fbpx
วิกิพีเดีย

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นตามโครงการพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยบรรจุไว้เป็นโครงการผลิตบัณฑิตทางศึกษาศาสตร์ ในการดำเนินงานมีองค์การยูเนสโก (UNESCO) ส่งผู้เชี่ยวชาญมาช่วยเตรียมการจัดตั้ง และได้ประกาศสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 85 ตอนที่ 69 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ สถานที่ตั้งเดิมของสำนักงานโครงการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ตั้งอยู่ที่วิทยาลัย1 ต่อมาจึงย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบัน

คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่ออังกฤษFaculty of Education,
Chiang Mai University
ที่อยู่ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
วันก่อตั้ง2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511
คณบดีรองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสุดา ศรีสุข
สีประจําคณะ     สีฟ้าอ่อน
เว็บไซต์www.edu.cmu.ac.th

ประวัติ

ประวัติความเป็นมาของคณะศึกษาศาสตร์แบ่งตามช่วงระยะเวลา ดังนี้

ปี พ.ศ. 2508 เป็นช่วงของการทำโครงการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ (Project for Secondary School Teacher Training Chiang Mai University) เพื่อมุ่งเน้นการปรับแนวความคิดและโครงสร้างมหาวิทยาลัย มีการกำหนดจุดประสงค์ของการจัดตั้งคณะโดยดำเนินการขอความร่วมมือด้านผู้เชี่ยวชาญจากองค์การยูเนสโก ได้มีการสำรวจสภาพการศึกษาระดับต่างๆ ในประเทศไทยอย่างกว้างขวาง ตลอดจนการวางแผนการสร้างอาคารเรียน วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ (ตามร่างโครงการ)

ปี พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2514 เป็นช่วงที่มีการสร้างอาคารสถานที่ การพัฒนาหลักสูตร และมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากร การผลิตบัณฑิตที่มุ่งเน้นการตอบสนองความต้องการของสังคม มี 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร 2 ปี และหลักสูตร 4 ปี สำหรับนักศึกษาเต็มเวลาและนักศึกษานอกเวลา โครงสร้างภาควิชาประกอบด้วย 5 ภาควิชา คือ (1) ภาควิชาระเบียบวิธีสอนและหลักสูตร (2) ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา (3) ภาควิชาโสตทัศนศึกษา (4) ภาควิชาวัดผลและระเบียบวิธีวิจัยการศึกษา และ (5) ภาควิชาส่งเสริมการศึกษา ซึ่งหลักสูตรมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514) คือ จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการกำลังคนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ เน้นการผลิตกำลังคนระดับสูงและสนองตอบต่อการขยายตัวของโรงเรียนมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา

ปี พ.ศ. 2515 - พ.ศ. 2519 มีการปรับปรุงจุดมุ่งหมายคณะ และจัดตั้งภาควิชาใหม่ (พ.ศ. 2516) ในขณะเดียวกันสหรัฐอเมริกาได้สนับสนุนรัฐบาลไทยให้จัดตั้งโครงการพัฒนามหาวิทยาลัย ได้มีการส่งอาจารย์ไปศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศด้วยการสนับสนุนจากมูลนิธิรอกกี้เฟลเลอร์ เพื่อสอนระดับปริญญาโทและปริญญาเอกภายในประเทศ ในปี พ.ศ. 2519 เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 7 สาขาวิชา คือ (1) การศึกษาผู้ใหญ่ (2) คหกรรมศิลป์ (3) พลศึกษา (4) สุขศึกษา (5) ประถมศึกษา (6) บริหารการศึกษา และ (7) อุตสาหกรรมศิลป์ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 - 2519) ที่รัฐได้เร่งขยายการศึกษาภาคบังคับ โดยเฉพาะระดับประถมศึกษาตอนปลาย และขยายการศึกษาระดับมัธยมศึกษา การฝึกหัดครู และอุดมศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการกำลังคนในระดับกลางและระดับสูง

ปี พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2524 มีการปรับเปลี่ยนภาควิชา โดยยุบภาควิชาระเบียบวิธีการสอนและหลักสูตร และทำการแบ่งภาควิชาต่างๆ ออกเป็น 9 ภาควิชา คือ (1) ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา (2) ภาควิชาประถมศึกษา (3) ภาควิชามัธยมศึกษา (จากชื่อระเบียบวิธีการสอนและหลักสูตร) (4) ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา (โสตทัศนศึกษา) (5) ภาควิชาอาชีวศึกษา (ศิลปะปฏิบัติ) (6) ภาควิชาบริหารการศึกษา (การนิเทศและการบริหารการศึกษา) (7) ภาควิชาพลานามัย (8) ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา และ (9) ภาควิชาวิจัยและวัดผลการศึกษา (วัดผลและระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา)

ปี พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2529 ได้เริ่มทำการปฏิรูปหลักสูตร โดยมีปรัชญามุ่งให้บัณฑิตเป็นคนสมคน คือ สมภูมิ สมครูและสมงาน เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี 15 สาขาวิชา คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ บริหารธุรกิจ คหกรรมศิลป์ เกษตรกรรมศิลป์ พลศึกษา สุขศึกษา การศึกษาผู้ใหญ่ บริหารการศึกษา ประถมศึกษา ศิลปศึกษา และอุตสาหกรรมศิลป์ ในปี พ.ศ. 2525 ได้เปิดหลักสูตรปริญญาโท 2 สาขาวิชา คือ วิทยาศาสตร์ศึกษา และเทคโนโลยีทางการศึกษา และต่อมาในปี พ.ศ. 2526 เปิดหลักสูตรปริญญาโทเพิ่มอีก 3 สาขา คือ การวัดผลและประเมินผลการศึกษา บริหารการศึกษา และหลักสูตรและการสอน1

ปี พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2534 เปิดหลักสูตรปริญญาโทเพิ่มอีก 6 สาขาวิชาคือ การศึกษานอกระบบ ประถมศึกษา วิจัยและสถิติการศึกษา คณิตศาสตรศึกษา การส่งเสริมคุณภาพ และการสอนภาษาไทย

ปี พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2539 ได้เปิดหลักสูตรปริญญาโทเพิ่มอีก 3 สาขาวิชาคือ การสอนสังคมศึกษา จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว และอาชีวศึกษา เริ่มมีการเปิดสอนปริญญาโท ภาคพิเศษในวันเสาร์และวันอาทิตย์ รวม 7 สาขา คือ การวัดและประเมินผลการศึกษา ประถมศึกษา การศึกษานอกระบบ หลักสูตรและการสอน การบริหารการศึกษา จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว และการส่งเสริมสุขภาพ

ปี พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2544 มีการเปิดหลักสูตรปริญญาโท 15 สาขา และหลักสูตรร่วม 2 สาขา ได้มีการเตรียมเปิดหลักสูตรระดับปริญญาเอก 4 สาขาวิชา คือ หลักสูตรและการสอน วิจัยและพัฒนาการศึกษา การศึกษานอกระบบ และผู้นำทางการศึกษา และได้เปิดสอนหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิชาชีพครู) และหลักสูตรปริญญาโทสาขาวิชาร่วม 2 สาขา คือ การจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม และภูมิภาคการศึกษา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 มีการจัดทำประมวลแผนการสอน และแผนการสอนทุกวิชามีการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาอย่างเป็นระบบ

ปี พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2549 คณะศึกษาศาสตร์ได้เปิดหลักสูตรปริญญาเอก ภาคพิเศษ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

ปี พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2555 คณะศึกษาศาสตร์ได้เปิดหลักสูตรปริญญาเอกด้านการวิจัยและพัฒนาการศึกษา 3 สาขาวิชา คือ วิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และวิจัยเพื่อการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2554 คณะศึกษาศาสตร์ได้เปิดหลักสูตรปริญญาตรี 15 สาขา ปริญญาโท 16 สาขา และปริญญาเอก 2 สาขา

รายนามคณบดี

  • ทำเนียบคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทำเนียบคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายนามคณบดี ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง

1. ศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย พ.ศ. 2510 - 2511
2. ศาสตราจารย์ นายแพทย์โอภาส พลางกูร พ.ศ. 2512 - 2513
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อำนวย ทะพิงค์แก พ.ศ. 2514 - 2515
4. ศาสตราจารย์ สุวัฒน์ นิยมค้า พ.ศ. 2516 - 2520
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จัน เกริกมธุกร พ.ศ. 2520 - 2524
6. รองศาสตราจารย์ ประจักษ์ สุดประเสริฐ พ.ศ. 2524 - 2528
7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชาวลิต พุทธวงศ์ พ.ศ. 2528 - 2532
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประสิทธิ์ ม้าลำพอง พ.ศ. 2532 - 2536
9. รองศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม จันทน์หอม พ.ศ. 2536 - 2540
10. รองศาสตราจารย์ ดร.เสริมศรี ไชยศร พ.ศ. 2540 - 2544
11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุกานดา ตปนียางกูร พ.ศ. 2544 - 2548
12. รองศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ พงษ์วาท พ.ศ. 2548 - 2552
13. รองศาสตราจารย์ ดร.นิ่มอนงค์ งามประภาสม พ.ศ. 2552 - 2554
14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ แป้นแก้ว พ.ศ. 2554 - 2558
15. รองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสุดา ศรีสุข พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน

หลักสูตรการศึกษา


ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ)

  • สาขาพลศึกษา
  • สาขาฟิสิกส์
  • สาขาภาษาไทย
  • สาขาศิลปศึกษา
  • สาขาภาษาอังกฤษ
  • สาขาคณิตศาสตร์
  • สาขาประถมศึกษา
  • สาขาการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาพิเศษ
  • สาขาเคมี
  • สาขาสังคมศึกษา
  • สาขาชีววิทยา
  • สาขาธุรกิจศึกษา

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)

  • สาขาการศึกษา
  • สาขาประเมินผลและวิจัยการศึกษา
  • สาขาการศึกษาพิเศษ

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) (Ph.D.)

  • สาขาการศึกษา
  • สาขาหลักสูตร การสอน และเทคโนโลยีการเรียนรู้

อ้างอิง

คณะศ, กษาศาสตร, มหาว, ทยาล, ยเช, ยงใหม, อต, งข, นตามโครงการพ, ฒนาการศ, กษา, มหาว, ทยาล, ยเช, ยงใหม, โดยบรรจ, ไว, เป, นโครงการผล, ตบ, ณฑ, ตทางศ, กษาศาสตร, ในการดำเน, นงานม, องค, การย, เนสโก, unesco, งผ, เช, ยวชาญมาช, วยเตร, ยมการจ, ดต, และได, ประกาศสถาปนาคณะศ, . khnasuksasastr mhawithyalyechiyngihm kxtngkhuntamokhrngkarphthnakarsuksa mhawithyalyechiyngihm odybrrcuiwepnokhrngkarphlitbnthitthangsuksasastr inkardaeninnganmixngkhkaryuensok UNESCO sngphuechiywchaymachwyetriymkarcdtng aelaidprakassthapnakhnasuksasastrinrachkiccanuebksa chbbphiess elmthi 85 txnthi 69 lngwnthi 2 krkdakhm ph s 2511 sungthuxepnwnsthapnakhnasuksasastr sthanthitngedimkhxngsanknganokhrngkarcdtngkhnasuksasastrtngxyuthiwithyaly1 txmacungyaymayngthitngpccubnkhnasuksasastrmhawithyalyechiyngihmchuxxngkvsFaculty of Education Chiang Mai Universitythixyutablsuethph xaephxemuxngechiyngihm cnghwdechiyngihmwnkxtng2 krkdakhm ph s 2511khnbdirxngsastracary dr ekiyrtisuda srisukhsipracakhna sifaxxnewbistwww edu cmu ac thdkhk enuxha 1 prawti 2 raynamkhnbdi 3 hlksutrkarsuksa 4 xangxingprawti aekikhprawtikhwamepnmakhxngkhnasuksasastraebngtamchwngrayaewla dngnipi ph s 2508 epnchwngkhxngkarthaokhrngkarcdtngkhnasuksasastr Project for Secondary School Teacher Training Chiang Mai University ephuxmungennkarprbaenwkhwamkhidaelaokhrngsrangmhawithyaly mikarkahndcudprasngkhkhxngkarcdtngkhnaodydaeninkarkhxkhwamrwmmuxdanphuechiywchaycakxngkhkaryuensok idmikarsarwcsphaphkarsuksaradbtang inpraethsithyxyangkwangkhwang tlxdcnkarwangaephnkarsrangxakhareriyn wtthuprasngkhkhxngkarcdtngkhnasuksasastr tamrangokhrngkar pi ph s 2511 ph s 2514 epnchwngthimikarsrangxakharsthanthi karphthnahlksutr aelamungennkarphthnabukhlakr karphlitbnthitthimungennkartxbsnxngkhwamtxngkarkhxngsngkhm mi 2 hlksutr khux hlksutr 2 pi aelahlksutr 4 pi sahrbnksuksaetmewlaaelanksuksanxkewla okhrngsrangphakhwichaprakxbdwy 5 phakhwicha khux 1 phakhwicharaebiybwithisxnaelahlksutr 2 phakhwichaphunthanthangkarsuksa 3 phakhwichaostthsnsuksa 4 phakhwichawdphlaelaraebiybwithiwicykarsuksa aela 5 phakhwichasngesrimkarsuksa sunghlksutrmikhwamsxdkhlxngkbaephnphthnaesrsthkicaelasngkhmaehngchatichbbthi 2 ph s 2510 2514 khux cdkarsuksaihsxdkhlxngkbkhwamtxngkarkalngkhnephuxkarphthnaesrsthkic ennkarphlitkalngkhnradbsungaelasnxngtxbtxkarkhyaytwkhxngorngeriynmthymsuksaaelaxachiwsuksapi ph s 2515 ph s 2519 mikarprbprungcudmunghmaykhna aelacdtngphakhwichaihm ph s 2516 inkhnaediywknshrthxemrikaidsnbsnunrthbalithyihcdtngokhrngkarphthnamhawithyaly idmikarsngxacaryipsuksatx n tangpraethsdwykarsnbsnuncakmulnithirxkkieflelxr ephuxsxnradbpriyyaothaelapriyyaexkphayinpraeths inpi ph s 2519 epidsxnhlksutrradbpriyyatri 7 sakhawicha khux 1 karsuksaphuihy 2 khhkrrmsilp 3 phlsuksa 4 sukhsuksa 5 prathmsuksa 6 briharkarsuksa aela 7 xutsahkrrmsilp ephuxihsxdkhlxngkbnoybayphthnakarsuksathiepliynaeplngiptamaephnphthnaesrsthkic aelasngkhmaehngchati chbbthi 3 ph s 2515 2519 thirthiderngkhyaykarsuksaphakhbngkhb odyechphaaradbprathmsuksatxnplay aelakhyaykarsuksaradbmthymsuksa karfukhdkhru aelaxudmsuksa ihsxdkhlxngkbkhwamtxngkarkalngkhninradbklangaelaradbsungpi ph s 2520 ph s 2524 mikarprbepliynphakhwicha odyyubphakhwicharaebiybwithikarsxnaelahlksutr aelathakaraebngphakhwichatang xxkepn 9 phakhwicha khux 1 phakhwichaphunthankarsuksa 2 phakhwichaprathmsuksa 3 phakhwichamthymsuksa cakchuxraebiybwithikarsxnaelahlksutr 4 phakhwichaethkhonolyithangkarsuksa ostthsnsuksa 5 phakhwichaxachiwsuksa silpaptibti 6 phakhwichabriharkarsuksa karniethsaelakarbriharkarsuksa 7 phakhwichaphlanamy 8 phakhwichacitwithyakarsuksa aela 9 phakhwichawicyaelawdphlkarsuksa wdphlaelaraebiybwithiwicythangkarsuksa pi ph s 2525 ph s 2529 iderimthakarptiruphlksutr odymiprchyamungihbnthitepnkhnsmkhn khux smphumi smkhruaelasmngan epidsxnhlksutrpriyyatri 15 sakhawicha khux phasaithy phasaxngkvs sngkhmsuksa khnitsastr withyasastr briharthurkic khhkrrmsilp ekstrkrrmsilp phlsuksa sukhsuksa karsuksaphuihy briharkarsuksa prathmsuksa silpsuksa aelaxutsahkrrmsilp inpi ph s 2525 idepidhlksutrpriyyaoth 2 sakhawicha khux withyasastrsuksa aelaethkhonolyithangkarsuksa aelatxmainpi ph s 2526 epidhlksutrpriyyaothephimxik 3 sakha khux karwdphlaelapraeminphlkarsuksa briharkarsuksa aelahlksutraelakarsxn1pi ph s 2530 ph s 2534 epidhlksutrpriyyaothephimxik 6 sakhawichakhux karsuksanxkrabb prathmsuksa wicyaelasthitikarsuksa khnitsastrsuksa karsngesrimkhunphaph aelakarsxnphasaithypi ph s 2535 ph s 2539 idepidhlksutrpriyyaothephimxik 3 sakhawichakhux karsxnsngkhmsuksa citwithyakarsuksaaelakaraenaaenw aelaxachiwsuksa erimmikarepidsxnpriyyaoth phakhphiessinwnesaraelawnxathity rwm 7 sakha khux karwdaelapraeminphlkarsuksa prathmsuksa karsuksanxkrabb hlksutraelakarsxn karbriharkarsuksa citwithyakarsuksaaelakaraenaaenw aelakarsngesrimsukhphaphpi ph s 2540 ph s 2544 mikarepidhlksutrpriyyaoth 15 sakha aelahlksutrrwm 2 sakha idmikaretriymepidhlksutrradbpriyyaexk 4 sakhawicha khux hlksutraelakarsxn wicyaelaphthnakarsuksa karsuksanxkrabb aelaphunathangkarsuksa aelaidepidsxnhlksutrradbprakasniybtrbnthit wichachiphkhru aelahlksutrpriyyaothsakhawicharwm 2 sakha khux karcdkarmnusykbsingaewdlxm aelaphumiphakhkarsuksa ineduxnmkrakhm ph s 2543 mikarcdthapramwlaephnkarsxn aelaaephnkarsxnthukwichamikarpraeminkarsxnkhxngxacaryodynksuksaxyangepnrabbpi ph s 2545 ph s 2549 khnasuksasastridepidhlksutrpriyyaexk phakhphiess sakhawichahlksutraelakarsxnpi ph s 2550 ph s 2555 khnasuksasastridepidhlksutrpriyyaexkdankarwicyaelaphthnakarsuksa 3 sakhawicha khux wicyephuxphthnakarsuksa wicyephuxphthnabukhlakrthangkarsuksa aelawicyephuxkarbriharkarsuksa pikarsuksa 2554 khnasuksasastridepidhlksutrpriyyatri 15 sakha priyyaoth 16 sakha aelapriyyaexk 2 sakharaynamkhnbdi aekikhthaeniybkhnbdikhnasuksasastr mhawithyalyechiyngihmthaeniybkhnbdikhnasuksasastr mhawithyalyechiyngihmraynamkhnbdi rayaewlainkardarngtaaehnng1 sastracary dr hmxmhlwngtuy chumsay ph s 2510 25112 sastracary nayaephthyoxphas phlangkur ph s 2512 25133 phuchwysastracary dr xanwy thaphingkhaek ph s 2514 25154 sastracary suwthn niymkha ph s 2516 25205 phuchwysastracary cn ekrikmthukr ph s 2520 25246 rxngsastracary pracks sudpraesrith ph s 2524 25287 phuchwysastracary dr echawlit phuththwngs ph s 2528 25328 phuchwysastracary prasiththi malaphxng ph s 2532 25369 rxngsastracary dr suthrrm cnthnhxm ph s 2536 254010 rxngsastracary dr esrimsri ichysr ph s 2540 254411 phuchwysastracary dr sukanda tpniyangkur ph s 2544 254812 rxngsastracary dr xrrnph phngswath ph s 2548 255213 rxngsastracary dr nimxnngkh ngampraphasm ph s 2552 255414 phuchwysastracary dr phngsskdi aepnaekw ph s 2554 255815 rxngsastracary dr ekiyrtisuda srisukh ph s 2558 pccubnhlksutrkarsuksa aekikhradbpriyyatri radbpriyyaoth radbpriyyaexkhlksutrsuksasastrbnthit ss b sakhaphlsuksa sakhafisiks sakhaphasaithy sakhasilpsuksa sakhaphasaxngkvs sakhakhnitsastr sakhaprathmsuksa sakhakarsuksapthmwyaelakarsuksaphiess sakhaekhmi sakhasngkhmsuksa sakhachiwwithya sakhathurkicsuksa hlksutrsuksasastrmhabnthit ss m sakhakarsuksa sakhapraeminphlaelawicykarsuksa sakhakarsuksaphiess hlksutrprchyadusdibnthit pr d Ph D sakhakarsuksa sakhahlksutr karsxn aelaethkhonolyikareriynruxangxing aekikhekhathungcak https th wikipedia org w index php title khnasuksasastr mhawithyalyechiyngihm amp oldid 9559924, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม