fbpx
วิกิพีเดีย

แคปพาโดเชีย

ภูมิภาคโบราณแห่งอานาโตเลีย
แคปพาโดเชีย
ภูเขา Aktepe ไม่ไกลจากเกอเรเมและภูมิภาคเขาหินแห่งแคปพาโดเชีย (มรดกโลกยูเนสโก)
ที่ตั้ง ตะวันออกของอานาโตเลีย
ฐานะของภูมิภาค: กึ่งอิสระในรูปแบบต่างๆ มาจนถึงปี ค.ศ. 17
อดีตเมืองหลวง ฮัททุชา
จังหวัดโรมัน แคปพาโดเชีย

แคปพาโดเชีย (กรีก: Καππαδοκία กัปปาโดเกีย; อังกฤษ: Cappadocia /kæpəˈdʃə/) แผลงมาจากคำในภาษากรีก “Καππαδοκία” (Kappadokía) คือภูมิภาคตอนกลางของประเทศตุรกีที่ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดเนฟชีร์

อุทยานแห่งชาติเกอเรเม และ
ภูมิภาคเขาหินแห่งแคปพาโดเชีย *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศ ตุรกี
ภูมิภาค **รายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปยุโรป
ประเภทผสม
เกณฑ์พิจารณาi, iii, v, vii
อ้างอิง357
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียนค.ศ. 1985 (คณะกรรมการสมัยที่ 9)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

“แคปพาโดเชีย” เป็นชื่อที่ปรากฏตลอดมาในประวัติศาสตร์ของคริสต์ศาสนาและเป็นชื่อที่ใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงบริเวณที่เป็นที่น่าสนใจแก่นักท่องเที่ยว ในบริบทของภูมิภาคอันมีความน่าตื่นตาตื่นใจทางธรรมชาติ โดยเฉพาะภูมิสัณฐานที่มีลักษณะเป็นแท่งๆ คล้ายหอปล่องไฟ หรือ เห็ด (ปล่องไฟธรรมชาติ (fairy chimney)) และประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคอานาโตเลีย

ในสมัยของเฮโรโดทัส กลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียกล่าวว่าเป็นผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่ภูเขาทอรัสไปจนถึงบริเวณยูซีน (ทะเลดำ) ฉะนั้นแคปพาโดเชียในกรณีนี้จึงมีบริเวณทางตอนใต้จรดเทือกเขาทอรัส ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติที่แยกจากซิลิเคีย, ทางตะวันออกโดยแม่น้ำยูเฟรทีสตอนเหนือและ ที่ราบสูงอาร์มีเนีย, ทางตอนเหนือโดยภูมิภาคพอนทัส และทางตะวันตกโดยภูมิภาคไลเคาเนีย และ กาเลเชียตะวันออก

ที่มา

หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานแรกที่กล่าวถึงแคปพาโดเชียเขียนขึ้นในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช ที่ปรากฏในคำจารึกสามภาษา ของจักรพรรดิดาไรอัสมหาราช และ จักรพรรดิเซอร์ซีสแห่งจักรวรรดิอคีเมนียะห์ว่าเป็นอาณาจักร หรือ “dahyu-” หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ที่เรียกเป็นภาษาเปอร์เซียโบราณว่า “Katpatuka” ซึ่งจะเห็นได้ชัดว่าไม่ใช่ต้นรากของชื่อภาษาเปอร์เซียโดยทั่วไป ภาษาเอลาไมท์ และ ภาษาอัคคาเดียใช้ชื่อที่คล้ายคลึงกันจากภาษาอัคคาเดีย “katpa” “side” ที่แผลงมาจากชื่อบรรพบุรุษ “Tuka”

เฮโรโดทัสกล่าวว่าชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียเป็นชื่อที่ชาวเปอร์เซียใช้เรียกชนกลุ่มดังกล่าวนี้ ขณะที่ชาวกรีกเรียกว่า “ชาวซีเรีย” หรือ “ชาวซีเรียขาว” (Leucosyri) ชนเผ่าหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียที่เฮโรโดทัสกล่าวถึงคือโมสชอย ที่นักประวัติศาสตร์โจซีฟัสกล่าวว่ามีความเกี่ยวข้องกับบุคคลในพระคัมภีร์ไบเบิลชื่อเมเช็คบุตรของยาเฟ็ธ: “และโมโซเคนีก่อตั้งขึ้นโดยโมซอค; ที่ปัจจุบันคือกลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชีย”

แคปพาโดเชียปรากฏในพระคัมภีร์ไบเบิลใน “กิจการของอัครทูต” 2:9 กลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียกล่าวว่าเป็นกลุ่มชนหนึ่งที่ได้รับการประกาศข่าวดีจากอัครทูตเป็นภาษาของตนเองในเทศกาลเพนเทคอสต์ไม่นานหลังจากการคืนพระชนม์ของพระเยซู ซึ่งเป็นนัยยะว่าชาวแคปพาโดเชียเป็น “ชาวยิวที่มีความเกรงกลัวในพระเจ้า”

ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิเปอร์เซียองค์ต่อๆ มาแคปพาโดเชียแบ่งออกเป็นสองแคว้น (Satrap) ที่มีศูนย์กลางหนึ่งที่ยังคงใช้ชื่อแคปพาโดเชียโดยนักประวัติศาสตร์กรีก แต่อีกแคว้นหนึ่งเรียกว่า “พอนทัส” การแบ่งแยกนี้เกิดขึ้นก่อนสมัยของเซเนโฟน หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิเปอร์เซียแคว้นสองแคว้นก็ยังคงแยกตัวเป็นอิสระจากกัน และ ยังคงดำรงความแตกต่างจากกันต่อมา แคปพาโดเชียมาหมายถึงจังหวัดลึกเข้าไปในแผ่นดิน ( inland province ที่บางครั้งก็เรียกว่า “แคปพาโดเชียใหญ่”) เท่านั้น และเป็นภูมิภาคที่เน้นถึงในบทความนี้

ราชอาณาจักรแคปพาโดเชียยังคงดำรงความเป็นราชอาณาจักรกึ่งอิสระมาจนถึงสมัยของสตราโบ ส่วนซิลิเคียเป็นชื่อที่ใช้สำหรับดิสตริคท์ที่เป็นที่ตั้งของ เซซาเรียซึ่งเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักร เมืองสองเมืองในแคปพาโดเชียที่สตราโบเห็นว่ามีความสำคัญคือ The only two cities of Cappadocia considered by Strabo to deserve that appellation were เซซาเรีย (เดิมเรียกว่ามาซาคา) และ ทิยานา ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเชิงเขาทอรัส

ที่ตั้งและอากาศ

 
ภูเขา Erciyes (3,917 เมตร) ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในแคปพาโดเชีย

แคปพาโดเชียตั้งอยู่ทางตะวันออกของอานาโตเลียในบริเวณตอนกลางของประเทศตุรกีปัจจุบัน เนื้อที่ของภูมิภาคที่ราบสูงที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลกว่า 1000 เมตรประไปด้วยยอดภูเขาไฟ ที่มีภูเขา Erciyesเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดที่สูงราว 3,917 เมตร พรมแดนในประวัติศาสตร์ของแคปพาโดเชียเป็นพรมแดนที่คลุมเคลือโดยเฉพาะทางด้านตะวันตก ทางด้านใต้เป็นเทือกเขาทอรัสที่เป็นพรมแดนธรรมชาติกับซิลิเคีย และแยกแคปพาโดเชียจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางด้านตะวันตกตั้งอยู่ติดกับภูมิภาคไลเคาเนียที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ และกาเลเชียทางตะวันตกเฉียงเหนือ เทือกเขาริมฝั่งทะเลดำแยกแคปพาโดเชียจากพอนทัสและทะเลดำ ขณะที่ทางตะวันออกเป็นแม่น้ำยูเฟรทีสตอนเหนือ ก่อนที่แม่น้ำจะเลี้ยวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ไปยังเมโสโปเตเมีย และ ที่ราบสูงอาร์มีเนีย ภูมิภาคนี้มีเนื้อที่ทั้งหมดที่ยาว 400 กิโลเมตรจากตะวันออกจรดตะวันตก และ 250 กิโลเมตรจากเหนือจรดใต้ เพราะที่ตั้งที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ภายในประเทศและมีระดับสูงจากระดับน้ำทะเลมากแคปพาโดเชียจึงมีภาวะอากาศแบบภาคพื้นทวีป (continental climate) ที่ร้อนแห้งในฤดูร้อน และ หนาวพอที่จะมีหิมะตกในช่วงฤดูหนาว อัตราการตกของฝนมีระดับต่ำและเป็นบริเวณที่จัดว่าเป็นบริเวณกึ่งแห้งแล้งถึงแล้ง (semi-arid ถึง arid)

ประวัติ

 
เกอเรเมที่เป็นบ้านเรือนที่สร้างเข้าไปในภูมิสัณฐานธรรมชาติหน้าภูมิทัศน์อันน่าประทับใจของหุบเขาอันเต็มไปด้วยสีสรร
 
บัลลูนอากาศร้อนเหนือแคปพาโดเชีย
 
แท่งหินธรรมชาติในแคปพาโดเชีย
 
แผนที่จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 ของภูมิภาคแคปพาโดเชีย
 
บ้านเรือนที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิสัณฐานธรรมชาติในแคปพาโดเชีย
 
คริสต์ศาสนสถานที่เป็น สถาปัตยกรรมในหินผา (Rock cut architecture) ในแคปพาโดเชีย

แคปพาโดเชียเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า “ฮัตติ” ในปลายยุคสำริดและเป็นศูนย์กลางทางอำนาจของชนฮิทไทต์ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่ฮัททุชา หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิฮิทไทท์และความเสื่อมโทรมของอารยธรรมซีเรีย-แคปพาโดเชียหลังจากความพ่ายแพ้ต่อกษัตริย์โครซัสแห่งลีเดียในคริสต์ศตวรรษที่ 6 แล้ว แคปพาโดเชียก็ปกครองโดยขุนนางกึ่งระบบศักดินา ที่อยู่อาศัยกันตามที่มั่นที่เป็นปราสาทต่างๆ โดยมีไพร่ติดแผ่นดินเป็นบริวาร ซึ่งต่อมาเป็นสภาวะที่เหมาะกับการวิวัฒนาการมาเป็นระบบทาสต่างประเทศ แคปพาโดเชียจัดเป็นแคว้นของจักรวรรดิเปอร์เซียสมัยที่สามที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิดาไรอัสมหาราช แต่ยังคงได้รับการอนุญาตให้มีประมุขปกครองตนเอง แต่ก็ไม่มีผู้ใดที่มีอำนาจมากพอที่จะปกครองได้ทั้งภูมิภาค

ราชอาณาจักรแคปพาโดเชีย

หลังจากอเล็กซานเดอร์มหาราชนำมาซึ่งการล่มสลายของจักรวรรดิเปอร์เซียแล้ว พระองค์ก็ทรงพยายามที่จะปกครองแคปพาโดเชียโดยการส่งผู้แทนพระองค์มาปกครอง แต่อาเรียร์ทีสผู้เป็นขุนนางเปอร์เซียกลับกลายมาเป็นกษัตริย์แห่งแคปพาโดเชียแทนที่ อาเรียร์ทีสที่ 1 แห่งแคปพาโดเชีย (332—322 ก่อนคริสต์ศักราช) เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระปรีชาสามารถ และทรงทำการขยายดินแดนของราชอาณาจักรแคปพาโดเชียออกไปถึงทะเลดำ ราชอาณาจักรแคปพาโดเชียตั้อยู่ในความสงบสุขมาจนกระทั่งการเสด็จสวรรคตของอเล็กซานเดอร์มหาราช เมื่อจักรวรรดิถูกแบ่งย่อยออกไปเป็นส่วนๆ แคปพาโดเชียตกไปเป็นของยูเมนีส ยูเมนีสขึ้นมามีอำนาจโดยความช่วยเหลือของขุนพลเพอร์ดิคคัสผู้เป็นผู้สำเร็จราชการของอเล็กซานเดอร์มหาราชผู้จับอาเรียร์ทีสตรึงกางเขน แต่หลังจากที่เพอร์ดิคคัสถูกลอบสังหาร และยูเมนีสถูกประหารชีวิต บุตรชายของอาเรียร์ทีสก็ได้แคปพาโดเชียคืน และทำการปกครองต่อมาโดยกษัตริย์ที่สืบเชื้อสายต่อมา

เมื่อมาถึงรัชสมัยของอาเรียร์ทีสที่ 4 แห่งคาแคปพาโดเชีย (220—163 ก่อนคริสต์ศักราช) แคปพาโดเชียก็เริ่มมีความสัมพันธ์กับโรมที่เริ่มด้วยการเป็นศัตรูในการเป็นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราช และต่อมาหันมาเป็นพันธมิตรในการต่อต้านเพอร์เซียสแห่งมาซิดอน ซึ่งก็เท่ากับทรงวางตนเป็นศัตรูกับ จักรวรรดิเซลูซิดที่เคยทรงส่งบรรณาการเป็นครั้งคราวอย่างเต็มพระองค์

อาเรียร์ทีสที่ 5 แห่งแคปพาโดเชีย (163—130 ก่อนคริสต์ศักราช) ทรงนำทัพร่วมกับกงสุลโรมันพิวเบลียส ลิซิเนียส คราซัส ดิเวส มูเชียนัสในการต่อสู้กับยูเมนีสที่ 3 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เพอร์กามอน แต่พระองค์ก็ทรงได้รับความพ่ายแพ้อย่างยับเยินและสิ้นพระชนม์ในปี 130 ก่อนคริสต์ศักราช ภาวะของความสับสนวุ่นวายที่ตามมาหลังจากการเสียชีวิตของอาเรียร์ทีสที่ 5 นำไปสู่การแทรกแซงของพอนทัสที่รุ่งเรืองขึ้นมา และการสงครามที่เกิดขึ้นที่นำมาซึ่งความหายนะของราชวงศ์ที่ปกครองแคปพาโดเชีย

มณฑลแคปพาโดเชียของโรมัน

ชาวแคปพาโดเชียได้รับการสนับสนุนจากโรมในการเป็นโค่นมิทราดีสที่ 4 แห่งพอนทัส และแทนที่ด้วยอริโอบาร์ซานีสที่ 1 ฟิลโลโรมาอิออสแห่งแคปพาโดเชีย ในปี 93 ก่อนคริสต์ศักราช แต่ในปีเดียวกันกองทัพอาร์มีเนียภายใต้การนำของพระเจ้าไทกราเนสมหาราชก็ทรงนำทัพเข้ามารุกรานแคปพาโดเชีย ทรงทำการถอดอริโอบาร์ซานีสจากราชบัลลังก์ และทรงแต่งตั้งให้กอร์เดียสแห่งแคปพาโดเชียขึ้นครองเป็นกษัตริย์บริวารแทนที่ การสร้างแคปพาโดเชียขึ้นเป็นอาณาจักรบริวารของพระเจ้าไทกราเนสก็เท่ากับเป็นการสร้างบริเวณฉนวนเพื่อยับยั้งความก้าวร้าวของสาธารณรัฐโรมันที่คืบเข้ามาในภูมิภาค

เมื่อโรมถอดกษัตริย์พอนทัสและกษัตริย์อาร์มีเนียจากราชบัลลังก์ อาริโอบาร์ซานีสที่ 1 ฟิลโลโรมาอิออสแห่งแคปพาโดเชียจึงได้กลับมาขึ้นครองแคปพาโดเชียอีกครั้งหนึ่งในปี 63 ก่อนคริสต์ศักราช ในระหว่างสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นในโรมแคปพาโดเชียก็เปลี่ยนการสนับสนุนเรื่อยมาตั้งแต่สนับสนุนปอมเพย์, ต่อมาก็จูเลียส ซีซาร์, ต่อมามาร์ค แอนโทนี และหันมาเป็นปฏิปักษ์ท้ายที่สุด ราชวงศ์อริโอบาร์ซานีสมาสิ้นสุดลงในสมัยของอาร์คีลอสแห่งแคปพาโดเชียผู้หนุนหลังมาร์ค แอนโทนี และหันมาเป็นปฏิปักษ์ ผู้ปกครองเป็นอิสระมาจนกระทั่งปี 17 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อจักรพรรดิไทบีเรียสทรงลดฐานะของแคปพาโดเชียลงมาเป็นเพียงมณฑลของโรมันหลังจากการสิ้นพระชนม์ของอาร์คีลอสอย่างอัปยศ ต่อมาอีกเป็นเวลานานแคปพาโดเชียก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิไบแซนไทน์

แคปพาโดเชียประกอบด้วยเมืองใต้ดินหลายเมือง (ดูเมืองใต้ดินแห่งเคย์มาคลี) ที่ใช้โดยชาวคริสเตียนในยุคแรกในการเป็นที่หลบหนีภัยจากการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนก่อนที่ศาสนาคริสต์จะเป็นศาสนาที่ได้รับการประกาศว่าเป็นศาสนาประจำจักรวรรดิ ปิตาจารย์แห่งแคปพาโดเชียของคริสต์ศตวรรษที่ 4 เป็นองค์ประกอบสำคัญของประวัติศาสตร์เทววิทยาศาสนาคริสต์ยุคแรก นักเทววิทยาศาสนาคริสต์คนสำคัญก็รวมทั้งจอห์นแห่งแคปพาโดเชียผู้เป็นอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิล ระหว่างปี ค.ศ. 517 ถึง ค.ศ. 520 ในช่วงการปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ แคปพาโดเชียปลอดจากความขัดแย้งของบริเวณนี้กับจักรวรรดิแซสซานิด แต่มาเป็นบริเวณดินแดนพรมแดนอันสำคัญต่อมาในสมัยการพิชิตดินแดนของมุสลิมต่อมา แคปพาโดเชียกลายเป็นส่วนหนึ่งของเขตการปกครองไบแซนไทน์แห่งอาร์มีเนีย (Armeniac Theme) และต่อมาเขตการปกครองคาร์เซียนอน และในที่สุด เขตการปกครองไบแซนไทน์แห่งแคปพาโดเชีย (Cappadocia Theme)

ความสัมพันธ์ระหว่างแคปพาโดเชียและอาร์มีเนียที่ตั้งอยู่ติดกันเป็นความสัมพันธ์อันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักประวัติศาสตร์อาหรับอบู อัล ฟารัจกล่าวถึงชาวอาร์มีเนียผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ซิวาสระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ว่า “ซิวาสในแคปพาโดเชียเต็มไปด้วยชาวอาร์มีเนีย ที่มีจำนวนมากจนกระทั่งกลายเป็นส่วนสำคัญของกองทัพของราชอาณาจักร กองทหารอาร์มีเนียเหล่านี้มีหน้าที่เฝ้ายามตามป้อมที่สำคัญๆ ที่ยึดมาได้จากอาหรับ ทหารอาร์มีเนียมีชื่อเสียงจากการเป็นทหารราบผู้มีประสบการณ์และมักจะแสดงความสามารถในการต่อสู้อย่างกล้าหาญและประสบกับความสำเร็จเคียงข้างทหารโรมันหรือที่เรียกว่าทหารไบแซนไทน์” การรณรงค์ทางการทหารของไบแซนไทน์และการรุกรานของเซลจุคในอาร์มีเนียทำให้ชาวอาร์มีเนียขยายตัวเข้ามาในแคปพาโดเชียและออกไปทางตะวันออกจากซิลิเคียไปยังดินแดนที่เป็นหุบเขาทางตอนเหนือของซีเรีย และ เมโสโปเตเมีย จนกระทั่งได้ก่อตั้งราชอาณาจักรอาร์มีเนียแห่งซิลิเคียขึ้น การอพยพของชาวอาร์มีเนียเพิ่มจำนวนขึ้นหลังจากการเสื่อมโทรมอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ และการขยายตัวของอาณาจักรครูเสดหลังสงครามครูเสดครั้งที่ 4 สำหรับนักรบครูเสดแล้วแคปพาโดเชียคือ “terra Hermeniorum” (ดินแดนของชาวอาร์มีเนีย) เพราะเป็นดินแดนที่ขณะนั้นเต็มไปด้วยผู้ตั้งถิ่นฐานชาวอาร์มีเนีย

หลังจากยุทธการมันที่ซิเคิร์ตในปี ค.ศ. 1071 แล้วกลุ่มตุรกีต่างๆ ภายใต้การนำของเซลจุคก็เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในอานาโตเลีย การค่อยขยายตัวทางอำนาจของเซลจุคอย่างค่อยเป็นค่อยไปในที่สุดก็ทำให้แคปพาโดเชียกลายเป็นรัฐบริวารของรัฐตุรกีที่ก่อตั้งขึ้นทางตะวันออกและตะวันตกของภูมิภาค และประชากรบางส่วนของบริเวณนี้ก็เปลี่ยนไปถือศาสนาอิสลาม เมื่อมาถึงตอนปลายของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 เซลจุคแห่งอานาโตเลียก็กลายเป็นผู้มีอำนาจเด็ดขาดในภูมิภาคแคปพาโดเชีย ต่อมาเมื่ออำนาจของเซลจุคที่ตั้งอยู่ที่คอนยาอ่อนตัวลงในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 13 เบยิคตุรกีแห่งอานาโตเลียน (Anatolian Turkish Beyliks) ที่มีฐานอำนาจอยู่ที่คารามานก็เข้ามามีอำนาจแทนที่ และในที่สุดกลุ่มที่ว่านี้ก็มาแทนที่ด้วยจักรวรรดิออตโตมันในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 แคปพาโดเชียก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันเป็นเวลาอีกหลายร้อยปีต่อมา และในปัจจุบันก็เป็นส่วนหนึ่งของรัฐตุรกีปัจจุบัน ความเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของภูมิภาคนี้เกิดขึ้นเมื่อ บริเวณเมือง Nevşehir ได้รับการก่อตั้งขึ้นใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยมหาเสนาบดีผู้มีถิ่นฐานดั้งเดิมมาจากบริเวณนี้ก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองหลวงของภูมิภาค และยังคงเป็นมาจนกระทั่งทุกวันนี้

ในขณะเดียวกันชาวแคปพาโดเชียก็เริ่มเปลี่ยนไปพูดภาษาตุรกีที่เขียนด้วยอักษรกรีกที่เรียกว่า “Karamanlıca” และในบริเวณที่ยังคงพูดภาษากรีก อิทธิพลของภาษาตุรกีรอบข้างก็เริ่มจะเพิ่มขึ้น ภาษากรีกที่พูดกันในภูมิภาคแคปพาโดเชียเรียกกันว่า “ภาษากรีกแบบแคปพาโดเชีย” หลังจากการแลกเปลี่ยนประชากรระหว่างกรีซและตุรกีในปี ค.ศ. 1923 แล้วก็เหลือผู้พูดภาษากรีกแคปพาโดเชียอยู่เพียงไม่กี่คน

ภูมิสัณฐาน

ภูมิภาคแคปพาโดเชียที่มีชื่อเสียงว่ามีภูมิสัณฐานที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองไคย์เซอรี

ฐานของธรณีสัณฐานของแคปพาโดเชียเป็นการทับถมของหินที่มาจากทะเลสาบและลำธาร และ จากการทับถมของวัตถุต่างๆ ที่ระเบิดจากภูเขาไฟ (Ignimbrite) โบราณเมื่อราว 9 ถึง 3 ล้านปีที่ผ่านมาในระหว่างสมัยไมโอซีนจนถึงสมัยไพลโอซีน

หินในภูมิภาคแคปพาโดเชียไม่ไกลจากเกอเรเมถูกกัดกร่อนจากธรรมชาติรายเป็นรูปทรงคล้ายแท่งหรือหอที่มีปลายแหลมบนยอดคล้ายเห็ดอันดูแปลกตา วัตถุที่ระเบิดจากภูเขาไฟเป็นหินที่มีคุณสมบัติที่ง่ายต่อการกัดกร่อนหรือสลักเสลา ที่ทำให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณแคปพาโดเชียใช้ในการขุดคว้านเป็นบ้านเรือนที่อยู่อาศัย, ศาสนสถาน หรือ อารามได้ ซึ่งทำให้เกอเรเมกลายมาเป็นศูนย์กลางของอารามราวระหว่างปี ค.ศ. 300—ค.ศ. 1200

การตั้งถิ่นฐานในยุคแรกในเกอเรเมเริ่มขึ้นในสมัยโรมัน บริเวณนี้ที่ว่านี้เต็มไปด้วยบ้านเรือน, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใต้ดิน และ คริสต์ศาสนสถานที่ขุดเข้าไปในโพรงหิน โบสถ์ในเกอเรเมมีด้วยกันกว่า 30 โบสถ์และโบสถ์นอ้ย บางโบสถ์ก็มีงานจิตรกรรมฝาผนังจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 11 ที่ยังมีความงดงามสดใสอยู่

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

  1. การออกเสียงคำว่า Καππαδοκία
  2. Van Dam, R. Kingdon of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.13. [1]
  3. Room, Adrian. (1997). Placenames of the World. London: MacFarland and Company.
  4. Antiquities of the Jews I:6
  5. Ketubah 13:11 in the Mishna
  6. Holy Zone for Christ: Acts 2:5
  7. Van Dam, R. Kingdom of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.14. [2]
  8. Schlumberger, Un Emperor byzantin au X siècle, Paris, Nicéphore Phocas, Paris, 1890, p. 251
  9. MacEvitt, Christopher (2008). The Crusades and the Christian World of the East: Rough Tolerance. Philadelphia: University of Pennsylvania Press. p. 56.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ แคปพาโดเชีย

แคปพาโดเช, ภาคโบราณแห, งอานาโตเล, ยภ, เขา, aktepe, ไม, ไกลจากเกอเรเมและภ, ภาคเขาห, นแห, มรดกโลกย, เนสโก, ตะว, นออกของอานาโตเล, ยฐานะของภ, ภาค, งอ, สระในร, ปแบบต, างๆ, มาจนถ, งป, 17อด, ตเม, องหลวง, ทท, ชาจ, งหว, ดโรม, กร, Καππαδοκία, ปปาโดเก, งกฤษ, cappadocia, . phumiphakhobranaehngxanaoteliyaekhpphaodechiyphuekha Aktepe imiklcakekxeremaelaphumiphakhekhahinaehngaekhpphaodechiy mrdkolkyuensok thitng tawnxxkkhxngxanaoteliythanakhxngphumiphakh kungxisrainrupaebbtang macnthungpi kh s 17xditemuxnghlwng hththuchacnghwdormn aekhpphaodechiyaekhpphaodechiy krik Kappadokia kppaodekiy 1 xngkvs Cappadocia k ae p e ˈ d oʊ ʃ e aephlngmacakkhainphasakrik Kappadokia Kappadokia khuxphumiphakhtxnklangkhxngpraethsturkithiswnihyxyuincnghwdenfchirxuthyanaehngchatiekxerem aelaphumiphakhekhahinaehngaekhpphaodechiy aehlngmrdkolkodyyuensokpraeths turkiphumiphakh raychuxaehlngmrdkolkinthwipyuorppraephthphsmeknthphicarnai iii v viixangxing357prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiynkh s 1985 khnakrrmkarsmythi 9 chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensok aekhpphaodechiy epnchuxthiprakttlxdmainprawtisastrkhxngkhristsasnaaelaepnchuxthiichodythwipthihmaythungbriewnthiepnthinasnicaeknkthxngethiyw inbribthkhxngphumiphakhxnmikhwamnatuntatunicthangthrrmchati odyechphaaphumisnthanthimilksnaepnaethng khlayhxplxngif hrux ehd plxngifthrrmchati fairy chimney aelaprawtikhwamepnmathangprawtisastrxnepnexklksnkhxngphumiphakhxanaoteliyinsmykhxngehorodths klumchatiphnthuaekhpphaodechiyklawwaepnphuthitngthinthanxyuinphumiphakhtngaetphuekhathxrsipcnthungbriewnyusin thaelda channaekhpphaodechiyinkrninicungmibriewnthangtxnitcrdethuxkekhathxrs thiepnphrmaednthrrmchatithiaeykcaksiliekhiy thangtawnxxkodyaemnayuefrthistxnehnuxaela thirabsungxarmieniy thangtxnehnuxodyphumiphakhphxnths aelathangtawntkodyphumiphakhilekhaeniy aela kaelechiytawnxxk 2 enuxha 1 thima 2 thitngaelaxakas 3 prawti 4 phumisnthan 5 raebiyngphaph 6 xangxing 7 duephim 8 aehlngkhxmulxunthima aekikhhlkthanthangprawtisastrhlkthanaerkthiklawthungaekhpphaodechiyekhiynkhuninstwrrsthi 6 kxnkhristskrach thipraktinkhacaruksamphasa khxngckrphrrdidairxsmharach aela ckrphrrdiesxrsisaehngckrwrrdixkhiemniyahwaepnxanackr hrux dahyu hnungkhxngckrwrrdiepxresiy thieriykepnphasaepxresiyobranwa Katpatuka sungcaehnidchdwaimichtnrakkhxngchuxphasaepxresiyodythwip phasaexlaimth aela phasaxkhkhaediyichchuxthikhlaykhlungkncakphasaxkhkhaediy katpa side thiaephlngmacakchuxbrrphburus Tuka 3 ehorodthsklawwachuxkhxngklumchatiphnthuaekhpphaodechiyepnchuxthichawepxresiyicheriykchnklumdngklawni khnathichawkrikeriykwa chawsieriy hrux chawsieriykhaw Leucosyri chnephahnunginklumchatiphnthuaekhpphaodechiythiehorodthsklawthungkhuxomschxy thinkprawtisastrocsifsklawwamikhwamekiywkhxngkbbukhkhlinphrakhmphiribebilchuxemechkhbutrkhxngyaefth aelaomosekhnikxtngkhunodyomsxkh thipccubnkhuxklumchatiphnthuaekhpphaodechiy 4 5 aekhpphaodechiypraktinphrakhmphiribebilin kickarkhxngxkhrthut 2 9 klumchatiphnthuaekhpphaodechiyklawwaepnklumchnhnungthiidrbkarprakaskhawdicakxkhrthutepnphasakhxngtnexnginethskalephnethkhxstimnanhlngcakkarkhunphrachnmkhxngphraeysu 6 sungepnnyyawachawaekhpphaodechiyepn chawyiwthimikhwamekrngklwinphraeca phayitkarpkkhrxngkhxngckrphrrdiepxresiyxngkhtx maaekhpphaodechiyaebngxxkepnsxngaekhwn Satrap thimisunyklanghnungthiyngkhngichchuxaekhpphaodechiyodynkprawtisastrkrik aetxikaekhwnhnungeriykwa phxnths karaebngaeykniekidkhunkxnsmykhxngesenofn hlngcakkarlmslaykhxngckrwrrdiepxresiyaekhwnsxngaekhwnkyngkhngaeyktwepnxisracakkn aela yngkhngdarngkhwamaetktangcakkntxma aekhpphaodechiymahmaythungcnghwdlukekhaipinaephndin inland province thibangkhrngkeriykwa aekhpphaodechiyihy ethann aelaepnphumiphakhthiennthunginbthkhwamnirachxanackraekhpphaodechiyyngkhngdarngkhwamepnrachxanackrkungxisramacnthungsmykhxngstraob swnsiliekhiyepnchuxthiichsahrbdistrikhththiepnthitngkhxng essaeriysungepnemuxnghlwngkhxngrachxanackr emuxngsxngemuxnginaekhpphaodechiythistraobehnwamikhwamsakhykhux The only two cities of Cappadocia considered by Strabo to deserve that appellation were essaeriy edimeriykwamasakha aela thiyana thitngxyuimiklcakechingekhathxrsthitngaelaxakas aekikh phuekha Erciyes 3 917 emtr sungepnyxdekhathisungthisudinaekhpphaodechiy aekhpphaodechiytngxyuthangtawnxxkkhxngxanaoteliyinbriewntxnklangkhxngpraethsturkipccubn enuxthikhxngphumiphakhthirabsungthimikhwamsungcakradbnathaelkwa 1000 emtrpraipdwyyxdphuekhaif thimiphuekha Erciyesepnyxdekhathisungthisudthisungraw 3 917 emtr phrmaedninprawtisastrkhxngaekhpphaodechiyepnphrmaednthikhlumekhluxodyechphaathangdantawntk thangdanitepnethuxkekhathxrsthiepnphrmaednthrrmchatikbsiliekhiy aelaaeykaekhpphaodechiycakthaelemdietxrereniyn thangdantawntktngxyutidkbphumiphakhilekhaeniythitngxyuthangtawntkechiyngit aelakaelechiythangtawntkechiyngehnux ethuxkekharimfngthaeldaaeykaekhpphaodechiycakphxnthsaelathaelda khnathithangtawnxxkepnaemnayuefrthistxnehnux kxnthiaemnacaeliywipthangtawnxxkechiyngitipyngemosopetemiy aela thirabsungxarmieniy 2 phumiphakhnimienuxthithnghmdthiyaw 400 kiolemtrcaktawnxxkcrdtawntk aela 250 kiolemtrcakehnuxcrdit ephraathitngthixyubnaephndinihyphayinpraethsaelamiradbsungcakradbnathaelmakaekhpphaodechiycungmiphawaxakasaebbphakhphunthwip continental climate thirxnaehnginvdurxn aela hnawphxthicamihimatkinchwngvduhnaw 7 xtrakartkkhxngfnmiradbtaaelaepnbriewnthicdwaepnbriewnkungaehngaelngthungaelng semi arid thung arid prawti aekikh ekxeremthiepnbaneruxnthisrangekhaipinphumisnthanthrrmchatihnaphumithsnxnnaprathbickhxnghubekhaxnetmipdwysisrr bllunxakasrxnehnuxaekhpphaodechiy aethnghinthrrmchatiinaekhpphaodechiy aephnthicakkhriststwrrsthi 15 khxngphumiphakhaekhpphaodechiy baneruxnthiepnswnhnungkhxngphumisnthanthrrmchatiinaekhpphaodechiy khristsasnsthanthiepn sthaptykrrminhinpha Rock cut architecture inaekhpphaodechiy aekhpphaodechiyepnthiruckkninchuxwa htti inplayyukhsaridaelaepnsunyklangthangxanackhxngchnhithithtthimisunyklangxyuthihththucha hlngcakkarlmslaykhxngckrwrrdihithiththaelakhwamesuxmothrmkhxngxarythrrmsieriy aekhpphaodechiyhlngcakkhwamphayaephtxkstriyokhrssaehngliediyinkhriststwrrsthi 6 aelw aekhpphaodechiykpkkhrxngodykhunnangkungrabbskdina thixyuxasykntamthimnthiepnprasathtang odymiiphrtidaephndinepnbriwar sungtxmaepnsphawathiehmaakbkarwiwthnakarmaepnrabbthastangpraeths aekhpphaodechiycdepnaekhwnkhxngckrwrrdiepxresiysmythisamthikxtngkhunodyckrphrrdidairxsmharach aetyngkhngidrbkarxnuyatihmipramukhpkkhrxngtnexng aetkimmiphuidthimixanacmakphxthicapkkhrxngidthngphumiphakh rachxanackraekhpphaodechiyhlngcakxelksanedxrmharachnamasungkarlmslaykhxngckrwrrdiepxresiyaelw phraxngkhkthrngphyayamthicapkkhrxngaekhpphaodechiyodykarsngphuaethnphraxngkhmapkkhrxng aetxaeriyrthisphuepnkhunnangepxresiyklbklaymaepnkstriyaehngaekhpphaodechiyaethnthi xaeriyrthisthi 1 aehngaekhpphaodechiy 332 322 kxnkhristskrach epnphramhakstriyphuthrngphraprichasamarth aelathrngthakarkhyaydinaednkhxngrachxanackraekhpphaodechiyxxkipthungthaelda rachxanackraekhpphaodechiytxyuinkhwamsngbsukhmacnkrathngkaresdcswrrkhtkhxngxelksanedxrmharach emuxckrwrrdithukaebngyxyxxkipepnswn aekhpphaodechiytkipepnkhxngyuemnis yuemniskhunmamixanacodykhwamchwyehluxkhxngkhunphlephxrdikhkhsphuepnphusaercrachkarkhxngxelksanedxrmharachphucbxaeriyrthistrungkangekhn aethlngcakthiephxrdikhkhsthuklxbsnghar aelayuemnisthukpraharchiwit butrchaykhxngxaeriyrthiskidaekhpphaodechiykhun aelathakarpkkhrxngtxmaodykstriythisubechuxsaytxmaemuxmathungrchsmykhxngxaeriyrthisthi 4 aehngkhaaekhpphaodechiy 220 163 kxnkhristskrach aekhpphaodechiykerimmikhwamsmphnthkbormthierimdwykarepnstruinkarepnptipkstxphraecaaexnthioxkhsmharach aelatxmahnmaepnphnthmitrinkartxtanephxresiysaehngmasidxn sungkethakbthrngwangtnepnstrukb ckrwrrdieslusidthiekhythrngsngbrrnakarepnkhrngkhrawxyangetmphraxngkhxaeriyrthisthi 5 aehngaekhpphaodechiy 163 130 kxnkhristskrach thrngnathphrwmkbkngsulormnphiwebliys lisieniys khrass diews muechiynsinkartxsukbyuemnisthi 3 phuxangsiththiinrachbllngkephxrkamxn aetphraxngkhkthrngidrbkhwamphayaephxyangybeyinaelasinphrachnminpi 130 kxnkhristskrach phawakhxngkhwamsbsnwunwaythitammahlngcakkaresiychiwitkhxngxaeriyrthisthi 5 naipsukaraethrkaesngkhxngphxnthsthirungeruxngkhunma aelakarsngkhramthiekidkhunthinamasungkhwamhaynakhxngrachwngsthipkkhrxngaekhpphaodechiy mnthlaekhpphaodechiykhxngormnchawaekhpphaodechiyidrbkarsnbsnuncakorminkarepnokhnmithradisthi 4 aehngphxnths aelaaethnthidwyxrioxbarsanisthi 1 filolormaxixxsaehngaekhpphaodechiy inpi 93 kxnkhristskrach aetinpiediywknkxngthphxarmieniyphayitkarnakhxngphraecaithkraensmharachkthrngnathphekhamarukranaekhpphaodechiy thrngthakarthxdxrioxbarsaniscakrachbllngk aelathrngaetngtngihkxrediysaehngaekhpphaodechiykhunkhrxngepnkstriybriwaraethnthi karsrangaekhpphaodechiykhunepnxanackrbriwarkhxngphraecaithkraenskethakbepnkarsrangbriewnchnwnephuxybyngkhwamkawrawkhxngsatharnrthormnthikhubekhamainphumiphakhemuxormthxdkstriyphxnthsaelakstriyxarmieniycakrachbllngk xarioxbarsanisthi 1 filolormaxixxsaehngaekhpphaodechiycungidklbmakhunkhrxngaekhpphaodechiyxikkhrnghnunginpi 63 kxnkhristskrach inrahwangsngkhramklangemuxngthiekidkhuninormaekhpphaodechiykepliynkarsnbsnuneruxymatngaetsnbsnunpxmephy txmakcueliys sisar txmamarkh aexnothni aelahnmaepnptipksthaythisud rachwngsxrioxbarsanismasinsudlnginsmykhxngxarkhilxsaehngaekhpphaodechiyphuhnunhlngmarkh aexnothni aelahnmaepnptipks phupkkhrxngepnxisramacnkrathngpi 17 kxnkhristskrach emuxckrphrrdiithbieriysthrngldthanakhxngaekhpphaodechiylngmaepnephiyngmnthlkhxngormnhlngcakkarsinphrachnmkhxngxarkhilxsxyangxpys txmaxikepnewlananaekhpphaodechiykklayepnswnhnungkhxngckrwrrdiibaesnithnaekhpphaodechiyprakxbdwyemuxngitdinhlayemuxng duemuxngitdinaehngekhymakhli thiichodychawkhrisetiyninyukhaerkinkarepnthihlbhniphycakkarebiydebiynkhristsasnikchnkxnthisasnakhristcaepnsasnathiidrbkarprakaswaepnsasnapracackrwrrdi pitacaryaehngaekhpphaodechiykhxngkhriststwrrsthi 4 epnxngkhprakxbsakhykhxngprawtisastrethwwithyasasnakhristyukhaerk nkethwwithyasasnakhristkhnsakhykrwmthngcxhnaehngaekhpphaodechiyphuepnxkhrbidraehngkhxnsaetntionepil rahwangpi kh s 517 thung kh s 520 inchwngkarpkkhrxngkhxngckrwrrdiibaesnithn aekhpphaodechiyplxdcakkhwamkhdaeyngkhxngbriewnnikbckrwrrdiaesssanid aetmaepnbriewndinaednphrmaednxnsakhytxmainsmykarphichitdinaednkhxngmuslimtxma aekhpphaodechiyklayepnswnhnungkhxngekhtkarpkkhrxngibaesnithnaehngxarmieniy Armeniac Theme aelatxmaekhtkarpkkhrxngkharesiynxn aelainthisud ekhtkarpkkhrxngibaesnithnaehngaekhpphaodechiy Cappadocia Theme khwamsmphnthrahwangaekhpphaodechiyaelaxarmieniythitngxyutidknepnkhwamsmphnthxnepliynaeplngxyutlxdewla nkprawtisastrxahrbxbu xl farcklawthungchawxarmieniyphutngthinthanxyuthisiwasrahwangkhriststwrrsthi 10 wa siwasinaekhpphaodechiyetmipdwychawxarmieniy thimicanwnmakcnkrathngklayepnswnsakhykhxngkxngthphkhxngrachxanackr kxngthharxarmieniyehlanimihnathiefayamtampxmthisakhy thiyudmaidcakxahrb thharxarmieniymichuxesiyngcakkarepnthharrabphumiprasbkarnaelamkcaaesdngkhwamsamarthinkartxsuxyangklahayaelaprasbkbkhwamsaercekhiyngkhangthharormnhruxthieriykwathharibaesnithn 8 karrnrngkhthangkarthharkhxngibaesnithnaelakarrukrankhxngeslcukhinxarmieniythaihchawxarmieniykhyaytwekhamainaekhpphaodechiyaelaxxkipthangtawnxxkcaksiliekhiyipyngdinaednthiepnhubekhathangtxnehnuxkhxngsieriy aela emosopetemiy cnkrathngidkxtngrachxanackrxarmieniyaehngsiliekhiykhun karxphyphkhxngchawxarmieniyephimcanwnkhunhlngcakkaresuxmothrmxanackhxngckrwrrdiibaesnithn aelakarkhyaytwkhxngxanackrkhruesdhlngsngkhramkhruesdkhrngthi 4 sahrbnkrbkhruesdaelwaekhpphaodechiykhux terra Hermeniorum dinaednkhxngchawxarmieniy ephraaepndinaednthikhnannetmipdwyphutngthinthanchawxarmieniy 9 hlngcakyuththkarmnthisiekhirtinpi kh s 1071 aelwklumturkitang phayitkarnakhxngeslcukhkerimekhamatngthinthaninxanaoteliy karkhxykhyaytwthangxanackhxngeslcukhxyangkhxyepnkhxyipinthisudkthaihaekhpphaodechiyklayepnrthbriwarkhxngrthturkithikxtngkhunthangtawnxxkaelatawntkkhxngphumiphakh aelaprachakrbangswnkhxngbriewnnikepliynipthuxsasnaxislam emuxmathungtxnplaykhxngtnkhriststwrrsthi 12 eslcukhaehngxanaoteliykklayepnphumixanaceddkhadinphumiphakhaekhpphaodechiy txmaemuxxanackhxngeslcukhthitngxyuthikhxnyaxxntwlnginkhrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 13 ebyikhturkiaehngxanaoteliyn Anatolian Turkish Beyliks thimithanxanacxyuthikharamankekhamamixanacaethnthi aelainthisudklumthiwanikmaaethnthidwyckrwrrdixxtotmninchwngkhriststwrrsthi 15 aekhpphaodechiykklayepnswnhnungkhxngckrwrrdixxtotmnepnewlaxikhlayrxypitxma aelainpccubnkepnswnhnungkhxngrthturkipccubn khwamepliynaeplngphunthankhxngphumiphakhniekidkhunemux briewnemuxng Nevsehir idrbkarkxtngkhunihminkhriststwrrsthi 18 odymhaesnabdiphumithinthandngedimmacakbriewnnikxtngkhunepnemuxnghlwngkhxngphumiphakh aelayngkhngepnmacnkrathngthukwnniinkhnaediywknchawaekhpphaodechiykerimepliynipphudphasaturkithiekhiyndwyxksrkrikthieriykwa Karamanlica aelainbriewnthiyngkhngphudphasakrik xiththiphlkhxngphasaturkirxbkhangkerimcaephimkhun phasakrikthiphudkninphumiphakhaekhpphaodechiyeriykknwa phasakrikaebbaekhpphaodechiy hlngcakkaraelkepliynprachakrrahwangkrisaelaturkiinpi kh s 1923 aelwkehluxphuphudphasakrikaekhpphaodechiyxyuephiyngimkikhnphumisnthan aekikhphumiphakhaekhpphaodechiythimichuxesiyngwamiphumisnthanthiepnexklksnthngthangdanphumisastr prawtisastr aela wthnthrrm tngxyuthangtawnxxkechiyngitkhxngemuxngikhyesxrithankhxngthrnisnthankhxngaekhpphaodechiyepnkarthbthmkhxnghinthimacakthaelsabaelalathar aela cakkarthbthmkhxngwtthutang thiraebidcakphuekhaif Ignimbrite obranemuxraw 9 thung 3 lanpithiphanmainrahwangsmyimoxsincnthungsmyiphloxsinhininphumiphakhaekhpphaodechiyimiklcakekxeremthukkdkrxncakthrrmchatirayepnrupthrngkhlayaethnghruxhxthimiplayaehlmbnyxdkhlayehdxnduaeplkta wtthuthiraebidcakphuekhaifepnhinthimikhunsmbtithingaytxkarkdkrxnhruxslkesla thithaihphuthixasyxyuinbriewnaekhpphaodechiyichinkarkhudkhwanepnbaneruxnthixyuxasy sasnsthan hrux xaramid sungthaihekxeremklaymaepnsunyklangkhxngxaramrawrahwangpi kh s 300 kh s 1200kartngthinthaninyukhaerkinekxeremerimkhuninsmyormn briewnnithiwanietmipdwybaneruxn hmuban hmubanitdin aela khristsasnsthanthikhudekhaipinophrnghin obsthinekxeremmidwyknkwa 30 obsthaelaobsthnxy bangobsthkmingancitrkrrmfaphnngcakkhriststwrrsthi 9 thung 11 thiyngmikhwamngdngamsdisxyuraebiyngphaph aekikh aephnthiaesdngthitng phaphthaycakxakas thiwthsnthwip aethnghinthithukkdkrxnehmuxnehd hmubanthikhudekhaipinphuekha baneruxnthikhudekhaipinphahin ophrngthikhudphayinphahin citrkrrmfaphnnginobsthintha citrkrrmfaphnng karnmskarkhxngohracary citrkrrmfaphnng xkhrthut xangxing aekikh karxxkesiyngkhawa Kappadokia 2 0 2 1 Van Dam R Kingdon of Snow Roman rule and Greek culture in Cappadocia Philadelphia University of Pennsylvania Press 2002 p 13 1 Room Adrian 1997 Placenames of the World London MacFarland and Company Antiquities of the Jews I 6 Ketubah 13 11 in the Mishna Holy Zone for Christ Acts 2 5 Van Dam R Kingdom of Snow Roman rule and Greek culture in Cappadocia Philadelphia University of Pennsylvania Press 2002 p 14 2 Schlumberger Un Emperor byzantin au X siecle Paris Nicephore Phocas Paris 1890 p 251 MacEvitt Christopher 2008 The Crusades and the Christian World of the East Rough Tolerance Philadelphia University of Pennsylvania Press p 56 duephim aekikhxanaoteliy silpaaelasthaptykrrmkhrisetiynyukhaerk Kapadokyaaehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb aekhpphaodechiyekhathungcak https th wikipedia org w index php title aekhpphaodechiy amp oldid 9178836, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม