fbpx
วิกิพีเดีย

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (อังกฤษ: Spitzer Space Telescope) หรือเดิมชื่อ Space Infrared Telescope Facility (SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด เป็นกล้องอันดับที่สี่และสุดท้ายของโครงการหอดูดาวเอกของนาซา ตั้งชื่อตาม ดร. ไลแมน สปิตเซอร์ จูเนียร์ หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นผู้เสนอให้ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ไว้ในอวกาศเป็นคนแรกตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1940 เพื่อขจัดปัญหาการรบกวนของชั้นบรรยากาศโลก ซึ่งจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนกว่าการตั้งกล้องไว้บนพื้นโลก โดยเขาใช้เวลากว่า 50 ปี จึงสามารถผลักดันแนวคิดนี้ได้สำเร็จ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2003 ด้วยจรวดเดลต้า 2 จากแหลมคานาวารัล มีการตั้งเป้าหมายการใช้งานของกล้องนี้ราว 2-3 ปี

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

วงโคจรของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

สปิตเซอร์มีวงโคจรเป็นแบบ Heliocentric ซึ่งโคจรตามโลกไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ใช้เวลา 1 ปี

ส่วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

ตัวกล้องของสปิตเซอร์เป็นกระจกขนาด 85 เซนติเมตร ความยาวโฟกัส 10.20 เมตร ทำด้วย beryllium และหล่อเย็นด้วยฮีเลียมเหลวให้มีอุณหภูมิอยู่ที่ 5.5 องศาเคลวินตลอดเวลา ตัวกล้องมีน้ำหนักรวม 960 กิโลกรัม ประกอบด้วยเครื่องมือสำคัญ 3 ชิ้นคือ

 
กระจกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
  1. IRAC (Infrared Array Camera) เป็นชุดของ sensor ย่าน Infrared ใน 4 ความยาวคลื่นคือ 3.6 ไมโครเมตร, 4.5 ไมโครเมตร, 5.8 ไมโครเมตร และ 8 ไมโครเมตร ใช้ sensor ขนาด 256 x 256 pixel โดยมีฮีเลี่ยมเหลวหล่อเย็นที่อุณหภูมิ -250 องศา C
  2. IRS (Infrared Spectrograph) เป็นชุดวิเคราะห์ spectrum ย่าน Infrared ความยาวคลื่นระหว่าง 5 - 38 ไมโครเมตร
  3. MIPS (Multiband Imaging Photometer for Spitzer) เป็นชุด sensor Infrared ย่านความยาวคลื่น 24 - 160 ไมโครเมตร

ผลงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

ผลงานชิ้นแรกคือภาพที่ส่งมาเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2546 ภาพที่เด่นที่สุดคือ ดาราจักรรูปเกลียว M 81 ซึ่งอยู่ทางเหนือของกลุ่มดาวหมีใหญ่ ไกลจากโลก 12 ล้านปีแสง แสดงความสามารถของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ในการถ่ายภาพอวกาศที่ถูกปกคลุมด้วยกลุ่มก๊าซที่หนาแน่นซึ่งกล้องโทรทรรศน์แสงไม่สามารถมองเห็นได้ ทำให้เห็นการก่อกำเนิดของดาวฤกษ์และเห็นใจกลางของดาราจักร

เนื่องจาก Spitzer เป็นกล้องที่เน้นสำรวจแหล่งกำเนิดอินฟราเรด ดังนั้น Spitzer จึงมักใช้สำรวจวัตถุอุณหภูมิต่ำเช่น สเปกตรัมของแสงจากวัตถุประเภทดาวเคราะห์ หรือระบบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ตัวอย่างการค้นพบที่สำคัญคือ การค้นพบองค์ประกอบไอน้ำบนดาวเคราะห์ HD 209458 b โดยใช้เครื่องรับรู้อินฟราเรดย่าน 7.5 - 13.2 ไมโครเมตร

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์ทางการของกล้องสปิตเซอร์
  • ประวัติการสำรวจของกล้องสปิตเซอร์

กล, องโทรทรรศน, อวกาศสป, ตเซอร, บทความน, เน, อหาท, นมาก, องการเพ, มเต, มเน, อหาหร, อพ, จารณารวมเข, าก, บบทความอ, นแทน, งกฤษ, spitzer, space, telescope, หร, อเด, มช, space, infrared, telescope, facility, sirtf, เป, นกล, องส, งเกตการณ, อวกาศอ, นฟราเรด, เป, นกล, . bthkhwamnimienuxhathisnmak txngkarephimetimenuxhahruxphicarnarwmekhakbbthkhwamxunaethn klxngothrthrrsnxwkasspitesxr xngkvs Spitzer Space Telescope hruxedimchux Space Infrared Telescope Facility SIRTF epnklxngsngektkarnxwkasxinfraerd epnklxngxndbthisiaelasudthaykhxngokhrngkarhxdudawexkkhxngnasa tngchuxtam dr ilaemn spitesxr cueniyr hnunginnkdarasastrthiyingihykhnhnunginkhriststwrrsthi 20 sungepnphuesnxihtidtngklxngothrthrrsniwinxwkasepnkhnaerktngaetklangkhristthswrrs 1940 ephuxkhcdpyhakarrbkwnkhxngchnbrryakasolk sungcathaihidphaphthichdecnkwakartngklxngiwbnphunolk odyekhaichewlakwa 50 pi cungsamarthphlkdnaenwkhidniidsaerc klxngothrthrrsnxwkasspitesxrkhunsuxwkasemuxwnthi 25 singhakhm kh s 2003 dwycrwdedlta 2 cakaehlmkhanawarl mikartngepahmaykarichngankhxngklxngniraw 2 3 pi klxngothrthrrsnxwkasspitesxr enuxha 1 wngokhcrkhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr 2 swnprakxbkhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr 3 phlngankhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr 4 duephim 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunwngokhcrkhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr aekikhspitesxrmiwngokhcrepnaebb Heliocentric sungokhcrtamolkiprxb dwngxathityichewla 1 piswnprakxbkhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr aekikhtwklxngkhxngspitesxrepnkrackkhnad 85 esntiemtr khwamyawofks 10 20 emtr thadwy beryllium aelahlxeyndwyhieliymehlwihmixunhphumixyuthi 5 5 xngsaekhlwintlxdewla twklxngminahnkrwm 960 kiolkrm prakxbdwyekhruxngmuxsakhy 3 chinkhux krackkhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr IRAC Infrared Array Camera epnchudkhxng sensor yan Infrared in 4 khwamyawkhlunkhux 3 6 imokhremtr 4 5 imokhremtr 5 8 imokhremtr aela 8 imokhremtr ich sensor khnad 256 x 256 pixel odymihieliymehlwhlxeynthixunhphumi 250 xngsa C IRS Infrared Spectrograph epnchudwiekhraah spectrum yan Infrared khwamyawkhlunrahwang 5 38 imokhremtr MIPS Multiband Imaging Photometer for Spitzer epnchud sensor Infrared yankhwamyawkhlun 24 160 imokhremtrphlngankhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxr aekikhphlnganchinaerkkhuxphaphthisngmaemuxwnthi 18 thnwakhm 2546 phaphthiednthisudkhux darackrrupekliyw M 81 sungxyuthangehnuxkhxngklumdawhmiihy iklcakolk 12 lanpiaesng aesdngkhwamsamarthkhxngklxngothrthrrsnxwkasspitesxrinkarthayphaphxwkasthithukpkkhlumdwyklumkasthihnaaennsungklxngothrthrrsnaesngimsamarthmxngehnid thaihehnkarkxkaenidkhxngdawvksaelaehnicklangkhxngdarackrenuxngcak Spitzer epnklxngthiennsarwcaehlngkaenidxinfraerd dngnn Spitzer cungmkichsarwcwtthuxunhphumitaechn sepktrmkhxngaesngcakwtthupraephthdawekhraah hruxrabbdawekhraahnxkrabbsuriya twxyangkarkhnphbthisakhykhux karkhnphbxngkhprakxbixnabndawekhraah HD 209458 b odyichekhruxngrbruxinfraerdyan 7 5 13 2 imokhremtrduephim aekikhklxngothrthrrsnxwkas darasastrxinfraerdxangxing aekikhhttp www darasart com spacetelescope sst html http thaiastro nectec or th news 2003 news2003dec04 htmlaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb Spitzer space telescopeewbistthangkarkhxngklxngspitesxr prawtikarsarwckhxngklxngspitesxr bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title klxngothrthrrsnxwkasspitesxr amp oldid 7413564, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม