fbpx
วิกิพีเดีย

โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์

โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ (อังกฤษ: Metal−organic Frameworks: MOFs) หมายถึง โครงข่ายในระดับโมเลกุลที่เกิดจากการสร้างพันธะระหว่างไอออนของโลหะและสารอินทรีย์จนเกิดเป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ที่เป็นโครงข่าย (framework)ต่อเนื่องไม่สิ้นสุดหรือโครงข่ายอนันต์ (infinite framework)โดยทั่วไปสารอินทรีย์มักจะเป็นสารที่เป็นโมเลกุลแข็งเกร็ง (rigid molecule) เช่น กรด 1,4−เบนซีนไดคาร์บอกซิลิก กรด 1,3,5−เบนซีนไตรคาร์บอกซิลิก 4,4’−ไบพิริดีน เป็นต้น วัสดุโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์มีศักยภาพในการนำไปประยุกต์ใช้ในหลากหลายแนว อาทิ การเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การกักเก็บแก๊ส การคัดเลือกโมเลกุล เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันนักเคมีวัสดุสามารถประยุกต์ใช้วัสดุโครงข่ายโลหะสารอินทรีย์ในระดับอุตสาหกรรมได้แล้ว

รูป 1: โครงสร้างของ MOF-5 ซึ่งเป็นตัวอย่างของโครงข่ายโลหะ—สารอินทรีย์ที่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายและมีการนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทางเลือก


โครงสร้าง

โครงสร้างของโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์จัดเป็นโคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์ (coordination polymers) ที่เกิดจากโลหะอะตอมกลางสร้างพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์กับลิแกนด์ที่มีอะตอมผู้ให้หลายอะตอม ต่อเนื่องกันไป โดยโครงสร้างที่ขยายต่อเนื่องออกไปอาจจะเป็นโครงสร้างที่มี หนึ่งมิติ สองมิติ หรือ สามมิติ

แนวคิดบัพ−ตัวเชื่อม

การอธิบายโครงสร้างของโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์อาจพิจารณาได้จากแนวคิดเรื่อง บัพ (node) และ ตัวเชื่อม (linker) ซึ่งมองว่าไอออนของโลหะเป็นบัพที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยโมเลกุลของสารอินทรีย์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อม ปัจจุบัน ได้เกิดเคมีสาขาใหม่คือ เคมีเรกติคิวลาร์ (reticular chemistry) ที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์โดยพิจารณาการเชื่อมต่อหน่วยสร้าง (structural building units: SBUs) เข้าด้วยกันโดยพันธะที่แข็งแรงอย่างพันธะโคเวเลนต์ เป็นต้น

 
รูป:2 การเกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ระหว่างไอออนของโลหะ M และสารอินทรีย์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อม สามารถทำให้เกิดโครงสร้าง หนึ่งมิติ สองมิติ หรือ สามมิติได้

เคมีโคออร์ดิเนชันของโลหะ

สมบัติทางเคมีโคออร์ดิเนชันของโลหะอะตอมกลางมีอิทธิพลต่อการกำหนดโครงสร้างของโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์เป็นอย่างมาก เช่น Ag+ มีแนวโน้มที่จะเกิดสารประกอบโคออร์ดิเนชันที่มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 2 หรือมีรูปทรงเรขาคณิตเป็นเส้นตรง ทำให้โคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์ที่เกิดจาก Ag+ มีโอกาสเป็นโครงสร้าง 1 มิติสูง ในขณะที่สังกะสี (Zn2+) สามารถเกิดสารประกอบโคออร์ดิเนชันที่มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 6 หรือมีรูปทรงเรขาคณิตเป็นทรงแปดหน้าได้ดี จึงมีแนวโน้มที่จะเกิดโคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์ 2 มิติหรือ 3 มิติได้มากกว่า


โครงสร้างของตัวเชื่อม

สารอินทรีย์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโลหะอะตอมกลางอาจจะเป็นสารกลุ่มกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acids) เอมีน (amines) เป็นต้น ตัวเชื่อมต้องมีอะตอมผู้ให้มากกว่า 1 อะตอม วางตัวในทิศทางที่จะส่งเสริมให้เกิดโครงสร้างที่ขยายออกไป เช่น กรด 1,4−เบนซีนไดคาร์บอกซิลิก กรดมาโลนิก กรดซักซินิก จัดเป็น ไดโทปิกลิแกนด์ (ditopic ligands) ซึ่งอะตอมผู้ให้หรือหมู่คาร์บอกซิเลตทั้งสองวางตัวอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามกัน 180° ในขณะที่ กรด 1,3,5−เบนซีนไตรคาร์บอกซิลิก ซึ่งเป็น ไตรโทปิกลิแกนด์ (tritopic ligands)ที่หมู่คาร์บอกซิเลตวางตัวอยู่ในตำแหน่งที่ทำมุม 120° ทำให้การวางตัวของโลหะอะตอมกลางมีรูปแบบที่แตกต่างกันไป


     


กรด 1,4−เบนซีนไดคาร์บอกซิลิก กรด 1,3,5−เบนซีนไตรคาร์บอกซิลิก กรด 1,3,เบนซีนไดคาร์บอกซิลิก


นอกจากนี้ การใช้ตัวเชื่อมที่มีโมเลกุลแข็งเกร็งจะสามารถทำนายโครงสร้างที่จะได้ง่ายกว่าการใช้ตัวเชื่อมที่มีความยืดหยุ่นมากกว่า

ตัวเชื่อมโดยทั่วไปในโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์

สารอินทรีย์ที่ใช้เป็นตัวเชื่อมในโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์มีหลายชนิด ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ชื่อสามัญ ชื่อ IUPAC สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้าง
กรดไดคาร์บอกซิลิก
กรดออกซาลิก ethanedioic acid HOOC-COOH  
กรดมาโลนิก propanedioic acid HOOC-(CH2)-COOH  
กรดซักซินิก butanedioic acid HOOC-(CH2)2-COOH  
กรดกลูตาริก pentanedioic acid HOOC-(CH2)3-COOH  
กรดพาทาลิก benzene-1,2-dicarboxylic acid
o-phthalic acid
C6H4(COOH)2  
กรดไอโซพาทาลิก benzene-1,3-dicarboxylic acid
m-phthalic acid
C6H4(COOH)2  
กรดเทอเรพทาริก benzene-1,4-dicarboxylic acid
p-phthalic acid
C6H4(COOH)2  
กรดไตรคาร์บอกซิลิก
กรดซิตริก 2-Hydroxy-1,2,3-propanetricarboxylic acid (HOOC)CH2C(OH)(COOH)CH2(COOH)  
กรดไตรเมสิก benzene-1,3,5-tricarboxylic acid C9H6O6  
เอโซล
1,2,3-ไตรเอโซล 1H-1,2,3-triazole C2H3N3  
พีโรไดเอโซล 1H-1,2,4-triazole C2H3N3  


การจัดจำแนก

นักเคมีวัสดุได้จัดจำแนกสารประกอบโคออร์ดิเนชันออกเป็นชนิดต่างๆโดยพิจารณามิติของการเชื่อมต่อสารอินทรีย์และมิติของการเชื่อมต่อสารอนินทรีย์ ดังนี้

จัดจำแนกสารประกอบโคออร์ดิเนชันโดยพิจารณามิติการเชื่อมต่อของสารอินทรีย์และมิติการเชื่อมต่อของสารอนินทรีย์
มิติการเชื่อมต่อของสารอนินทรีย์
มิติการเชื่อมต่อของสารอินทรีย์ 0 1 2 3
0 สารเชิงซ้อนเชิงโมเลกุล(Molecular Complexes) สายโซ่ไฮบริดอนินทรีย์(Hybrid Inorganic Chains) ชั้นไฮบริดอนินทรีย์ (Hybrid Inorganic Layers) สารไฮบริดอนินทรีย์สามมิติ (3-D Inorganic Hybrids)
1 สายโซ่โคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์ (Chain Coordination Polymers) ชั้นผสมอนินทรีย์−อินทรีย์ (Mixed Inorganic-Organic Layers) โครงข่ายสามมิติผสมอนินทรีย์−อินทรีย์ (Mixed Inorganic-Organic 3-D Framework)
2 ชั้นโคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์ (Layered Coordination Polymer) โครงข่ายผสมอนินทรีย์−อินทรีย์สามมิติ (Mixed Inorganic-Organic 3-D Framework)
3 โคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์สามมิติ (3-D Coordination Polymers)


อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมานักเคมีวัสดุไม่มีแนวทางในการเรียกสารประกอบโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ที่ชัดเจน จนกระทั่ง สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ หรือ IUPAC ได้มีโครงการสำหรับการจัดจำแนกและเรียกชื่อสารประกอบกลุ่มนี้ให้เป็นไปในทางเดียวกัน และได้ตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการในปี ค.ศ.2012



การประยุกต์ใช้

ในปัจจุบันมีการศึกษาสมบัติของโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้เป็นตัวกักเก็บแก๊สไฮโดรเจน ตัวกักเก็บแก๊สมีเทน ตัวคัดเลือกโมเลกุล ตัวเร่งปฏิกิริยาที่จำเพาะเจาะจงต่อสเตอริโอเคมี


 
รูป 3: ตัวอย่างของการใช้โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ในการเร่งปฏิกิริยา


ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. U. Ravon, M. E. Domine, C. Gaudillere, A. Desmartin-Chomel and D. Farrusseng, (2008). "MOFs as acid catalysts with shape selectivity properties". New J. Chem. 32: 937. doi:10.1039/B803953B.http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2008/NJ/b803953b
  2. S. Horike, M. Dinca, K. Tamaki and J. R. Long, (2008). "Size-Selective Lewis-Acid Catalysis in a Microporous Metal-Organic Framework with Exposed Mn2+ Coordination Sites". J. Am. Chem. Soc. 130: 5854. doi:10.1021/ja800669j http://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/ja800669j
  3. Jiří Čejka (ed.) "Metal-Organic Frameworks Applications from Catalysis to Gas Storage" Wiley-VCH, Weinheim, 2011. 392 pp. ISBN 978-3-527-32870-3
  4. Czaja, Alexander U.; Trukhan, Natalia; Müller, Ulrich (2009). "Industrial applications of metal-organic frameworks". Chemical Society Reviews 38 (5): 1284–1293. doi:10.1039/b804680h. PMID 19384438. http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2009/CS/b804680h
  5. Cheetham, Rao, and Feller. Structural diversity and chemical trends in hybrid inorganic-organic framework materials. Chem. Comm. 46 (2006) 4780. doi:10.1039/b610264f
  6. 'CP and MOF Project. May 09, 2010. Retrieved on May 09, 2010. http://www.iupac.org/nc/home/projects/project-db/project-details.html?tx_wfqbe_pi1%5bproject_nr%5d=2009-012-2-200
  7. Batten, Stuart R.; Champness, Neil R.; Chen, Xiao-Ming; Garcia-Martinez, Javier; Kitagawa, Susumu; Öhrström, Lars; O'Keeffe, Michael; Suh, Myunghyun P. et al. (2012). "Coordination polymers, metal–organic frameworks and the need for terminology guidelines". CrystEngComm (RSC). doi:10.1039/C2CE06488J. http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2012/CE/c2ce06488j
  8. Furukawa, H; Ko, N; Go, YB; Aratani, N; Choi, SB; Choi, E; ; Snurr, RQ; O'Keeffe, M; Kim, J; Yaghi, OM; "Ultrahigh Porosity in Metal-Organic Frameworks". Science. 2010, 329, pp 424-428. DOI: 10.1126/science.1192160 http://www.sciencemag.org/content/329/5990/424
  9. Mendoza-Cortes JL; Han SS; Furukawa H; Yaghi OM; Goddard, WA; "Adsorption Mechanism and Uptake of Methane in Covalent Organic Frameworks: Theory and Experiment". J. Phys. Chem. A, 2010, 114, pp 10824–10833.DOI: 10.1021/jp1044139 http://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/jp1044139
  10. Uemura, T.; Kitaura, R.; Ohta, Y.; Nagaoka, M.; Kitagawa, S. (2006). "Nanochannel-Promoted Polymerization of Substituted Acetylenes in Porous Coordination Polymers". Angew. Chem. Int. Ed. 45: 4112–4116. doi:10.1002/anie.200600333 http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.200600333/abstract;jsessionid=6AC3931A23525A4680D96B4E64DC8D5E.d03t03
  11. S. T. Wu, Y. R. Wu, Q. Q. Kang, H. Zhang, L. S. Long, Z. P. Zheng, R. B. Huang, L. S. Zheng (2007). "Chiral Symmetry Breaking by Chemically Manipulating Statistical Fluctuation in Crystallization". Angew. Chem. Int. Ed. 46: 8475. doi:10.1002/anie.200703443 http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.200703443/abstract

โครงข, ายโลหะ, สารอ, นทร, งกฤษ, metal, organic, frameworks, mofs, หมายถ, โครงข, ายในระด, บโมเลก, ลท, เก, ดจากการสร, างพ, นธะระหว, างไอออนของโลหะและสารอ, นทร, จนเก, ดเป, นโครงสร, างขนาดใหญ, เป, นโครงข, าย, framework, อเน, องไม, นส, ดหร, อโครงข, ายอน, นต, infini. okhrngkhayolha sarxinthriy xngkvs Metal organic Frameworks MOFs hmaythung okhrngkhayinradbomelkulthiekidcakkarsrangphntharahwangixxxnkhxngolhaaelasarxinthriycnekidepnokhrngsrangkhnadihythiepnokhrngkhay framework txenuxngimsinsudhruxokhrngkhayxnnt infinite framework odythwipsarxinthriymkcaepnsarthiepnomelkulaekhngekrng rigid molecule echn krd 1 4 ebnsinidkharbxksilik krd 1 3 5 ebnsinitrkharbxksilik 4 4 ibphiridin epntn wsduokhrngkhayolha sarxinthriymiskyphaphinkarnaipprayuktichinhlakhlayaenw xathi karepntwerngptikiriya 1 2 karkkekbaeks 3 karkhdeluxkomelkul epntn sungpccubnnkekhmiwsdusamarthprayuktichwsduokhrngkhayolha sarxinthriyinradbxutsahkrrmidaelw 4 rup 1 okhrngsrangkhxng MOF 5 sungepntwxyangkhxngokhrngkhayolha sarxinthriythiepnthiruckxyangaephrhlayaelamikarnaipprayuktichinxutsahkrrmthiekiywkhxngkbphlngnganthangeluxk enuxha 1 okhrngsrang 1 1 aenwkhidbph twechuxm 1 2 ekhmiokhxxrdienchnkhxngolha 1 3 okhrngsrangkhxngtwechuxm 2 twechuxmodythwipinokhrngkhayolha sarxinthriy 3 karcdcaaenk 4 karprayuktich 5 duephim 6 xangxingokhrngsrang aekikhokhrngsrangkhxngokhrngkhayolha sarxinthriycdepnokhxxrdienchnphxliemxr coordination polymers thiekidcakolhaxatxmklangsrangphnthaokhxxrdientokhewelntkbliaekndthimixatxmphuihhlayxatxm txenuxngknip odyokhrngsrangthikhyaytxenuxngxxkipxaccaepnokhrngsrangthimi hnungmiti sxngmiti hrux sammiti aenwkhidbph twechuxm aekikh karxthibayokhrngsrangkhxngokhrngkhayolha sarxinthriyxacphicarnaidcakaenwkhideruxng bph node aela twechuxm linker sungmxngwaixxxnkhxngolhaepnbphthiechuxmtxekhadwyknodyomelkulkhxngsarxinthriythithahnathiepntwechuxm pccubn idekidekhmisakhaihmkhux ekhmierktikhiwlar reticular chemistry thisuksaekiywkbokhrngkhayolha sarxinthriyodyphicarnakarechuxmtxhnwysrang structural building units SBUs ekhadwyknodyphnthathiaekhngaerngxyangphnthaokhewelnt epntn rup 2 karekidphnthaokhxxrdientokhewelntrahwangixxxnkhxngolha M aelasarxinthriythithahnathiepntwechuxm samarththaihekidokhrngsrang hnungmiti sxngmiti hrux sammitiidekhmiokhxxrdienchnkhxngolha aekikh smbtithangekhmiokhxxrdienchnkhxngolhaxatxmklangmixiththiphltxkarkahndokhrngsrangkhxngokhrngkhayolha sarxinthriyepnxyangmak echn Ag miaenwonmthicaekidsarprakxbokhxxrdienchnthimielkhokhxxrdienchnethakb 2 hruxmirupthrngerkhakhnitepnesntrng thaihokhxxrdienchnphxliemxrthiekidcak Ag mioxkasepnokhrngsrang 1 mitisung inkhnathisngkasi Zn2 samarthekidsarprakxbokhxxrdienchnthimielkhokhxxrdienchnethakb 6 hruxmirupthrngerkhakhnitepnthrngaepdhnaiddi cungmiaenwonmthicaekidokhxxrdienchnphxliemxr 2 mitihrux 3 mitiidmakkwa okhrngsrangkhxngtwechuxm aekikh sarxinthriythithahnathiepntwechuxmolhaxatxmklangxaccaepnsarklumkrdkharbxksilik carboxylic acids exmin amines epntn twechuxmtxngmixatxmphuihmakkwa 1 xatxm wangtwinthisthangthicasngesrimihekidokhrngsrangthikhyayxxkip echn krd 1 4 ebnsinidkharbxksilik krdmaolnik krdsksinik cdepn idothpikliaeknd ditopic ligands sungxatxmphuihhruxhmukharbxksieltthngsxngwangtwxyuinthisthangtrngknkhamkn 180 inkhnathi krd 1 3 5 ebnsinitrkharbxksilik sungepn itrothpikliaeknd tritopic ligands thihmukharbxksieltwangtwxyuintaaehnngthithamum 120 thaihkarwangtwkhxngolhaxatxmklangmirupaebbthiaetktangknip krd 1 4 ebnsinidkharbxksilik krd 1 3 5 ebnsinitrkharbxksilik krd 1 3 ebnsinidkharbxksiliknxkcakni karichtwechuxmthimiomelkulaekhngekrngcasamarththanayokhrngsrangthicaidngaykwakarichtwechuxmthimikhwamyudhyunmakkwatwechuxmodythwipinokhrngkhayolha sarxinthriy aekikhsarxinthriythiichepntwechuxminokhrngkhayolha sarxinthriymihlaychnid dngtwxyangtxipni chuxsamy chux IUPAC sutromelkul sutrokhrngsrangkrdidkharbxksilikkrdxxksalik ethanedioic acid HOOC COOH krdmaolnik propanedioic acid HOOC CH2 COOH krdsksinik butanedioic acid HOOC CH2 2 COOH krdklutarik pentanedioic acid HOOC CH2 3 COOH krdphathalik benzene 1 2 dicarboxylic acido phthalic acid C6H4 COOH 2 krdixosphathalik benzene 1 3 dicarboxylic acidm phthalic acid C6H4 COOH 2 krdethxerphtharik benzene 1 4 dicarboxylic acidp phthalic acid C6H4 COOH 2 krditrkharbxksilikkrdsitrik 2 Hydroxy 1 2 3 propanetricarboxylic acid HOOC CH2C OH COOH CH2 COOH krditremsik benzene 1 3 5 tricarboxylic acid C9H6O6 exosl1 2 3 itrexosl 1H 1 2 3 triazole C2H3N3 phioridexosl 1H 1 2 4 triazole C2H3N3 karcdcaaenk aekikhnkekhmiwsduidcdcaaenksarprakxbokhxxrdienchnxxkepnchnidtangodyphicarnamitikhxngkarechuxmtxsarxinthriyaelamitikhxngkarechuxmtxsarxninthriy dngni cdcaaenksarprakxbokhxxrdienchnodyphicarnamitikarechuxmtxkhxngsarxinthriyaelamitikarechuxmtxkhxngsarxninthriy 5 mitikarechuxmtxkhxngsarxninthriymitikarechuxmtxkhxngsarxinthriy 0 1 2 30 sarechingsxnechingomelkul Molecular Complexes sayosihbridxninthriy Hybrid Inorganic Chains chnihbridxninthriy Hybrid Inorganic Layers sarihbridxninthriysammiti 3 D Inorganic Hybrids 1 sayosokhxxrdienchnphxliemxr Chain Coordination Polymers chnphsmxninthriy xinthriy Mixed Inorganic Organic Layers okhrngkhaysammitiphsmxninthriy xinthriy Mixed Inorganic Organic 3 D Framework 2 chnokhxxrdienchnphxliemxr Layered Coordination Polymer okhrngkhayphsmxninthriy xinthriysammiti Mixed Inorganic Organic 3 D Framework 3 okhxxrdienchnphxliemxrsammiti 3 D Coordination Polymers xyangirktam thiphanmankekhmiwsduimmiaenwthanginkareriyksarprakxbokhrngkhayolha sarxinthriythichdecn cnkrathng shphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraeths hrux IUPAC idmiokhrngkarsahrbkarcdcaaenkaelaeriykchuxsarprakxbklumniihepnipinthangediywkn 6 aelaidtiphimphlnginwarsarwichakarinpi kh s 2012 7 karprayuktich aekikhinpccubnmikarsuksasmbtikhxngokhrngkhayolha sarxinthriyxyangaephrhlay odyechphaainpraethsshrthxemrika odyichepntwkkekbaeksihodrecn 8 twkkekbaeksmiethn 9 twkhdeluxkomelkul 10 twerngptikiriyathicaephaaecaacngtxsetxrioxekhmi 11 rup 3 twxyangkhxngkarichokhrngkhayolha sarxinthriyinkarerngptikiriyaduephim aekikhekhmiwsdu sarprakxbokhxxrdienchnxangxing aekikh U Ravon M E Domine C Gaudillere A Desmartin Chomel and D Farrusseng 2008 MOFs as acid catalysts with shape selectivity properties New J Chem 32 937 doi 10 1039 B803953B http pubs rsc org en Content ArticleLanding 2008 NJ b803953b S Horike M Dinca K Tamaki and J R Long 2008 Size Selective Lewis Acid Catalysis in a Microporous Metal Organic Framework with Exposed Mn2 Coordination Sites J Am Chem Soc 130 5854 doi 10 1021 ja800669j http pubs acs org doi abs 10 1021 ja800669j Jiri Cejka ed Metal Organic Frameworks Applications from Catalysis to Gas Storage Wiley VCH Weinheim 2011 392 pp ISBN 978 3 527 32870 3 Czaja Alexander U Trukhan Natalia Muller Ulrich 2009 Industrial applications of metal organic frameworks Chemical Society Reviews 38 5 1284 1293 doi 10 1039 b804680h PMID 19384438 http pubs rsc org en Content ArticleLanding 2009 CS b804680h Cheetham Rao and Feller Structural diversity and chemical trends in hybrid inorganic organic framework materials Chem Comm 46 2006 4780 doi 10 1039 b610264f CP and MOF Project May 09 2010 Retrieved on May 09 2010 http www iupac org nc home projects project db project details html tx wfqbe pi1 5bproject nr 5d 2009 012 2 200 Batten Stuart R Champness Neil R Chen Xiao Ming Garcia Martinez Javier Kitagawa Susumu Ohrstrom Lars O Keeffe Michael Suh Myunghyun P et al 2012 Coordination polymers metal organic frameworks and the need for terminology guidelines CrystEngComm RSC doi 10 1039 C2CE06488J http pubs rsc org en Content ArticleLanding 2012 CE c2ce06488j Furukawa H Ko N Go YB Aratani N Choi SB Choi E Snurr RQ O Keeffe M Kim J Yaghi OM Ultrahigh Porosity in Metal Organic Frameworks Science 2010 329 pp 424 428 DOI 10 1126 science 1192160 http www sciencemag org content 329 5990 424 Mendoza Cortes JL Han SS Furukawa H Yaghi OM Goddard WA Adsorption Mechanism and Uptake of Methane in Covalent Organic Frameworks Theory and Experiment J Phys Chem A 2010 114 pp 10824 10833 DOI 10 1021 jp1044139 http pubs acs org doi abs 10 1021 jp1044139 Uemura T Kitaura R Ohta Y Nagaoka M Kitagawa S 2006 Nanochannel Promoted Polymerization of Substituted Acetylenes in Porous Coordination Polymers Angew Chem Int Ed 45 4112 4116 doi 10 1002 anie 200600333 http onlinelibrary wiley com doi 10 1002 anie 200600333 abstract jsessionid 6AC3931A23525A4680D96B4E64DC8D5E d03t03 S T Wu Y R Wu Q Q Kang H Zhang L S Long Z P Zheng R B Huang L S Zheng 2007 Chiral Symmetry Breaking by Chemically Manipulating Statistical Fluctuation in Crystallization Angew Chem Int Ed 46 8475 doi 10 1002 anie 200703443 http onlinelibrary wiley com doi 10 1002 anie 200703443 abstractekhathungcak https th wikipedia org w index php title okhrngkhayolha sarxinthriy amp oldid 6477099, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม