fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาบูรุศซัสกี

วิกิมีเดีย อินคิวเบเตอร์ มีการทดสอบโครงการ:
วิกิพีเดียในภาษาบูรุศซัสกี

ภาษาบูรุศซัสกี (Burushaski ภาษาอูรดู: بروشسکی – burū́šaskī) เป็นภาษาโดดเดี่ยวที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาใดๆในโลก มีผู้พูดราว 87,000 คน (พ.ศ. 2543) โดยชาวบุรุศโศในฮันซา นาคัร ยาซินและบางส่วนของหุบเขากิลกิตในภาคเหนือของปากีสถาน มีผู้พูดราว 300 คนในศรีนคร ประเทศอินเดีย ชื่ออื่นๆของภาษานี้คือ ภาษากันชุต ภาษาเวอร์ชิกวรร ภาษาบูรุศกี และภาษามิยาสกี

ภาษาบูรุศซัสกี
ประเทศที่มีการพูดปากีสถาน
ภูมิภาคกิลกิต-บัลติสถาน, แคชเมียร์
ชาติพันธุ์ชาวบูรุศโศ
จำนวนผู้พูด87,000 คนในปากีสถาน  (2000)
ตระกูลภาษา
Language isolate
รหัสภาษา
ISO 639-3bsk
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ปัจจุบัน ภาษาบูรุศซัสกีมีคำยืมจากภาษาอูรดูมาก (รวมทั้งคำยืมจากภาษาอังกฤษและภาษาสันสกฤตที่รับผ่านภาษาอูรดู) และมาจากภาษาเพื่อนบ้านเช่นกลุ่มภาษาดาร์ดิก เช่น ภาษาโคชวาร์และภาษาซีนา และมีบางส่วนมาจากกลุ่มภาษาเตอร์กิก และจากภาษาบัลติ ภาษาวาคี ภาษาปาทาน แต่ก็มีคำศัพท์ดั้งเดิมอยู่เป็นจำนวนมาก กลุ่มภาษาดาร์ดิกเองก็มีการยิมคำไปจากภาษาบูรุศซัสกี ภาษานี้มีสำเนียงหลักๆ 3 สำเนียงแบ่งตามหุบเขาที่อาศัยอยู่คือ ฮันซา นคร และยาซิน สำเนียงยาซินได้รับอิทธิพลจากภาษาเพื่อนบ้านน้อยที่สุดและต่างจากอีกสองสำเนียงมาก แต่ทั้งสามสำเนียงยังเข้าใจกันได้

ความสัมพันธ์

ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างภาษาบูรุศซัสกีกับภาษาใดๆ มีความพยายามที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาบูรุศซัสกีกับกลุ่มภาษาคอเคซัส หรือในสมมติฐานเคเน-คอเคเซียน George van Driem พยายามหาความสัมพันธ์ของภาษาบูรุศซัสกีกับภาษาเยนิสเซียนเพื่อตั้งเป็นตระกูลภาษาการาซุก อย่างไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2551ได้พบความสัมพันธ์ระหว่างภาษาเยนิสเซียนกับภาษาเดเนในตระกูลภาษาเดเน-เยนิสเซียนและยังไม่พบหลักฐานแสดงความสัมพันธ์กับภาษาบูรุศซัสกี นอกจากนั้น ยังพยายามเชื่อมโยงภาษาบูรุศซัสกีกับกลุ่มภาษาปาเลโอ-บัลกันและกลุ่มภาษาบัลโต-สลาฟแต่ก็ไม่มีหลักฐานเพียงพอ

ระบบการเขียน

ภาษาบูรุศซัสกีไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง มีการใช้อักษรอาหรับสำหรับภาษาอูรดูแต่ระบบการออกเสียงไม่ได้กำหนดแน่นอน นาซีร อัลดิน นาซิร ฮุนไซ เขียนบทกวีภาษาบูรุศซัสกีโดยใช้ตัวอักษรของภาษาอูรดู เอกสารภาษาทิเบตได้บันทึกภาษาบรูซาจากหุบเขากิลกิตซึ่งปัจจุบันคือภาษาบูรุศซัสกี เชื่อว่าภาษาบรูซาได้นำลัทธิบอนเข้าสู่ทิเบตและเอเชียกลาง อักษรของพวกเขาอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรทิเบตแต่ไม่มีอักษรของภาษาบรูซาเหลืออยู่ในปัจจุบัน

นักภาษาศาสตร์ที่ศึกษาภาษาบูรุศซัสกีใช้อักษรละตินในการถ่ายเสียงภาษาบูรุศซัสกีต่างกัน แบบที่แพร่หลายที่สุดเป็นแบบของ Berger พจนานุกรมภาษาบูรุศซัสกี-อูรดูใช้ระบบนี้

สัทวิทยา

ภาษาบูรุศซัสกีมีสระ 5 เสียงคือ /i e a o u/ เป็นสระเสียงยาว โดยสระที่เน้นจะออกเสียงยาวและเปิดน้อยกว่าสระที่ไม่เน้น [i e a o u] กลายเป็น [ɪ ɛ ʌ ɔ ʊ] สระทุกตัวมีเสียงนาสิกในสำเนียงฮันซาและนาคร

Bilabial Dental Alveolo-
palatal
Retroflex Velar Uvular Glottal
Nasal m /m/ n /n/ /ŋ/
Plosive aspirated ph /pʰ/ th /tʰ/ ṭh /ʈʰ/ kh /kʰ/ qh /qʰ/
plain p /p/ t /t/ /ʈ/ k /k/ q /q/
เสียงก้อง b /b/ d /d/ /ɖ/ g /ɡ/
Affricate aspirated ch /t͡sʰ/ ćh /t͡ɕʰ/ c̣h /ʈ͡ʂʰ/
plain c /t͡s/ ć /t͡ɕ/ /ʈ͡ʂ/
voiced j /d͡ʑ/ /ɖ͡ʐ/
Fricative เสียงไม่ก้อง s /s/ ś /ɕ/ /ʂ/ h /h/
ก้อง z /z/ ġ /ʁ/
Trill r /r/
Approximant l /l/ y [j] /ɻ/ w [w]

ไวยากรณ์

ภาษาบูรุศซัสกีเป็นภาษาที่มีเครื่องหมายสองชั้นและการเรียงคำในประโยคเป็นประธาน-กรรม-กริยา คำนามแบ่งเป็นสี่เพศคือ ชาย หญิง สิ่งของนับได้ และสิ่งของนับไม่ได้ บางคำเป็นทั้งนามนับได้และนามนับไม่ได้ ทำให้มีความหมายต่างกัน เช่น /balt/ หมายถึงแอปเปิล โดยถ้าเป็นนามนับได้ หมายถึง ผลแอปเปิ้ล แต่ถ้าเป็นนามนับไม่ได้หมายถึงต้นแอปเปิล

โครงสร้างของคำนามประกอบด้วยรากศัพท์ของคำนาม อุปสรรคแสดงความเป็นเจ้าของ จำนวน และปัจจัยแสดงการก จำแนกนามตามจำนวนเป็น เอกพจน์ พหูพจน์ จำแนกไม่ได้ และเป็นกลุ่ม การกได้แก่ การกสัมบูรณ์ การกเกี่ยวพัน การกแสดงความเป็นเจ้าของ และการกแสดงสถานที่ ซึ่งเป็นได้ทั้งการแสดงตำแหน่งและทิศทาง

คำกริยาภาษาบูรุศซัสกีมีส่วนพื้นฐานสามส่วนคือ อดีตกาล ปัจจุบันกาลและความสอดคล้อง รูปอดีตเป็นรูปอ้างอิงและใช้สำหรับมาลาเชิงบังคับและการทำโดยในนาม รูปสอดคล้องคล้ายกับ past participle กริยาแต่ละตัวจะมีอุปสรรคได้ 4 ตำแหน่งและปัจจัย 6 ตำแหน่ง

คำนาม

ระดับของนาม

ในภาษาบูรุศซัสกี มีคำนาม 4 ระดับซึ่งใกล้เคียงกับเพศในกลุ่มภาษาอินโด-ยุโรเปียนได้แก่

  • m > ผู้ชาย , พระเจ้าและวิญญาณ
  • f > ผู้หญิงและวิญญาณ
  • x > สัตว์ นามนับได้
  • y > นามธรรม ของเหลว นามนับไม่ได้

นอกจากนี่ยังมีระดับผสม h คือการรวมกันของ m และ f และระดับ hx คือการรวมกับของ m f และ x คำนามระดับ x ส่วนใหญ่หมายถึงสิ่งที่นับได้ สิ่งของ เช่น สัตว์ ผลไม้ ก้อนหิน ไข่ หรือเหรียญ คำนามระดับ y หมายถึงนามธรรมหรือนับไม่ได้ เช่น ข้าว ไฟ น้ำ หิมะ สำลี แต่กฎนี้ไม่ได้ตายตัวเสมอไป คำบางคำเป็นทั้งนามนับได้และนับไม่ได้ เช่น ha “บ้าน” คำที่ใกล้เคียงกัน ถ้าอยู่ในระดับต่างกันจะมีความหมายต่างกัน เช่น bayú ถ้าอยู่ในระดับ x หมายถึงเกลือเป็นกองๆ แต่ถ้าอยู่ในระดับ y หมายถึงผงเกลือ ผลไม้แต่ละผลอยู่ในระดับ x แต่ต้นไม้จะอยู่ในระดับ y กรรมจะมีเครื่องหมายแสดงว่าอยู่ในระดับ x หรือ y คำนำหน้านามคำคุณศัพท์ จำนวนจะขึ้นกับระดับของนามที่เป็นประธาน

การทำให้เป็นพหูพจน์

นามเอกพจน์ในภาษาบูรุศซัสกีไม่มีเครื่องหมาย ในขณะที่นามพหูพจน์แสดงโดยการเติมปัจจัย ซึ่งต่างไปตามระดับของคำนาม

  • h-class > ปัจจัยได้แก่ : -ting, -aro, -daro, -taro, -tsaro
  • h- และ x-class > ปัจจัยได้แก่ : -o, -išo, -ko, -iko, -juko; -ono, -u; -i, -ai; -ts, -uts, -muts, -umuts; -nts, -ants, -ints, -iants, -ingants, -ents, -onts
  • y-class > ปัจจัยได้แก่ : -ng, -ang, -ing, -iang; -eng, -ong, -ongo; -ming, -čing, -ičing, -mičing, -ičang (สำเนียงนาคัร)

คำนามบางคำมีอุปสรรคได้ 2-3 แบบในขณะทีบางคำมีเฉพาะรูปพหูพจน์ เช่น bras “ข้าว” gur “ข้าวสาลี” bishké ขนเฟอร์ มีคำที่มีรูปเดียวทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ด้วย เช่น hagúr ม้าตัวเดียว หรือม้าหลายตัว คำคุณศัพท์มีรูปพหูพจน์ที่ต่างไปขึ้นกับคำนามที่ขยาย เช่น burúm “ขาว” ถ้ากับนาม x พหูพจน์เป็น burum-išo นาม y พหูพจน์เป็น burúm-ing

การผันคำ

ภาษาบูรุศซัสกีเป็นภาษาแบบเกี่ยวพัน มี 5 การก

การก ปัจจัย การทำงาน
การกสัมบูรณ์ ไม่มีเครื่องหมาย ประธานของอกรรมกิริยาและกรรมของสกรรมกิริยา
การกเกี่ยวพัน -e ประธานของสกรรมกิริยา
การกแสดงความเป็นเจ้าของ -e; -mo (f) แสดงความเป็นเจ้าของ
การกกรรมรอง -ar, -r กรรมรอง, allative.
Ablative -um, -m, -mo บ่งชี้การแยก(เช่น มาจาก)


ปัจจัยของการกขึ้นกับปัจจัยพหูพจน์ เช่น Huséiniukutse “ประชาชนของฮุสเซน” คำลงท้ายแสดงความเป็นเจ้าของเป็น /mo/ สำหรับ f- เอกพจน์ แต่เป็น /-e/ ในการกอื่นๆ การลงท้ายของการเป็นกรรมโดยอ้อม /-ar/, /-r/ จะอยู่ติดกับการลงท้ายแสดงความเป็นเจ้าของของนาม f- เอกพจน์ ตัวอย่างเช่น:

  • hir-e ของผู้ชาย, gus-mo ของผู้หญิง (gen.)
  • hir-ar ต่อผู้ชาย, gus-mu-r ต่อผู้หญิง (dat.)

การแสดงความเป็นเจ้าของจะวางก่อนสิ่งที่ถูกถือครอง เช่น: Hunzue tham, 'the Emir of Hunza.' การลงท้ายของการกทุติยภูมิเกิดจากปัจจัยการกทุติยภูมิ (หรืออาคม) และการลงท้ายปฐมภูมิ /-e/, /-ar/ or /-um/. การลงท้ายนี้เป็นการบอกทิศทาง, /-e/ เป็นการบอกตำแหน่ง /-ar/ เป็นการบอกจุดหมาย /-um/ เป็นการบอกที่มา อาคมที่ใช้มีความหมายดังต่อไปนี้

  • /-ts-/ ที่
  • /-ul-/ ใน
  • /-aţ-/ บน ด้วย
  • /-al-/ ใกล้ (เฉพาะสำเนียงฮันซา )

การลงท้ายด้วย /-ul-e/ และ /-ul-ar/ เป็นรูปแบบโบราณ ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย /-ul-o/ and /-ar-ulo ตามลำดับ

คำสรรพนาม

คำนามที่แสดงส่วนต่างๆของร่างกายและแสดงความสัมพันธ์ทางเครือญาติจะไม่ใช้เดี่ยวๆแต่จะใช้คู่กับคำแสดงความเป็นเจ้าของเสมอ เช่นจะไม่พูดว่า แขน แม่ พ่อ อย่างเดียวในภาษาบูรุศวัสกี แต่จะพูด แขนของฉัน แม่ของคุณ พ่อของเขา รากศัพท์ mi 'แม่' ไม่อยู่เดี่ยวๆ แต่จะพบในรูป i-mi “แม่ของเขา” , mu-mi “แม่ของพวกเขา u-mi แม่ของคุณ คำสรรพนามในภาษาบูรุศซัสกีจะจำแนกตามระยะห่างด้วย เช่น khin “เขาอยู่ที่นี่” แต่ in, เขาอยู่ที่นั่น

ตัวเลข

ระบบตัวเลขของภาษาบูรุศซัสกีเป็นฐานยี่สิบ เช่น 20 altar, 40 alto-altar (2 x 20), 60 iski-altar (3 x 20)

  • ตัวเลขพื้นฐานคือ 1 hin (หรือ han, hik), 2 altán (or altó), 3 iskén (or uskó), 4 wálto, 5 čundó, 6 mishíndo, 7 thaló, 8 altámbo, 9 hunchó, 10 tóorumo (also toorimi and turma) และ100 tha.
  • ตัวอย่างเลขประสม: 11 turma-hin, 12 turma-altan, 13 turma-isken, ..., 19 turma-hunti; 20 altar, 30 altar-toorimi, 40 alto-altar, 50 alto-altar-toorimi, 60 iski-altar 21 altar-hik, 22 altar-alto, 23 altar-iski

คำกริยา

โครงสร้างคำกริยาของภาษาบูรุศซัสกีมีความซับซ้อน และมีหลายรูปแบบ มีการเปลี่ยนเสียงได้หลายแบบ กริยาแท้ของภาษาบูรุศซัสกีบ่างเป็นหมวดหมู่ได้ดังนี้

กริยา 11 ตำแหน่ง

คำกริยาสามารถสร้างขึ้นด้วยระบบที่ซับซ้อน Berger ได้อธิบายเกี่ยวกับคำกริยา 11 ตำแหน่ง รากศัพท์ของคำกริยาอยู่ตำแหน่งที่ 5 นำหน้าด้วยอุปสรรคที่เป็นไปได้ 4 ตำแหน่ง และปัจจัยที่เป็นไปได้ 7 ตำแหน่ง

ตำแหน่ง อุปสรรค/ปัจจัยและความหมาย
1 อุปสรรคปฏิเสธ a-
2a/b อุปสรรค d- (สร้างอกรรมกริยา) / อุปสรรค n- (อุปสรรคสัมบูรณ์)
3 Pronominal prefixes: ประธานของอกรรมกิริยา กรรมของสกรรมกิริยา
4 อุปสรรค s- (สร้างสกรรมกิริยาทุติยภูมิ)
5 รากศัพท์
6 ปัจจัยพหูพจน์ -ya- ที่รากศัพท์
7 เครื่องหมายปัจจุบัน -č- (หรือ š, ts..) สร้างรูปปัจจุบัน อนาคต และ ไม่สมบูรณ์
8a/b Pronominal suffix ของบุรุษที่ 1 เอกพจน์ -a- (ประธาน) / linking vowel (no semantic meaning)
9a ปัจจัย m-: forms the m-participle and m-optative from the simple /
9b m-suffix: สร้างรูปอนาคตและสภาวะสำหรับปัจจบัน /
9c n-suffix: เครื่องหมายสัมบูรณ์ (ดูตำแหน่งที่ 2) /
9d š-suffix: forms the š-optative and the -iš-Infinitive /
9e Infinitive ending -as, -áas / optative suffix -áa (เติมที่รากศัพท์โดยตรง)
10a Pronominal suffixes ของบุรุษที่ 2 และ 3 บุรุษที่ 1 (ประธาน) /
10b รูปออกคำสั่ง (เติมที่รากศัพท์โดยตรง) /
10c รูปของกริยาช่วย ba- สร้างรูปปัจจุบัน อนาคต อดีตสมบูรณ์ และไม่สมบูรณ์
11 Nominal endings and particles

อ้างอิง

  1. ภาษาบูรุศซัสกี at Ethnologue (16th ed., 2009)
  2. Burushaski language, Encyclopædia Britannica online
  3. http://linguistlist.org/pubs/diss/browse-diss-action.cfm?DissID=14723
  4. http://repositories.lib.utexas.edu/bitstream/handle/2152/2777/munshis96677.pdf?sequence=2
  5. Hermann Berger. Encyclopaedia Iranica: Burushaski
  6. George van Driem (2001) Languages of the Himalayas: An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region, Brill
  7. John Bengtson, Some features of Dene–Caucasian phonology (with special reference to Basque). Cahiers de l’Institut de Linguistique de Louvain (CILL) 30.4: 33-54,
  8. John Bengtson and V. Blazek, "Lexica Dene–Caucasica". Central Asiatic Journal 39, 1995, 11-50 & 161-164
  9. George van Driem, Languages of the Himalayas, Brill 2001:921
  • Anderson, Gregory D. S. 1997. Burushaski Morphology. Pages 1021–1041 in volume 2 of Morphologies of Asia and Africa, ed. by Alan Kaye. Winona Lake, IN: Eisenbrauns.
  • Anderson, Gregory D. S. 1999. M. Witzel’s "South Asian Substrate Languages" from a Burushaski Perspective. Mother Tongue (Special Issue, October 1999).
  • Anderson, Gregory D. S. forthcoming b. Burushaski. In Language Islands: Isolates and Microfamilies of Eurasia, ed. by D.A. Abondolo. London: Curzon Press.
  • Backstrom, Peter C. Burushaski in Backstrom and Radloff (eds.), Languages of northern areas, Sociolinguistic Survey of Northern Pakistan, 2. Islamabad, National Institute of Pakistan Studies, Qaid-i-Azam University and Summer Institute of Linguistics (1992), 31-54.
  • Bashir, Elena. 2000. A Thematic Survey of Burushaski Research. History of Language 6.1: 1–14.
  • Berger, Hermann. 1956. Mittelmeerische Kulturpflanzennamen aus dem Burušaski [Names of Mediterranean cultured plants from B.]. Münchener Studien zur Sprachwissenschaft 9: 4-33.
  • Berger, Hermann. 1959. Die Burušaski-Lehnwörter in der Zigeunersprache [The B. loanwords in the Gypsy language]. Indo-Iranian Journal 3.1: 17-43.
  • Berger, Hermann. 1974. Das Yasin-Burushaski (Werchikwar). Volume 3 of Neuindische Studien, ed. by Hermann Berger, Lothar Lutze and Günther Sontheimer. Wiesbaden: Otto Harrassowitz.
  • Berger, Hermann. 1998. Die Burushaski-Sprache von Hunza und Nager [The B. language of H. and N.]. Three volumes: Grammatik [grammar], Texte mit Übersetzungen [texts with translations], Wörterbuch [dictionary]. Altogether Volume 13 of Neuindische Studien (ed. by Hermann Berger, Heidrun Brückner and Lothar Lutze). Wiesbaden: Otto Harassowitz.
  • Casule, Ilija. 2010. Burushaski as an Indo-European language. Languages of the World 38. Munich: Lincom.
  • Casule, Ilija. 2003. Evidence for the Indo-European laryngeals in Burushaski and its genetic affiliation with Indo-European. The Journal of Indo-European Studies 31:1–2, pp 21–86.
  • van Driem, George. 2001. Languages of the Himalayas: An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region, containing an Introduction to the Symbiotic Theory of Language (2 vols.). Leiden: Brill.
  • Greenberg, Joseph H., and Merritt Ruhlen. 1992. Linguistic Origins of Native Americans. Scientific American 267(5): 94–99.
  • Grune, Dick. 1998. Burushaski – An Extraordinary Language in the Karakoram Mountains.
  • Lorimer, D. L. R. 1935–1938. The Burushaski Language (3 vols.). Oslo: Instituttet for Sammenlignende Kulturforskning.
  • Morgenstierne, Georg. 1945. Notes on Burushaski Phonology. Norsk Tidsskrift for Sprogvidenskap 13: 61–95.
  • Munshi, Sadaf. 2006. Jammu and Kashmir Burushaski: Language, language contact, and change. Unpublished Ph.D. Dissertation. Austin: University of Texas at Austin, Department of Linguistics.
  • van Skyhawk, Hugh. 1996. Libi Kisar. Ein Volksepos im Burushaski von Nager. Asiatische Studien 133. ISBN 3-447-03849-7.
  • van Skyhawk, Hugh. 2003. Burushaski-Texte aus Hispar. Materialien zum Verständnis einer archaischen Bergkultur in Nordpakistan. Beiträge zur Indologie 38. ISBN 3-447-04645-7.
  • Starostin, Sergei A. 1996. Comments on the Basque–Dene–Caucasian Comparisons. Mother Tongue 2: 101–109.
  • Tiffou, Étienne. 1993. Hunza Proverbs. University of Calgary Press. ISBN 1-895176-29-8
  • Tiffou, Étienne. 1999. Parlons Bourouchaski. Paris: L'Harmattan. ISBN 2-7384-7967-7
  • Tiffou, Étienne. 2000. Current Research in Burushaski: A Survey. History of Language 6(1): 15–20.
  • Tikkanen, Bertil. 1988. On Burushaski and other ancient substrata in northwest South Asia. Studia Orientalia 64: 303–325.
  • Varma, Siddheshwar. 1941. Studies in Burushaski Dialectology. Journal of the Royal Asiatic Society of Bengal, Letters 7: 133–173.
  • Witzel, Michael. 1999. Early Sources for South Asian Substrate Languages. Mother Tongue (Special Issue, October 1999): 1–70.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • SIL Ethnologue entry

ภาษาบ, ศซ, สก, เด, นค, วเบเตอร, การทดสอบโครงการ, เด, ยใน, burushaski, ภาษาอ, รด, بروشسکی, burū, šaskī, เป, นภาษาโดดเด, ยวท, ไม, ความเก, ยวข, องก, บภาษาใดๆในโลก, ดราว, คน, 2543, โดยชาวบ, ศโศในฮ, นซา, นาค, ยาซ, นและบางส, วนของห, บเขาก, ลก, ตในภาคเหน, อของปาก, สถ. wikimiediy xinkhiwebetxr mikarthdsxbokhrngkar wikiphiediyinphasaburussski phasaburussski Burushaski phasaxurdu بروشسکی buru saski epnphasaoddediywthiimmikhwamekiywkhxngkbphasaidinolk 2 miphuphudraw 87 000 khn ph s 2543 odychawburusosinhnsa nakhr yasinaelabangswnkhxnghubekhakilkitinphakhehnuxkhxngpakisthan miphuphudraw 300 khninsrinkhr praethsxinediy 3 4 chuxxunkhxngphasanikhux phasaknchut phasaewxrchikwrr phasaburuski aelaphasamiyaskiphasaburussskipraethsthimikarphudpakisthanphumiphakhkilkit bltisthan aekhchemiyrchatiphnthuchawburusoscanwnphuphud87 000 khninpakisthan 2000 1 trakulphasaLanguage isolaterhsphasaISO 639 3bskbthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhdpccubn phasaburussskimikhayumcakphasaxurdumak rwmthngkhayumcakphasaxngkvsaelaphasasnskvtthirbphanphasaxurdu aelamacakphasaephuxnbanechnklumphasadardik echn phasaokhchwaraelaphasasina aelamibangswnmacakklumphasaetxrkik aelacakphasablti phasawakhi phasapathan 5 aetkmikhasphthdngedimxyuepncanwnmak klumphasadardikexngkmikaryimkhaipcakphasaburussski phasanimisaeniynghlk 3 saeniyngaebngtamhubekhathixasyxyukhux hnsa nkhr aelayasin saeniyngyasinidrbxiththiphlcakphasaephuxnbannxythisudaelatangcakxiksxngsaeniyngmak aetthngsamsaeniyngyngekhaicknid enuxha 1 khwamsmphnth 2 rabbkarekhiyn 3 sthwithya 4 iwyakrn 5 khanam 5 1 radbkhxngnam 5 2 karthaihepnphhuphcn 5 3 karphnkha 6 khasrrphnam 7 twelkh 8 khakriya 8 1 kriya 11 taaehnng 9 xangxing 10 aehlngkhxmulxunkhwamsmphnth aekikhimphbkhwamsmphnthrahwangphasaburussskikbphasaid mikhwamphyayamthicahakhwamsmphnthrahwangphasaburussskikbklumphasakhxekhss hruxinsmmtithanekhen khxekhesiyn George van Driem phyayamhakhwamsmphnthkhxngphasaburussskikbphasaeynisesiynephuxtngepntrakulphasakarasuk 6 xyangirktam in ph s 2551idphbkhwamsmphnthrahwangphasaeynisesiynkbphasaedenintrakulphasaeden eynisesiyn 7 8 aelayngimphbhlkthanaesdngkhwamsmphnthkbphasaburussski nxkcaknn yngphyayamechuxmoyngphasaburussskikbklumphasapaelox blknaelaklumphasablot slafaetkimmihlkthanephiyngphxrabbkarekhiyn aekikhphasaburussskiimmirabbkarekhiynepnkhxngtnexng mikarichxksrxahrbsahrbphasaxurduaetrabbkarxxkesiyngimidkahndaennxn nasir xldin nasir hunis ekhiynbthkwiphasaburussskiodyichtwxksrkhxngphasaxurdu exksarphasathiebtidbnthukphasabrusacakhubekhakilkitsungpccubnkhuxphasaburussski echuxwaphasabrusaidnalththibxnekhasuthiebtaelaexechiyklang xksrkhxngphwkekhaxacepntnkaenidkhxngxksrthiebtaetimmixksrkhxngphasabrusaehluxxyuinpccubn 9 nkphasasastrthisuksaphasaburussskiichxksrlatininkarthayesiyngphasaburussskitangkn aebbthiaephrhlaythisudepnaebbkhxng Berger phcnanukrmphasaburussski xurduichrabbnisthwithya aekikhphasaburussskimisra 5 esiyngkhux i e a o u epnsraesiyngyaw odysrathienncaxxkesiyngyawaelaepidnxykwasrathiimenn i e a o u klayepn ɪ ɛ ʌ ɔ ʊ srathuktwmiesiyngnasikinsaeniynghnsaaelanakhr Bilabial Dental Alveolo palatal Retroflex Velar Uvular GlottalNasal m m n n ṅ ŋ Plosive aspirated ph pʰ th tʰ ṭh ʈʰ kh kʰ qh qʰ plain p p t t ṭ ʈ k k q q esiyngkxng b b d d ḍ ɖ g ɡ Affricate aspirated ch t sʰ ch t ɕʰ c h ʈ ʂʰ plain c t s c t ɕ c ʈ ʂ voiced j d ʑ j ɖ ʐ Fricative esiyngimkxng s s s ɕ ṣ ʂ h h kxng z z ġ ʁ Trill r r Approximant l l y j ỵ ɻ w w iwyakrn aekikhphasaburussskiepnphasathimiekhruxnghmaysxngchnaelakareriyngkhainpraoykhepnprathan krrm kriya khanamaebngepnsiephskhux chay hying singkhxngnbid aelasingkhxngnbimid bangkhaepnthngnamnbidaelanamnbimid thaihmikhwamhmaytangkn echn balt hmaythungaexpepil odythaepnnamnbid hmaythung phlaexpepil aetthaepnnamnbimidhmaythungtnaexpepilokhrngsrangkhxngkhanamprakxbdwyraksphthkhxngkhanam xupsrrkhaesdngkhwamepnecakhxng canwn aelapccyaesdngkark caaenknamtamcanwnepn exkphcn phhuphcn caaenkimid aelaepnklum karkidaek karksmburn karkekiywphn karkaesdngkhwamepnecakhxng aelakarkaesdngsthanthi sungepnidthngkaraesdngtaaehnngaelathisthangkhakriyaphasaburussskimiswnphunthansamswnkhux xditkal pccubnkalaelakhwamsxdkhlxng rupxditepnrupxangxingaelaichsahrbmalaechingbngkhbaelakarthaodyinnam rupsxdkhlxngkhlaykb past participle kriyaaetlatwcamixupsrrkhid 4 taaehnngaelapccy 6 taaehnngkhanam aekikhradbkhxngnam aekikh inphasaburussski mikhanam 4 radbsungiklekhiyngkbephsinklumphasaxinod yuorepiynidaek m gt phuchay phraecaaelawiyyan f gt phuhyingaelawiyyan x gt stw namnbid y gt namthrrm khxngehlw namnbimidnxkcakniyngmiradbphsm h khuxkarrwmknkhxng m aela f aelaradb hx khuxkarrwmkbkhxng m f aela x khanamradb x swnihyhmaythungsingthinbid singkhxng echn stw phlim kxnhin ikh hruxehriyy khanamradb y hmaythungnamthrrmhruxnbimid echn khaw if na hima sali aetkdniimidtaytwesmxip khabangkhaepnthngnamnbidaelanbimid echn ha ban khathiiklekhiyngkn thaxyuinradbtangkncamikhwamhmaytangkn echn bayu thaxyuinradb x hmaythungekluxepnkxng aetthaxyuinradb y hmaythungphngeklux phlimaetlaphlxyuinradb x aettnimcaxyuinradb y krrmcamiekhruxnghmayaesdngwaxyuinradb x hrux y khanahnanamkhakhunsphth canwncakhunkbradbkhxngnamthiepnprathan karthaihepnphhuphcn aekikh namexkphcninphasaburussskiimmiekhruxnghmay inkhnathinamphhuphcnaesdngodykaretimpccy sungtangiptamradbkhxngkhanam h class gt pccyidaek ting aro daro taro tsaro h aela x class gt pccyidaek o iso ko iko juko ono u i ai ts uts muts umuts nts ants ints iants ingants ents onts y class gt pccyidaek ng ang ing iang eng ong ongo ming cing icing micing icang saeniyngnakhr khanambangkhamixupsrrkhid 2 3 aebbinkhnathibangkhamiechphaarupphhuphcn echn bras khaw gur khawsali bishke khnefxr mikhathimirupediywthngexkphcnaelaphhuphcndwy echn hagur matwediyw hruxmahlaytw khakhunsphthmirupphhuphcnthitangipkhunkbkhanamthikhyay echn burum khaw thakbnam x phhuphcnepn burum iso nam y phhuphcnepn burum ing karphnkha aekikh phasaburussskiepnphasaaebbekiywphn mi 5 kark kark pccy karthangankarksmburn immiekhruxnghmay prathankhxngxkrrmkiriyaaelakrrmkhxngskrrmkiriyakarkekiywphn e prathankhxngskrrmkiriyakarkaesdngkhwamepnecakhxng e mo f aesdngkhwamepnecakhxngkarkkrrmrxng ar r krrmrxng allative Ablative um m mo bngchikaraeyk echn macak pccykhxngkarkkhunkbpccyphhuphcn echn Huseiniukutse prachachnkhxnghusesn khalngthayaesdngkhwamepnecakhxngepn mo sahrb f exkphcn aetepn e inkarkxun karlngthaykhxngkarepnkrrmodyxxm ar r caxyutidkbkarlngthayaesdngkhwamepnecakhxngkhxngnam f exkphcn twxyangechn hir e khxngphuchay gus mo khxngphuhying gen hir ar txphuchay gus mu r txphuhying dat karaesdngkhwamepnecakhxngcawangkxnsingthithukthuxkhrxng echn Hunzue tham the Emir of Hunza karlngthaykhxngkarkthutiyphumiekidcakpccykarkthutiyphumi hruxxakhm aelakarlngthaypthmphumi e ar or um karlngthayniepnkarbxkthisthang e epnkarbxktaaehnng ar epnkarbxkcudhmay um epnkarbxkthima xakhmthiichmikhwamhmaydngtxipni ts thi ul in aţ bn dwy al ikl echphaasaeniynghnsa karlngthaydwy ul e aela ul ar epnrupaebbobran pccubnthukaethnthidwy ul o and ar ulo tamladbkhasrrphnam aekikhkhanamthiaesdngswntangkhxngrangkayaelaaesdngkhwamsmphnththangekhruxyaticaimichediywaetcaichkhukbkhaaesdngkhwamepnecakhxngesmx echncaimphudwa aekhn aem phx xyangediywinphasaburuswski aetcaphud aekhnkhxngchn aemkhxngkhun phxkhxngekha raksphth mi aem imxyuediyw aetcaphbinrup i mi aemkhxngekha mu mi aemkhxngphwkekha u mi aemkhxngkhun khasrrphnaminphasaburussskicacaaenktamrayahangdwy echn khin ekhaxyuthini aet in ekhaxyuthinntwelkh aekikhrabbtwelkhkhxngphasaburussskiepnthanyisib echn 20 altar 40 alto altar 2 x 20 60 iski altar 3 x 20 twelkhphunthankhux 1 hin hrux han hik 2 altan or alto 3 isken or usko 4 walto 5 cundo 6 mishindo 7 thalo 8 altambo 9 huncho 10 toorumo also toorimi and turma aela100 tha twxyangelkhprasm 11 turma hin 12 turma altan 13 turma isken 19 turma hunti 20 altar 30 altar toorimi 40 alto altar 50 alto altar toorimi 60 iski altar 21 altar hik 22 altar alto 23 altar iskikhakriya aekikhokhrngsrangkhakriyakhxngphasaburussskimikhwamsbsxn aelamihlayrupaebb mikarepliynesiyngidhlayaebb kriyaaethkhxngphasaburussskibangepnhmwdhmuiddngni kriya 11 taaehnng aekikh khakriyasamarthsrangkhundwyrabbthisbsxn Berger idxthibayekiywkbkhakriya 11 taaehnng raksphthkhxngkhakriyaxyutaaehnngthi 5 nahnadwyxupsrrkhthiepnipid 4 taaehnng aelapccythiepnipid 7 taaehnng taaehnng xupsrrkh pccyaelakhwamhmay1 xupsrrkhptiesth a 2a b xupsrrkh d srangxkrrmkriya xupsrrkh n xupsrrkhsmburn 3 Pronominal prefixes prathankhxngxkrrmkiriya krrmkhxngskrrmkiriya4 xupsrrkh s srangskrrmkiriyathutiyphumi 5 raksphth6 pccyphhuphcn ya thiraksphth7 ekhruxnghmaypccubn c hrux s ts srangruppccubn xnakht aela imsmburn8a b Pronominal suffix khxngburusthi 1 exkphcn a prathan linking vowel no semantic meaning 9a pccy m forms the m participle and m optative from the simple 9b m suffix srangrupxnakhtaelasphawasahrbpccbn 9c n suffix ekhruxnghmaysmburn dutaaehnngthi 2 9d s suffix forms the s optative and the is Infinitive 9e Infinitive ending as aas optative suffix aa etimthiraksphthodytrng 10a Pronominal suffixes khxngburusthi 2 aela 3 burusthi 1 prathan 10b rupxxkkhasng etimthiraksphthodytrng 10c rupkhxngkriyachwy ba srangruppccubn xnakht xditsmburn aelaimsmburn11 Nominal endings and particlesxangxing aekikh phasaburussski at Ethnologue 16th ed 2009 Burushaski language Encyclopaedia Britannica online http linguistlist org pubs diss browse diss action cfm DissID 14723 http repositories lib utexas edu bitstream handle 2152 2777 munshis96677 pdf sequence 2 Hermann Berger Encyclopaedia Iranica Burushaski George van Driem 2001 Languages of the Himalayas An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region Brill John Bengtson Some features of Dene Caucasian phonology with special reference to Basque Cahiers de l Institut de Linguistique de Louvain CILL 30 4 33 54 John Bengtson and V Blazek Lexica Dene Caucasica Central Asiatic Journal 39 1995 11 50 amp 161 164 George van Driem Languages of the Himalayas Brill 2001 921 Anderson Gregory D S 1997 Burushaski Morphology Pages 1021 1041 in volume 2 of Morphologies of Asia and Africa ed by Alan Kaye Winona Lake IN Eisenbrauns Anderson Gregory D S 1999 M Witzel s South Asian Substrate Languages from a Burushaski Perspective Mother Tongue Special Issue October 1999 Anderson Gregory D S forthcoming b Burushaski In Language Islands Isolates and Microfamilies of Eurasia ed by D A Abondolo London Curzon Press Backstrom Peter C Burushaski in Backstrom and Radloff eds Languages of northern areas Sociolinguistic Survey of Northern Pakistan 2 Islamabad National Institute of Pakistan Studies Qaid i Azam University and Summer Institute of Linguistics 1992 31 54 Bashir Elena 2000 A Thematic Survey of Burushaski Research History of Language 6 1 1 14 Berger Hermann 1956 Mittelmeerische Kulturpflanzennamen aus dem Burusaski Names of Mediterranean cultured plants from B Munchener Studien zur Sprachwissenschaft 9 4 33 Berger Hermann 1959 Die Burusaski Lehnworter in der Zigeunersprache The B loanwords in the Gypsy language Indo Iranian Journal 3 1 17 43 Berger Hermann 1974 Das Yasin Burushaski Werchikwar Volume 3 of Neuindische Studien ed by Hermann Berger Lothar Lutze and Gunther Sontheimer Wiesbaden Otto Harrassowitz Berger Hermann 1998 Die Burushaski Sprache von Hunza und Nager The B language of H and N Three volumes Grammatik grammar Texte mit Ubersetzungen texts with translations Worterbuch dictionary Altogether Volume 13 of Neuindische Studien ed by Hermann Berger Heidrun Bruckner and Lothar Lutze Wiesbaden Otto Harassowitz Casule Ilija 2010 Burushaski as an Indo European language Languages of the World 38 Munich Lincom Casule Ilija 2003 Evidence for the Indo European laryngeals in Burushaski and its genetic affiliation with Indo European The Journal of Indo European Studies 31 1 2 pp 21 86 van Driem George 2001 Languages of the Himalayas An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region containing an Introduction to the Symbiotic Theory of Language 2 vols Leiden Brill Greenberg Joseph H and Merritt Ruhlen 1992 Linguistic Origins of Native Americans Scientific American 267 5 94 99 Grune Dick 1998 Burushaski An Extraordinary Language in the Karakoram Mountains Lorimer D L R 1935 1938 The Burushaski Language 3 vols Oslo Instituttet for Sammenlignende Kulturforskning Morgenstierne Georg 1945 Notes on Burushaski Phonology Norsk Tidsskrift for Sprogvidenskap 13 61 95 Munshi Sadaf 2006 Jammu and Kashmir Burushaski Language language contact and change Unpublished Ph D Dissertation Austin University of Texas at Austin Department of Linguistics van Skyhawk Hugh 1996 Libi Kisar Ein Volksepos im Burushaski von Nager Asiatische Studien 133 ISBN 3 447 03849 7 van Skyhawk Hugh 2003 Burushaski Texte aus Hispar Materialien zum Verstandnis einer archaischen Bergkultur in Nordpakistan Beitrage zur Indologie 38 ISBN 3 447 04645 7 Starostin Sergei A 1996 Comments on the Basque Dene Caucasian Comparisons Mother Tongue 2 101 109 Tiffou Etienne 1993 Hunza Proverbs University of Calgary Press ISBN 1 895176 29 8 Tiffou Etienne 1999 Parlons Bourouchaski Paris L Harmattan ISBN 2 7384 7967 7 Tiffou Etienne 2000 Current Research in Burushaski A Survey History of Language 6 1 15 20 Tikkanen Bertil 1988 On Burushaski and other ancient substrata in northwest South Asia Studia Orientalia 64 303 325 Varma Siddheshwar 1941 Studies in Burushaski Dialectology Journal of the Royal Asiatic Society of Bengal Letters 7 133 173 Witzel Michael 1999 Early Sources for South Asian Substrate Languages Mother Tongue Special Issue October 1999 1 70 aehlngkhxmulxun aekikhSIL Ethnologue entryekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaburussski amp oldid 8439158, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม