fbpx
วิกิพีเดีย

ความโน้มถ่วง

ความโน้มถ่วง (อังกฤษ: gravity) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งทำให้วัตถุกายภาพทั้งหมดดึงดูดเข้าหากัน ความโน้มถ่วงทำให้วัตถุกายภาพมีน้ำหนักและทำให้วัตถุตกสู่พื้นเมื่อปล่อย แรงโน้มถ่วงเป็นหนึ่งในสี่แรงหลัก ซึ่งประกอบด้วย แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และ แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม ในจำนวนแรงทั้งสี่แรงหลัก แรงโน้มถ่วงมีค่าน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าแรงโน้มถ่วงจะเป็นแรงที่เราไม่สามารถรับรู้ได้มากนักเพราะความเบาบางของแรงที่กระทำต่อเรา แต่ก็เป็นแรงเดียวที่ยึดเหนี่ยวเราไว้กับพื้นโลก แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง ไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใด ๆ ทำให้แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สำคัญมากในการยึดเหนี่ยวเอกภพไว้ด้วยกัน

ความโน้มถ่วงทำให้ดาวเคราะห์ต่าง ๆ ยังคงหมุนรอบดวงอาทิตย์ ไม่หลุดออกจากวงโคจร (ภาพไม่เป็นไปตามอัตราส่วน)

นอกเหนือจากความโน้มถ่วงที่เกิดระหว่างมวลแล้ว ความโน้มถ่วงยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่เราเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เช่น การเพิ่มหรือลดความเร็วของวัตถุ การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เป็นต้น

ประวัติศาสตร์

กฎความโน้มถ่วงของนิวตัน

 
ความโน้มถ่วงระหว่างวัตถุสองอัน

ในปี พ.ศ. 2230 ไอแซก นิวตัน ได้ค้นพบกฎความโน้มถ่วงดังนี้

 
F แทนความโน้มถ่วงระหว่างมวลทั้งสอง
G แทนค่านิจโน้มถ่วงสากล
m1 แทนมวลของวัตถุแรก
m2 แทนมวลของวัตถุที่สอง
r แทนระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสอง

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

Albert Einstein ได้เผยแพร่ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปในปี พ.ศ. 2459 โดยเนื้อหาแสดงถึงการอธิบายความโน้มถ่วงที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและกฎความโน้มถ่วงของนิวตันในรูปแบบของกาลอวกาศ (อังกฤษ: Spacetime) เชิงเรขาคณิตที่สามารถอธิบายได้ด้วยสมการสนามของAlbert Einstein (อังกฤษ: Einstein field Equation) ดังนี้

 
  แทน ริชชี่เทนเซอร์ความโค้ง (Ricci Tensor Curvature)
  แทนความโค้งเชิงสเกลาร์ (Scalar Curvature)
  แทนเมตริกซ์เทนเซอร์
  แทนค่าคงตัวจักรวาล (Cosmological Constant)
  แทนค่านิจโน้มถ่วงสากล (Gravity Constant)
  แทนความเร็วแสง
  แทนเทนเซอร์ความเค้น-พลังงาน (Stress-Energy Tensor)

หัวข้อเฉพาะ

แรงโน้มถ่วงของโลก

จากกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน ความโน้มถ่วงของโลกที่กระทำกับมวลใด ๆ จะขึ้นอยู่กับระยะทางระหว่างศูนย์กลางมวลของโลกกับศูนย์กลางมวลวัตถุยกกำลังสอง ดังนั้นแรงโน้มถ่วงของโลกบริเวณต่าง ๆ จึงมีค่าไม่เท่ากัน และเนื่องจากโลกมีการหมุนรอบตัวเองมีผลทำให้เกิดแรงหนีศูนย์กลาง แรงหนีศูนย์กลางนี้จะหักล้างกับแรงโน้มถ่วงของโลก แรงหนีศูนย์กลางจะมีค่ามากที่สุดบริเวณเส้นศูนย์สูตร และมีค่าน้อยที่สุดบริเวณขั้วโลก ผลของแรงหนีศูนย์กลางนี้ทำให้แรงโน้มถ่วงของโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตรมีค่าน้อยกว่าแรงโน้มถ่วงของโลกบริเวณขั้วโลกเหนือ นอกจากนั้น โลกก็มิได้เป็นทรงกลมโดยสมบูรณ์ แต่แป้นตรงกลางเล็กน้อยคล้ายผลส้ม ทำให้ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกถึงพื้นผิวโลกแปรผันไปตามละติจูด

สำหรับการคำนวณทางวิศวกรรมโดยทั่วไปความเปลี่ยนแปลงของค่าแรงโน้มถ่วงไม่ถือเป็นนัยสำคัญ จึงสามารถใช้ค่าเฉลี่ยของแรงโน้มถ่วงของโลกได้ โดยกำหนดให้ ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก (g) มีค่าเท่ากับประมาณ 9.81(~10) เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ความโน, มถ, วง, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, gravity, เป, นป. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khwamonmthwng xngkvs gravity epnpraktkarnthrrmchatisungthaihwtthukayphaphthnghmddungdudekhahakn khwamonmthwngthaihwtthukayphaphminahnkaelathaihwtthutksuphunemuxplxy aerngonmthwngepnhnunginsiaernghlk sungprakxbdwy aerngonmthwng aerngaemehlkiffa aerngniwekhliyraebbxxn aela aerngniwekhliyraebbekhm incanwnaerngthngsiaernghlk aerngonmthwngmikhanxythisud thungaemwaaerngonmthwngcaepnaerngthieraimsamarthrbruidmaknkephraakhwamebabangkhxngaerngthikrathatxera aetkepnaerngediywthiyudehniyweraiwkbphunolk aerngonmthwngmikhwamaerngaeprphntrngkbmwl aelaaeprphkphnkbrayathangykkalngsxng immikarldthxnhruxthukdudsbenuxngcakmwlid thaihaerngonmthwngepnaerngthisakhymakinkaryudehniywexkphphiwdwyknkhwamonmthwngthaihdawekhraahtang yngkhnghmunrxbdwngxathity imhludxxkcakwngokhcr phaphimepniptamxtraswn nxkehnuxcakkhwamonmthwngthiekidrahwangmwlaelw khwamonmthwngyngsamarthekidkhunidcakkarthieraepliynsphaphkarekhluxnthitamkdkarekhluxnthikhxngniwtn echn karephimhruxldkhwamerwkhxngwtthu karepliynthisthangkarekhluxnthi epntn enuxha 1 prawtisastr 1 1 kdkhwamonmthwngkhxngniwtn 1 2 thvsdismphththphaphthwip 2 hwkhxechphaa 2 1 aerngonmthwngkhxngolkprawtisastr aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkdkhwamonmthwngkhxngniwtn aekikh khwamonmthwngrahwangwtthusxngxn inpi ph s 2230 ixaesk niwtn idkhnphbkdkhwamonmthwngdngni F G m 1 m 2 r 2 displaystyle F frac Gm 1 m 2 r 2 F aethnkhwamonmthwngrahwangmwlthngsxngG aethnkhaniconmthwngsaklm1 aethnmwlkhxngwtthuaerkm2 aethnmwlkhxngwtthuthisxngr aethnrayahangrahwangwtthuthngsxngthvsdismphththphaphthwip aekikh Albert Einstein idephyaephrthvsdismphththphaphthwipinpi ph s 2459 odyenuxhaaesdngthungkarxthibaykhwamonmthwngthimiphunthanmacakthvsdismphththphaphphiessaelakdkhwamonmthwngkhxngniwtninrupaebbkhxngkalxwkas xngkvs Spacetime echingerkhakhnitthisamarthxthibayiddwysmkarsnamkhxngAlbert Einstein xngkvs Einstein field Equation dngni R m n 1 2 g m n R g m n L 8 p G c 4 T m n displaystyle R mu nu 1 over 2 g mu nu R g mu nu Lambda 8 pi G over c 4 T mu nu R m n displaystyle R mu nu aethn richchiethnesxrkhwamokhng Ricci Tensor Curvature R displaystyle R aethnkhwamokhngechingseklar Scalar Curvature g m n displaystyle g mu nu aethnemtriksethnesxrL displaystyle Lambda aethnkhakhngtwckrwal Cosmological Constant G displaystyle G aethnkhaniconmthwngsakl Gravity Constant c displaystyle c aethnkhwamerwaesngT m n displaystyle T mu nu aethnethnesxrkhwamekhn phlngngan Stress Energy Tensor hwkhxechphaa aekikhaerngonmthwngkhxngolk aekikh cakkdkhwamonmthwngkhxngniwtn khwamonmthwngkhxngolkthikrathakbmwlid cakhunxyukbrayathangrahwangsunyklangmwlkhxngolkkbsunyklangmwlwtthuykkalngsxng dngnnaerngonmthwngkhxngolkbriewntang cungmikhaimethakn aelaenuxngcakolkmikarhmunrxbtwexngmiphlthaihekidaernghnisunyklang aernghnisunyklangnicahklangkbaerngonmthwngkhxngolk aernghnisunyklangcamikhamakthisudbriewnesnsunysutr aelamikhanxythisudbriewnkhwolk phlkhxngaernghnisunyklangnithaihaerngonmthwngkhxngolkbriewnesnsunysutrmikhanxykwaaerngonmthwngkhxngolkbriewnkhwolkehnux nxkcaknn olkkmiidepnthrngklmodysmburn aetaepntrngklangelknxykhlayphlsm thaihrayahangcakcudsunyklangkhxngolkthungphunphiwolkaeprphniptamlaticudsahrbkarkhanwnthangwiswkrrmodythwipkhwamepliynaeplngkhxngkhaaerngonmthwngimthuxepnnysakhy cungsamarthichkhaechliykhxngaerngonmthwngkhxngolkid odykahndih khwamerngenuxngcakkhwamonmthwngkhxngolk g mikhaethakbpraman 9 81 10 emtrtxwinathikalngsxng bthkhwamekiywkbwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy withyasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamonmthwng amp oldid 9055925, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม