fbpx
วิกิพีเดีย

แรงยกตัว

แรงยกตัว (อังกฤษ: capillarity) เกิดจากส่วนของผิวของ ของเหลว ที่สัมผัสกับ ของแข็ง ซึ่งอาจทำให้เกิดแรงยกตัวขึ้นข้างบน (เช่น น้ำ) หรือแรงกดลงล่าง (เช่น ปรอท) ต่อผิวหน้าของของเหลว เช่นนี้เป็นลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมใน หลอดแคปิลลารี่ (capillary tube) ที่วางตั้งฉากกับผิวของของเหลว แรงที่กระทำภายในหลอดแคปิลลารี่ คือ โคฮีชัน, แอดฮีชัน (adhesion) และ แรงตึงผิว (surface tension)

สมการ

 
ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างที่เกิดขึ้นจากแรงยกตัวและแรงกดตัวในน้ำและปรอท

สมการเพื่อคำนวณหาความสูง, h ของของเหลวในหลอดในหน่วย (เมตร) คือ

 

โดย:

สำหรับน้ำในหลอดแก้วที่เปิดสู่อากาศระดับน้ำทะเลนั้น,

  is 0.0728 J/m² at 20 °C
θ เท่ากับ 20° (0.35 rad)
ρ เท่ากับ 1000 kg/m3
g เท่ากับ 9.8 m/s²

ดังนั้น ความสูงของน้ำจะคำนวณได้จาก:

 .

ดังนั้น สำหรับหลอดแก้วเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร (รัศมี 1 เมตร) น้ำจะยกตัวประมาณ 0.014 มิลลิเมตร แต่สำหรับหลอดแก้วเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร (รัศมี 0.01 เมตร) น้ำจะยกตัวประมาณ 1.4 มิลลิเมตร และสำหรับหลอดแก้วเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 มิลลิเมตร (รัสมี 0.0001 เมตร) น้ำจะยกตัวประมาณ 140 มิลลิเมตร

อ้างอิง

  1. G.K. Batchelor, 'An Introduction To Fluid Dynamics', Cambridge University Press (1967) ISBN 0-521-66396-2

แหล่งข้อมูลอื่น

แรงยกต, งกฤษ, capillarity, เก, ดจากส, วนของผ, วของ, ของเหลว, มผ, สก, ของแข, งอาจทำให, เก, ดข, นข, างบน, เช, หร, อแรงกดลงล, าง, เช, ปรอท, อผ, วหน, าของของเหลว, เช, นน, เป, นล, กษณะเฉพาะของพฤต, กรรมใน, หลอดแคป, ลลาร, capillary, tube, วางต, งฉากก, บผ, วของของเหลว. aerngyktw xngkvs capillarity ekidcakswnkhxngphiwkhxng khxngehlw thismphskb khxngaekhng sungxacthaihekidaerngyktwkhunkhangbn echn na hruxaerngkdlnglang echn prxth txphiwhnakhxngkhxngehlw echnniepnlksnaechphaakhxngphvtikrrmin hlxdaekhpillari capillary tube thiwangtngchakkbphiwkhxngkhxngehlw aerngthikrathaphayinhlxdaekhpillari khux okhhichn aexdhichn adhesion aela aerngtungphiw surface tension smkar aekikh phaphniaesdngihehnthungkhwamaetktangthiekidkhuncakaerngyktwaelaaerngkdtwinnaaelaprxth smkarephuxkhanwnhakhwamsung h khxngkhxngehlwinhlxdinhnwy emtr khux 1 h 2 g cos 8 r g r displaystyle h 2 gamma cos theta over rho gr dd ody g displaystyle scriptstyle gamma khux aerngtungphiwrahwangna xakas J m or N m 8 khux mumsmphs r khux khwamhnaaenn khxngkhxngehlw kg m3 g khux khwamerng xnenuxngmacak khwamonmthwng m s r khux rsmi khxnghlxd m sahrbnainhlxdaekwthiepidsuxakas n radbnathaelnn g displaystyle scriptstyle gamma is 0 0728 J m at 20 C 8 ethakb 20 0 35 rad r ethakb 1000 kg m3 g ethakb 9 8 m s dngnn khwamsungkhxngnacakhanwnidcak h 1 4 10 5 m 2 r displaystyle h approx 1 4 times 10 5 mbox m 2 over r dngnn sahrbhlxdaekwesnphansunyklang 2 emtr rsmi 1 emtr nacayktwpraman 0 014 milliemtr aetsahrbhlxdaekwesnphansunyklang 2 esntiemtr rsmi 0 01 emtr nacayktwpraman 1 4 milliemtr aelasahrbhlxdaekwesnphansunyklang 2 milliemtr rsmi 0 0001 emtr nacayktwpraman 140 milliemtrxangxing aekikh G K Batchelor An Introduction To Fluid Dynamics Cambridge University Press 1967 ISBN 0 521 66396 2aehlngkhxmulxun aekikhkhxmulaerngyktw cakmhawithyalyixoxwasett bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title aerngyktw amp oldid 6136788, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม