fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน

ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน หรือ สำเนียงกวางเจา คือสำเนียงของภาษากวางตุ้งที่เป็นที่ยอมรับให้เป็นสำเนียงมาตรฐาน ใช้เป็นภาษาราชการที่พูดกันในฮ่องกงและมาเก๊า ทั้งในรัฐบาลและการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษานี้เป็นภาษาประจำถิ่นของเมืองกวางเจา มณฑลกวางตุ้ง และบริเวณโดยรอบทางตอนใต้ของประเทศจีน

ภาษากวางตุ้ง
廣東話
Gwóngdūng wá
คำว่า Gwóngdūng wá เมื่อเขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม (ซ้าย) และอักษรจีนตัวย่อ (ขวา)
ประเทศที่มีการพูดจีน ฮ่องกง มาเก๊า และจีนโพ้นทะเล
ภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูในมณฑลกวางตุ้ง, ทางตะวันออกของกว่างซี
ตระกูลภาษา
จีน-ทิเบต
ภาษาถิ่น
ซีกวาน
ภาษากวางตุ้งถิ่นฮ่องกง
ภาษากวางตุ้งถิ่นมาเลเซีย
ระบบการเขียนตัวเขียนภาษากวางตุ้ง
อักษรเบรลล์ภาษากวางตุ้ง
ตัวเขียนภาษาจีน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ ฮ่องกง
 มาเก๊า
รหัสภาษา
ISO 639-3yue (กลุ่มใหญ่สำหรับภาษาเยฺว่ทั้งหมด)
Linguasphere79-AAA-ma

สัทวิทยา

ภาษากวางตุ้งมาตรฐานสามารถประสมต้นพยางค์ (พยัญชนะต้น) กับท้ายพยางค์ (สระและพยัญชนะสะกด) ได้ประมาณ 630 เสียง โดยไม่นับเสียงวรรณยุกต์

ต้นพยางค์

  ริมฝีปาก ฟันหรือปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
ปกติ ผสมเสียดแทรก ปกติ ห่อริมฝีปาก
เสียงนาสิก /m/
(ม)
/n/
(น)
    /ŋ/
(ง)
   
เสียงกัก
(ไม่ก้อง)
สิถิล /p/
(ป)
/t/
(ต)
/t͡s/
(ตซ คล้าย จ)
  /k/
(ก)
/kʷ/
(กว)
( /ʔ/ )
(อ)
ธนิต /pʰ/
(พ)
/tʰ/
(ท)
/t͡sʰ/
(ทซ คล้าย ช)
  /kʰ/
(ค)
/kʷʰ/
(คว)
 
เสียงเสียดแทรก /f/
(ฟ)
  /s/
(ซ)
      /h/
(ฮ)
เสียงเปิด   /l/
(ล)
  /j/
(ย)
  /w/
(ว)
 

นักภาษาศาสตร์บางท่านจัดว่า /j/ และ /w/ เป็นส่วนหนึ่งของท้ายพยางค์ซึ่งมากับเสียงสระ /i/ และ /u/ ตามลำดับ เหมือนกับภาษาจีนกลาง บางท่านก็วิเคราะห์ว่า /ʔ/ มาจากเสียงสระ เมื่อพยางค์นั้นไม่มีเสียงของพยัญชนะต้น

ในกลุ่มเสียงฐานฟันหรือปุ่มเหงือกสามารถเปลี่ยนแปรไปได้ /t/ กับ /tʰ/ จะอยู่ที่ฐานฟัน ในขณะที่ /t͡s/, /t͡sʰ/, /s/ ซึ่งออกเสียงที่ฐานปุ่มเหงือก.

ผู้ที่พูดภาษากวางตุ้งมาตรฐานบางคนไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง /n/ กับ /l/ โดยจะออกเสียงเป็น /l/ และระหว่าง /ŋ/ กับหน่วยเสียงว่าง ซึ่งก็จะออกเสียงแต่หน่วยเสียงว่าง

ท้ายพยางค์

 
เสียงสระในภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
[aː] (อา) [ɛː] (แอ) [ɔː] (ออ) [œː] (เออ) [iː] (อี) [uː] (อู) [yː] (อวือ)
ยาว สั้น ยาว สั้น ยาว สั้น ยาว สั้น ยาว ยาว ยาว
/-i/, /-y/
(-ย)
[aːi]
(อาย)
[ɐi]
(ไอ)
  [ei]
(เอ็ย)
[ɔːy]
(ออย)
    [ɵy]
(เอย)
  [uːy]
(อูย)
 
/-u/
(-ว)
[aːu]
(อาว)
[ɐu]
(เอา)
[ɛːu]¹
(แอว)
    [ou]
(อว)
    [iːu]
(อีว)
   
/-m/
(-ม)
[aːm]
(อาม)
[ɐm]
(อำ)
[ɛːm]¹
(แอม)
          [iːm]
(อีม)
   
/-n/
(-น)
[aːn]
(อาน)
[ɐn]
(อัน)
[ɛːn]¹
(แอน)
  [ɔːn]
(ออน)
    [ɵn]
(เอิน)
[iːn]
(อีน)
[uːn]
(อูน)
[yːn]
(อวืน)
/-ŋ/
(-ง)
[aːŋ]
(อาง)
[ɐŋ]
(อัง)
[ɛːŋ]
(แอง)
[eŋ]
(เอ็ง)
[ɔːŋ]
(ออง)
[oŋ]
(อง)
[œːŋ]
(เอิง)
       
/-p/
(-บ)
[aːp]
(อาบ)
[ɐp]
(อับ)
[ɛːp]¹
(แอบ)
          [iːp]
(อีบ)
   
/-t/
(-ด)
[aːt]
(อาด)
[ɐt]
(อัด)
[ɛːt]¹
(แอด)
  [ɔːt]
(ออด)
  [œːt]¹
(เอิด)
[ɵt]
(เอิด)
[iːt]
(อีด)
[uːt]
(อูด)
[yːt]
(อวืด)
/-k/
(-ก)
[aːk]
(อาก)
[ɐk]
(อัก)
[ɛːk]
(แอก)
[ek]
(เอ็ก)
[ɔːk]
(ออก)
[ok]
(อก)
[œːk]
(เอิก)
       

และพยางค์นาสิกอีก 2 พยางค์ได้แก่ [m̩] (ทำปาก ม แล้วเปล่งเสียง), [ŋ̩] (ทำปาก ง แล้วเปล่งเสียง)

¹ ท้ายพยางค์ [ɛːu], [ɛːm], [ɛːn], [ɛːp], [ɛːt], [œːt] พบได้เฉพาะภาษาพูดเท่านั้น ซึ่งไม่มีการวิเคราะห์หรือการแทนด้วยอักษรโรมัน

วรรณยุกต์

เสียงวรรณยุกต์ในภาษากวางตุ้งมาตรฐานมี 6 เสียง ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนดั้งเดิมสอนว่ามี 9 เสียง แต่ก็มี 3 เสียงที่ซ้ำกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าพยางค์นั้นเป็นพยางค์เปิด (คำเป็น) หรือพยางค์ปิด (คำตาย)

พยางค์ พยางค์เปิด พยางค์ปิด
หมายเลข 1 2 3 4 5 6 7 (หรือ 1) 8 (หรือ 3) 9 (หรือ 6)
ระดับเสียง สูง,
สูง-กลาง
กลาง-สูง กลาง กลาง-ต่ำ,
ต่ำ
ต่ำ-กลาง กึ่งต่ำ สูง กลาง กึ่งต่ำ
ตัวอย่าง
เสียงอ่าน /si˥/,
/si˥˧/
/si˧˥/ /si˧/ /si˨˩/,
/si˩/
/si˩˧/ /si˨/ /sek˥/ /sɛk˧/ /sek˨/
กำกับเครื่องหมาย , si̖, sı̏ si̗ sék sɛ̄k sèk
ระบบเยล sī, sì si sīh, sìh síh sih sīk sek sihk
เสียง

ดูเพิ่ม

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษากวางตุ้งมาตรฐาน

อ้างอิง

ภาษากวางต, งมาตรฐาน, หร, สำเน, ยงกวางเจา, อสำเน, ยงของภาษากวางต, งท, เป, นท, ยอมร, บให, เป, นสำเน, ยงมาตรฐาน, ใช, เป, นภาษาราชการท, ดก, นในฮ, องกงและมาเก, งในร, ฐบาลและการเร, ยนการสอนในโรงเร, ยน, ภาษาน, เป, นภาษาประจำถ, นของเม, องกวางเจา, มณฑลกวางต, และบร, เวณ. phasakwangtungmatrthan hrux saeniyngkwangeca khuxsaeniyngkhxngphasakwangtungthiepnthiyxmrbihepnsaeniyngmatrthan ichepnphasarachkarthiphudkninhxngkngaelamaeka thnginrthbalaelakareriynkarsxninorngeriyn phasaniepnphasapracathinkhxngemuxngkwangeca mnthlkwangtung aelabriewnodyrxbthangtxnitkhxngpraethscinphasakwangtung廣東話 Gwongdung wakhawa Gwongdung wa emuxekhiyndwyxksrcintwetm say aelaxksrcintwyx khwa praethsthimikarphudcin hxngkng maeka aelacinophnthaelphumiphakhsamehliympakaemnacuinmnthlkwangtung thangtawnxxkkhxngkwangsitrakulphasacin thiebt klumphasacinphasaciney wey wihphasakwangtungphasathinkwangocw sikwan phasakwangtungthinhxngkng phasakwangtungthinmaelesiyrabbkarekhiyntwekhiynphasakwangtungxksrebrllphasakwangtungtwekhiynphasacinsthanphaphthangkarphasathangkar hxngkng maekarhsphasaISO 639 3yue klumihysahrbphasaey wthnghmd Linguasphere79 AAA ma enuxha 1 sthwithya 1 1 tnphyangkh 1 2 thayphyangkh 1 3 wrrnyukt 2 duephim 3 xangxingsthwithya aekikhphasakwangtungmatrthansamarthprasmtnphyangkh phyychnatn kbthayphyangkh sraaelaphyychnasakd idpraman 630 esiyng odyimnbesiyngwrrnyukt tnphyangkh aekikh rimfipak fnhruxpumehnguxk ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngpkti phsmesiydaethrk pkti hxrimfipakesiyngnasik m m n n ŋ ng esiyngkk imkxng sithil p p t t t s ts khlay c k k kʷ kw ʔ x thnit pʰ ph tʰ th t sʰ ths khlay ch kʰ kh kʷʰ khw esiyngesiydaethrk f f s s h h esiyngepid l l j y w w nkphasasastrbangthancdwa j aela w epnswnhnungkhxngthayphyangkhsungmakbesiyngsra i aela u tamladb ehmuxnkbphasacinklang bangthankwiekhraahwa ʔ macakesiyngsra emuxphyangkhnnimmiesiyngkhxngphyychnatninklumesiyngthanfnhruxpumehnguxksamarthepliynaepripid t kb tʰ caxyuthithanfn inkhnathi t s t sʰ s sungxxkesiyngthithanpumehnguxk phuthiphudphasakwangtungmatrthanbangkhnimsamarthaeykaeyakhwamaetktangrahwang n kb l odycaxxkesiyngepn l aelarahwang ŋ kbhnwyesiyngwang sungkcaxxkesiyngaethnwyesiyngwang thayphyangkh aekikh esiyngsrainphasakwangtungmatrthan aː xa ɛː aex ɔː xx œː exx iː xi uː xu yː xwux yaw sn yaw sn yaw sn yaw sn yaw yaw yaw i y y aːi xay ɐi ix ei exy ɔːy xxy ɵy exy uːy xuy u w aːu xaw ɐu exa ɛːu aexw ou xw iːu xiw m m aːm xam ɐm xa ɛːm aexm iːm xim n n aːn xan ɐn xn ɛːn aexn ɔːn xxn ɵn exin iːn xin uːn xun yːn xwun ŋ ng aːŋ xang ɐŋ xng ɛːŋ aexng eŋ exng ɔːŋ xxng oŋ xng œːŋ exing p b aːp xab ɐp xb ɛːp aexb iːp xib t d aːt xad ɐt xd ɛːt aexd ɔːt xxd œːt exid ɵt exid iːt xid uːt xud yːt xwud k k aːk xak ɐk xk ɛːk aexk ek exk ɔːk xxk ok xk œːk exik aelaphyangkhnasikxik 2 phyangkhidaek m thapak m aelweplngesiyng ŋ thapak ng aelweplngesiyng thayphyangkh ɛːu ɛːm ɛːn ɛːp ɛːt œːt phbidechphaaphasaphudethann sungimmikarwiekhraahhruxkaraethndwyxksrormnwrrnyukt aekikh esiyngwrrnyuktinphasakwangtungmatrthanmi 6 esiyng thungaemwakareriynkarsxndngedimsxnwami 9 esiyng aetkmi 3 esiyngthisakn sungkhunxyukbwaphyangkhnnepnphyangkhepid khaepn hruxphyangkhpid khatay phyangkh phyangkhepid phyangkhpidhmayelkh 1 2 3 4 5 6 7 hrux 1 8 hrux 3 9 hrux 6 radbesiyng sung sung klang klang sung klang klang ta ta ta klang kungta sung klang kungtatwxyang 詩 史 試 時 市 是 識 錫 食esiyngxan si si si si si si si si sek sɛk sek kakbekhruxnghmay si si sǐ si si si si si sek sɛ k sekrabbeyl si si si si sih sih sih sih sik sek sihkesiyngduephim aekikh wikiphiediy saranukrmesri inphasakwangtungmatrthanxangxing aekikh bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasakwangtungmatrthan amp oldid 9738101, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม