหมายจึงตกลงที่บริเวณจอตานอกรอยบุ๋ม

สมองจะคำนวณทิศทางของวัตถุ (visual direction) ขึ้นอยู่กับตำแหน่งจอตาที่ภาพตกลงเทียบกับรอยบุ๋ม ภาพที่ตกลงที่รอยบุ๋มจะมองว่าอยู่ข้างหน้าตรง ๆ ในขณะที่ภาพซึ่งตกลงนอกรอยบุ๋มจะมองว่าอยู่ไปทางด้านบน ด้านล่าง ด้านขวา หรือด้านซ้าย ขึ้นอยู่กับบริเวณจอภาพที่ได้รับภาพ ดังนั้น เมื่อตามองไม่ตรง สมองจะเห็นภาพสองภาพของวัตถุเดียว เพราะวัตถุมีภาพตกลงที่บริเวณจอตาที่ไม่ลงรอยและต่างกันของจอตาทั้งสอง แล้วจึงมีผลเป็นการเห็นภาพซ้อน

สหสัมพันธ์ของบริเวณต่าง ๆ โดยเฉพาะในจอตาข้างหนึ่ง กับบริเวณเดียวกันของตาอีกข้างหนึ่ง เรียกว่า ความสอดคล้องกันของจอตา (retinal correspondence) แต่ความสัมพันธ์นี้ก็เป็นเหตุต่ออาการที่เกี่ยวข้องกันคือการเห็นภาพซ้อนด้วยตาทั้งสอง (binocular diplopia) โดยปกติแล้ว เพราะภาพจากรอยบุ๋มจอตาข้างหนึ่งจะสอดคล้องกับของตาอีกข้างหนึ่ง สมองจึงแสดงภาพที่ตกลงที่รอยบุ๋มว่าอยู่ในตำแหน่งเดียวกันในปริภูมิ ดังนั้น เมื่อตามองไม่ตรง วัตถุที่ต่างกัน (ซึ่งจริง ๆ อยู่ในตำแหน่งต่างกัน) จึงสามารถเห็นได้ว่าอยู่ในที่เดียวกัน เป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่า การเห็นสับสน (visual confusion)

ทั่วไปแล้ว สมองจะป้องกันไม่เห็นภาพซ้อน สมองบางครั้งอาจไม่สนใจภาพที่มาจากตาข้างหนึ่ง เป็นกระบวนการที่เรียกว่า suppression (การระงับ) สมรรถภาพในการระงับมักจะพบโดยเฉพาะในวัยเด็กที่สมองยังกำลังพัฒนาอยู่ ดังนั้น เด็กตาเหล่เกือบทั้งหมดจะไม่บ่นถึงการเห็นภาพซ้อน เทียบกับผู้ใหญ่ตาเหล่ที่เกือบทั้งหมดจะรายงานว่ามีอาการ

แม้ความสามารถเช่นนี้ดูเหมือนจะดีกับการปรับตัวให้เข้ากับตาเหล่ในเด็ก แต่จริง ๆ นี่จะกันตาที่มีปัญหาไม่ให้พัฒนาได้อย่างถูกต้องแล้วเป็นผลให้เกิดตามัว ผู้ใหญ่บางคนก็สามารถระงับการเห็นภาพซ้อนได้ด้วย แต่จะไม่เท่ากับเด็กและใช้เวลานานกว่าก่อนจะทำได้ และดังนั้น จึงไม่เสี่ยงต่อความพิการทางการเห็นอย่างถาวรเท่ากับเด็ก

การเห็นภาพซ้อนในบางกรณีจะหายไปเองโดยไม่ต้องรักษา แต่ในกรณีอื่น ๆ เหตุที่ทำให้เห็นภาพซ้อนจะคงอยู่

คนไข้บางคนที่เห็นภาพซ้อน คือไม่เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาโดยไม่ระงับภาพที่มาจากตาอีกข้างหนึ่ง อาจขยับตาแบบกระตุก ๆ ที่ไม่ปกติใกล้จุดที่ตรึงตา (เช่นในคนไข้ Horror fusionis)

เห็นด้วยตาข้างเดียว

การเห็นภาพซ้อนยังสามารถเกิดเมื่อมองด้วยตาข้างเดียว ซึ่งเรียกว่า การเห็นภาพซ้อนด้วยตาข้างเดียว (monocular diplopia) หรือถ้าคนไข้เห็นมากกว่าสองภาพก็อาจเรียกว่า การเห็นภาพหลายภาพด้วยตาข้างเดียว (monocular polyopia) แม้จะมีโอกาสบ้างว่า อาการจะมีเหตุที่ร้ายแรง แต่ก็ยังมีโอกาสน้อยกว่าการเห็นภาพซ้อนด้วยตาสองข้าง การวินิจฉัยแยกแยะของการเห็นภาพหลายภาพรวมทั้งกระจกตารูปกรวย (keratoconus) เลนส์ตาที่ไม่สามารถปรับได้เต็มที่ (subluxation of the lens) ความผิดปกติทางโครงสร้างของตา รอยโรคในเปลือกสมองส่วนการเห็นด้านหน้า หรือโรคอื่น ๆ (non-organic conditions) แต่แบบจำลองนำแสงแบบเลี้ยวเบน (diffraction-based) ก็แสดงว่า ความผิดปกติในการนำแสงต่าง ๆ โดยเฉพาะสายตาเอียง ก็ทำให้เกิดอาการนี้ได้ด้วย

เป็นชั่วคราว

การเห็นภาพซ้อนด้วยสองตาแบบชั่วคราวอาจเกิดเพราะเมาเหล้า หรือเพราะความบาดเจ็บต่อศีรษะเช่นการกระทบกระเทือน ดังนั้น ถ้าการเห็นเป็นภาพซ้อนไม่หายเร็ว คนไข้ควรจะหาจักษุแพทย์ให้เร็วที่สุด การเห็นภาพซ้อนด้วยสองตาแบบชั่วคราวยังอาจเป็นผลข้างเคียงของเบ็นโซไดอาเซพีน หรือสารโอปิออยด์ โดยเฉพาะถ้าใช้ในขนาดเกินกว่าเพื่อรักษา นอกจากนั้น ยังเป็นผลของยากันชักเฟนิโทอิน Zonisamide หรือ Lamotrigine, ยานอนหลับ Zolpidem, ยาระงับความรู้สึกแบบดิสโซซิเอตีฟคีตามีน, และยาแก้ไอ Dextromethorphan การเห็นภาพซ้อนชั่วคราวอาจมีเหตุจากความเหนื่อย กล้ามเนื้อตาล้า หรือตั้งใจทำให้เกิด ถ้าการเห็นภาพซ้อนปรากฏพร้อมกับอาการอื่น ๆ เช่น ความล้า หรือความเจ็บปวดไม่ว่าจะเป็นแบบฉับพลันหรือเรื้อรัง คนไข้ควรจะหาจักษุแพทย์ให้เร็วที่สุด

การตั้งใจทำให้เกิด

คนบางคนสามารถแยกการทำงานของตาออกได้โดยตั้งใจ ไม่ว่าจะโดยมองอะไรที่ใกล้ ๆ (ทำให้ตาเหล่เข้า) หรือโดยปล่อยตาไม่ตรึงตาที่อะไร นอกจากนั้นแล้ว การมองวัตถุที่อยู่หลังอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุหน้าสุดจะเห็นเป็นภาพซ้อน ยกตัวอย่างเช่น เมื่อยกนิ้วขึ้นข้างหน้าขณะที่อ่านข้อความจากจอภาพคอมพิวเตอร์ ในกรณีเหล่านี้ การเห็นภาพซ้อนจึงไม่มีอันตราย และอาจทำให้สนุก การปล่อยตาเช่นนี้ จะทำให้เห็นภาพ 3 มิติอย่างเช่น ออโตสเตอริโอแกรมได้

คนหลายคนที่เห็นปกติสามารถเห็นภาพซ้อนด้วยตาข้างเดียวอย่างตั้งใจได้ เช่นที่ทำในการทดลองแบบไม่ให้ตรึงตาและใช้ภาพเส้นที่มีความเปรียบต่างต่าง ๆ กันมาก

เหตุ

การเห็นภาพซ้อนมีเหตุหลายหลากที่เกี่ยวกับตา การติดเชื้อ ภูมิต้านตนเอง ประสาท และเนื้องอก

การรักษา

วิธีการรักษาการเห็นภาพซ้อนด้วยสองตาจะขึ้นอยู่กับเหตุ แพทย์ก่อนอื่นจะต้องพยายามกำหนดและรักษาเหตุของอาการ การรักษาอาจรวมการฝึกตา การปิดตาด้วยผ้า การใส่แว่นปริซึม และในกรณีที่รุนแรง การผ่าตัด หรือการฉีดโบทูลินั่ม ท็อกซินเพื่อแก้ปัญหากล้ามเนื้อตา

ถ้ารักษาไม่ได้ อาจจะใช้วิธีสุดท้ายเป็นการบังลานสายตาบางส่วนของคนไข้

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Diplopia - (แพทยศาสตร์) การเห็นซ้อนสอง, การเห็นภาพซ้อน. ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (Computer file). 1.1. ราชบัณฑิตยสถาน. 2545. Check date values in: |date= (help)
  2. Barbara Cassin; Melvin L. Rubin (30 September 2011). Dictionary of Eye Terminology (6 ed.). Gainesville, Florida: Triad Publishing. ISBN 978-0937404737.
  3. O'Sullivan, S.B; Schmitz, T.J. (2007). Physical Rehabilitation. Philadelphia, PA: Davis.
  4. Blumenfeld, Hal (2010). Neuroanatomy through Clinical Cases. Sunderland, MA: Sinauer.
  5. Rucker, JC. (2007). "Oculomotor disorders". Semin Neurol. 27 (3): 244–56. doi:10.1055/s-2007-979682. PMID 17577866.
  6. Kernich, C.A. (2006). "Diplopia". The Neurologist. 12 (4): 229–230. doi:10.1097/01.nrl.0000231927.93645.34. PMID 16832242.
  7. Karmel, Miriam (November 2009), "Deciphering Diplopia", EyeNet
  8. Archer, Steven M (MD) (December 2007), "Monocular Diplopia Due To Spherocylindrical Refractive Errors", Trans Am Ophthalmol Soc., 105: 252–271, PMC 2258122, PMID 18427616
  9. "Instructions on how to view stereograms such as magic eye".
  10. Fraunfelder, FW; Fraunfelder, FT (September 2009). "Diplopia and fluoroquinolones". Ophthalmology. 116 (9): 1814–7. doi:10.1016/j.ophtha.2009.06.027. PMID 19643481.
  11. Brady, Christopher J (MD). . Merck Manual. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 29 November 2017. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
  12. Phillips, PH (2007). "Treatment of diplopia". Semin Neurol. 27 (3): 288–98. doi:10.1055/s-2007-979680. PMID 17577869.
  13. Taub, M.B. (2008). "Botulinum toxin represents a new approach to managing diplopia cases that do not resolve". Journal of the American Optometric Association. 79 (4): 174–175. doi:10.1016/j.optm.2008.01.003.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Fraine, L (2012). "Nonsurgical management of diplopia". The American Orthoptic Journal. 62: 13–8. doi:10.3368/aoj.62.1.13. PMID 23002469.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Deciphering Diplopia

การเห, นภาพซ, อน, หร, การเห, นซ, อนสอง, งกฤษ, diplopia, double, vision, เป, นการเห, นภาพสองภาพของว, ตถ, เด, ยวก, อาจซ, อนก, นตามแนวนอน, แนวต, แนวเฉ, ยง, หร, อแนวหม, และปกต, เป, นผลของความพ, การของกล, ามเน, อตา, extraocular, muscles, eoms, อตาท, งสองทำงานได, แต. karehnphaphsxn hrux karehnsxnsxng 1 xngkvs Diplopia double vision epnkarehnphaphsxngphaphkhxngwtthuediywkn thixacsxnkntamaenwnxn aenwtng aenwechiyng hruxaenwhmun 2 aelapktiepnphlkhxngkhwamphikarkhxngklamenuxta extraocular muscles EOMs khuxtathngsxngthanganiddiaetimsamarthhnipthiepahmayidxyangthuktxng 3 odyklamenuxtaxacmipyhathangkayphaph miorkhthiaephnechuxmprasathsngkaraelaklamenux neuromuscular junction miorkhthiesnprasathsmxng esn 3 4 aela 6 thisngkarklamenux aelaepnbangkhrng mipyhaekiywkbwithiprasath supranuclear oculomotor hruxkarbriophkhsingthiepnphis 4 karehnphaphsxn Diplopia phaphsxnthikhnikhehnbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10H53 2ICD 9368 2DiseasesDB31225eMedicineoph 191MeSHD004172karehnphaphsxnxacepnxakarpraktaerk khxngorkhthwrangkay odyechphaathiekiywkbrabbklamenuxaelaprasath 5 aelaxacthakarthrngtwkhxngrangkay karekhluxnihw aelakarxanhnngsux ihphikar 3 6 enuxha 1 aebbtang 1 1 ehndwysxngta 1 2 ehndwytakhangediyw 1 3 epnchwkhraw 1 4 kartngicthaihekid 2 ehtu 3 karrksa 4 duephim 5 echingxrrthaelaxangxing 6 aehlngkhxmulxun 7 aehlngkhxmulxunaebbtang aekikhkhnaerkinkarwinicchyxakarni bxykhrngkephuxkacdpraephthidpraephthhnungcaksxngpraephth sungkhnikhxacmithngsxng odypidtathilakhangephuxtrwcduwa aetlakhangmixakarxairediyw bang 7 ehndwysxngta aekikh karehnphaphsxndwysxngtaepnphlkhxngtaehl khuxtasungimmxngipthiediywknimwacaepnaebbehlekha esotropia hruxehlxxk exotropia khux inkhnathirxybum fovea khxngtakhanghnungcxngduthiwtthuepahmay rxybumxikkhanghnungklbelngipthixun dngnn phaphcakwtthuepahmaycungtklngthibriewncxtanxkrxybumsmxngcakhanwnthisthangkhxngwtthu visual direction khunxyukbtaaehnngcxtathiphaphtklngethiybkbrxybum phaphthitklngthirxybumcamxngwaxyukhanghnatrng inkhnathiphaphsungtklngnxkrxybumcamxngwaxyuipthangdanbn danlang dankhwa hruxdansay khunxyukbbriewncxphaphthiidrbphaph dngnn emuxtamxngimtrng smxngcaehnphaphsxngphaphkhxngwtthuediyw ephraawtthumiphaphtklngthibriewncxtathiimlngrxyaelatangknkhxngcxtathngsxng aelwcungmiphlepnkarehnphaphsxnshsmphnthkhxngbriewntang odyechphaaincxtakhanghnung kbbriewnediywknkhxngtaxikkhanghnung eriykwa khwamsxdkhlxngknkhxngcxta retinal correspondence aetkhwamsmphnthnikepnehtutxxakarthiekiywkhxngknkhuxkarehnphaphsxndwytathngsxng binocular diplopia odypktiaelw ephraaphaphcakrxybumcxtakhanghnungcasxdkhlxngkbkhxngtaxikkhanghnung smxngcungaesdngphaphthitklngthirxybumwaxyuintaaehnngediywkninpriphumi dngnn emuxtamxngimtrng wtthuthitangkn sungcring xyuintaaehnngtangkn cungsamarthehnidwaxyuinthiediywkn epnpraktkarnthieriykwa karehnsbsn visual confusion thwipaelw smxngcapxngknimehnphaphsxn smxngbangkhrngxacimsnicphaphthimacaktakhanghnung epnkrabwnkarthieriykwa suppression karrangb smrrthphaphinkarrangbmkcaphbodyechphaainwyedkthismxngyngkalngphthnaxyu dngnn edktaehlekuxbthnghmdcaimbnthungkarehnphaphsxn ethiybkbphuihytaehlthiekuxbthnghmdcaraynganwamixakaraemkhwamsamarthechnniduehmuxncadikbkarprbtwihekhakbtaehlinedk aetcring nicakntathimipyhaimihphthnaidxyangthuktxngaelwepnphlihekidtamw phuihybangkhnksamarthrangbkarehnphaphsxniddwy aetcaimethakbedkaelaichewlanankwakxncathaid aeladngnn cungimesiyngtxkhwamphikarthangkarehnxyangthawrethakbedkkarehnphaphsxninbangkrnicahayipexngodyimtxngrksa aetinkrnixun ehtuthithaihehnphaphsxncakhngxyukhnikhbangkhnthiehnphaphsxn khuximehnepnphaphediywdwysxngtaodyimrangbphaphthimacaktaxikkhanghnung xackhybtaaebbkratuk thiimpktiiklcudthitrungta echninkhnikh Horror fusionis ehndwytakhangediyw aekikh karehnphaphsxnyngsamarthekidemuxmxngdwytakhangediyw sungeriykwa karehnphaphsxndwytakhangediyw monocular diplopia hruxthakhnikhehnmakkwasxngphaphkxaceriykwa karehnphaphhlayphaphdwytakhangediyw monocular polyopia aemcamioxkasbangwa xakarcamiehtuthirayaerng aetkyngmioxkasnxykwakarehnphaphsxndwytasxngkhang 7 karwinicchyaeykaeyakhxngkarehnphaphhlayphaphrwmthngkracktarupkrwy keratoconus elnstathiimsamarthprbidetmthi subluxation of the lens khwamphidpktithangokhrngsrangkhxngta rxyorkhinepluxksmxngswnkarehndanhna hruxorkhxun non organic conditions aetaebbcalxngnaaesngaebbeliywebn diffraction based kaesdngwa khwamphidpktiinkarnaaesngtang odyechphaasaytaexiyng kthaihekidxakarniiddwy 8 epnchwkhraw aekikh karehnphaphsxndwysxngtaaebbchwkhrawxacekidephraaemaehla hruxephraakhwambadecbtxsirsaechnkarkrathbkraethuxn dngnn thakarehnepnphaphsxnimhayerw khnikhkhwrcahacksuaephthyiherwthisud karehnphaphsxndwysxngtaaebbchwkhrawyngxacepnphlkhangekhiyngkhxngebnosidxaesphin hruxsaroxpixxyd odyechphaathaichinkhnadekinkwaephuxrksa nxkcaknn yngepnphlkhxngyaknchkefniothxin Zonisamide hrux Lamotrigine yanxnhlb Zolpidem yarangbkhwamrusukaebbdisossiextifkhitamin aelayaaekix Dextromethorphan karehnphaphsxnchwkhrawxacmiehtucakkhwamehnuxy klamenuxtala hruxtngicthaihekid thakarehnphaphsxnpraktphrxmkbxakarxun echn khwamla hruxkhwamecbpwdimwacaepnaebbchbphlnhruxeruxrng khnikhkhwrcahacksuaephthyiherwthisud kartngicthaihekid aekikh khnbangkhnsamarthaeykkarthangankhxngtaxxkidodytngic imwacaodymxngxairthiikl thaihtaehlekha hruxodyplxytaimtrungtathixair nxkcaknnaelw karmxngwtthuthixyuhlngxikwtthuhnung wtthuhnasudcaehnepnphaphsxn yktwxyangechn emuxykniwkhunkhanghnakhnathixankhxkhwamcakcxphaphkhxmphiwetxr inkrniehlani karehnphaphsxncungimmixntray aelaxacthaihsnuk karplxytaechnni cathaihehnphaph 3 mitixyangechn xxotsetxrioxaekrmid 9 khnhlaykhnthiehnpktisamarthehnphaphsxndwytakhangediywxyangtngicid echnthithainkarthdlxngaebbimihtrungtaaelaichphaphesnthimikhwamepriybtangtang knmak 8 ehtu aekikhkarehnphaphsxnmiehtuhlayhlakthiekiywkbta kartidechux phumitantnexng prasath aelaenuxngxk fi tasxngkhangmiphlnghkehaesngimethakn Anisometropia obthulisum enuxngxkinsmxng maerng khwamesiyhaythiesnprasathsmxngthi 3 Oculomotor thi 4 Trochlear aelathi 6 Abducens sungkhwbkhumkarekhluxnihwkhxngta txkrack ebahwan khwamema karichyaptichiwna Fluoroquinolone 10 orkhkhxphxktaopn klumxakarkilaelng barer kracktarupkrwy keratoconus orkhilm orkhimekrn orkhplxkprasathesuxmaekhng orkhklamenuxxxnaerngchnidray 11 karichsaroxpixxyd klamenuxinebataxkesb Orbital myositis khwambadecb Trauma Salicylism ophrngxakasxkesb taehl Wernicke s encephalopathykarrksa aekikhwithikarrksakarehnphaphsxndwysxngtacakhunxyukbehtu aephthykxnxuncatxngphyayamkahndaelarksaehtukhxngxakar karrksaxacrwmkarfukta 3 karpidtadwypha 3 karisaewnprisum 12 aelainkrnithirunaerng karphatd 6 hruxkarchidobthulinm thxksinephuxaekpyhaklamenuxta 13 tharksaimid xaccaichwithisudthayepnkarbnglansaytabangswnkhxngkhnikhduephim aekikhtamw karehnepnphaphediywdwysxngta Orthoptics taehlechingxrrthaelaxangxing aekikh Diplopia aephthysastr karehnsxnsxng karehnphaphsxn sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan Computer file 1 1 rachbnthitysthan 2545 Check date values in date help Barbara Cassin Melvin L Rubin 30 September 2011 Dictionary of Eye Terminology 6 ed Gainesville Florida Triad Publishing ISBN 978 0937404737 3 0 3 1 3 2 3 3 O Sullivan S B Schmitz T J 2007 Physical Rehabilitation Philadelphia PA Davis Blumenfeld Hal 2010 Neuroanatomy through Clinical Cases Sunderland MA Sinauer Rucker JC 2007 Oculomotor disorders Semin Neurol 27 3 244 56 doi 10 1055 s 2007 979682 PMID 17577866 6 0 6 1 Kernich C A 2006 Diplopia The Neurologist 12 4 229 230 doi 10 1097 01 nrl 0000231927 93645 34 PMID 16832242 7 0 7 1 Karmel Miriam November 2009 Deciphering Diplopia EyeNet 8 0 8 1 Archer Steven M MD December 2007 Monocular Diplopia Due To Spherocylindrical Refractive Errors Trans Am Ophthalmol Soc 105 252 271 PMC 2258122 PMID 18427616 Instructions on how to view stereograms such as magic eye Fraunfelder FW Fraunfelder FT September 2009 Diplopia and fluoroquinolones Ophthalmology 116 9 1814 7 doi 10 1016 j ophtha 2009 06 027 PMID 19643481 Brady Christopher J MD Diplopia Merck Manual khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 29 November 2017 subkhnemux 15 December 2017 Phillips PH 2007 Treatment of diplopia Semin Neurol 27 3 288 98 doi 10 1055 s 2007 979680 PMID 17577869 Taub M B 2008 Botulinum toxin represents a new approach to managing diplopia cases that do not resolve Journal of the American Optometric Association 79 4 174 175 doi 10 1016 j optm 2008 01 003 aehlngkhxmulxun aekikhFraine L 2012 Nonsurgical management of diplopia The American Orthoptic Journal 62 13 8 doi 10 3368 aoj 62 1 13 PMID 23002469 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb karehnphaphsxnDeciphering Diplopiaekhathungcak https th wikipedia org w index php title karehnphaphsxn amp oldid 8592179, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม