fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาทิเบต

กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ

ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด

มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ภาษาทิเบตคลาสสิกไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาบัลติไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก

การจัดจำแนก

การแบ่งตามวิธีของ Bradley ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่

  • ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเบตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและภาษาปูริก ไม่มีวรรณยุกต์
  • กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกตื
  • ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง
  • ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล
  • ภาษาทิเบตเหนือ พบทางใต้ของมณฑลชิงไห่
  • ภาษาทิเบตใต้ ได้แก่ภาษาสิกขิม ภาษาซองคา ภาษาเศรปา
  • ภาษาคาม มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลชิงไห่ คามโด เสฉวนและยูนนาน
  • ภาษาอัมโด ไม่มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในชิงไห่ กันซู และเสฉวน

การจัดจำแนกมีความผันแปรมาก บางครั้งรวมสำเนียงคามและอัมโดเข้าด้วยกันเป็นสำเนียงทิเบตตะวันออก (ต่างจากภาษาโบดิชตะวันออก) ภาษาทิเบตที่ใช้ในจีนจัดเป็นภาษาทิเบตมาตรฐาน

ระบบการเขียน

กลุ่มภาษาทิเบตส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรทิเบต แต่ชาวลาดักและชาวบัลติบางส่วนเขียนภาษาของตนด้วยอักษรอาหรับแบบที่ใช้กับภาษาอูรดู ในบัลติสถาน ประเทศปากีสถาน ชาวบัลติเลิกใช้อักษรทิเบตมากว่าร้อยปีซึ่งเป็นอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม อย่างไรก็ตาม ชาวบัลติเริ่มตระหนักถึงอิทธิพลจากวัฒนธรรมภายนอกโดยเฉพาะจากชาวปัญจาบ จึงพยายามฟื้นฟูอักษรทิเบตขึ้นมาใช้ควบคู่กับอักษรอาหรับ

แหล่งข้อมูลอื่น

กล, มภาษาท, เบต, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, tibetan, languages, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir klumphasathiebt Tibetan languages epnklumyxykhxngphasathiimsamarthekhaicknid khxngtrakulphasayxythiebt phma thiphudodychawthiebtthixyuinbriewnexechiyklangtidtxkbexechiyit idaek thirabsungthiebt phakhehnuxkhxngxinediyinbltisthan ladk enpal sikkhim aelaphutan swnihyichinkarekhiynnganthangsasnaodyechphaasasnaphuththdwyehtuphlthangkaremuxng saeniyngkhxngphasathiebtklang rwmthnglasa kham aelaxmodincin thuxepnphasathiebtephiyngphasaediyw inkhnathiphasasxngkha phasasikkhim phasaesrpaaelaphasaladk thuxepnphasaexkethstanghak aemwaphuphudphasadngklawcathuxtnwaepnchawthiebtdwy inthangphasasastr phasasxngkhaaelaphasaesrpamikhwamiklekhiyngkbphasathiebtsaeniynglasamakkwasaeniyngkhamaelaxmodmiphuphudklumphasathiebtthnghmdraw 6 lankhn phasathiebtsaeniynglasamiphuphudpraman 150 000 khnthiepnphuliphyinxinediyaelapraethsxun phasathiebtichphudodychnklumnxyinthiebtthixyuiklekhiyngkbchawthiebtmakwastwrrs aetimsamarthrksaphasaaelawthnthrrmkhxngtniwid chawekwiynginkhamnn rthbalcicdihepnchawthiebt aetphasaekwiyngxikimichklumphasathiebt aemcaxyuintrakulphasayxythiebt phmaphasathiebtkhlassikimichphasathimiwrrryukt aetbangsaeniyng echn thiebtklangaelakham idphthnaesiyngwrrnyuktkhun swnsaeniyngxmodaelaladk aelaphasabltiimmiwrrnyukt lksnakhxngphasathiebtinpccubnepnaebbrupkhatidtxaemwacaimphblksnaniinphasathiebtkhlassikkarcdcaaenk aekikhkaraebngtamwithikhxng Bradley phasainklumni idaek phasaladk hruxphasathiebttawntkobran rwmthngphasabltiaelaphasapurik immiwrrnyukt klumphasathiebtklang miwrrnyuktu phasathiebttawntksmyihm phbinladkaelabriewniklekhiyng phasadbus xu phbin ngari xu cng aelaaenwchayaednthangdanehnuxkhxngenpal phasathiebtehnux phbthangitkhxngmnthlchingih phasathiebtit idaekphasasikkhim phasasxngkha phasaesrpa phasakham miwrrnyukt ichphudinmnthlchingih khamod eschwnaelayunnan phasaxmod immiwrrnyukt ichphudinchingih knsu aelaeschwnkarcdcaaenkmikhwamphnaeprmak bangkhrngrwmsaeniyngkhamaelaxmodekhadwyknepnsaeniyngthiebttawnxxk tangcakphasaobdichtawnxxk phasathiebtthiichincincdepnphasathiebtmatrthanrabbkarekhiyn aekikhklumphasathiebtswnihyekhiyndwyxksrthiebt aetchawladkaelachawbltibangswnekhiynphasakhxngtndwyxksrxahrbaebbthiichkbphasaxurdu inbltisthan praethspakisthan chawbltielikichxksrthiebtmakwarxypisungepnxiththiphlcaksasnaxislam xyangirktam chawbltierimtrahnkthungxiththiphlcakwthnthrrmphaynxkodyechphaacakchawpycab cungphyayamfunfuxksrthiebtkhunmaichkhwbkhukbxksrxahrbaehlngkhxmulxun aekikhThe Tibetan Dialects Project Archived 2009 02 26 thi ewyaebkaemchchin Languages on the Tibetan Plateau and the Himalayas Nicolas Tournadre The Reconstruction of Pre Initials of Proto Tibetan by Hongyuan Dong Tibetan fonts Archived 2008 08 20 thi ewyaebkaemchchin A Bibliography of Tibetan Linguisticsekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasathiebt amp oldid 9558003, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม