fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษามณีปุระพิษณุปุระ

ระวังสับสนกับ ภาษามณีปุระ

ภาษามณีปุระพิษณุปุระ (বিষ্ণুপ্রিয়া মণিপুরী) เป็นภาษาในกลุ่มอินโด-อารยัน พูดในบางส่วนของแคว้นอัสสัม, ตรีปุระ, มณีปุระในประเทศอินเดีย และบางส่วนของบังกลาเทศ และพม่าต่างจากภาษามณีปุระหรือภาษาไมไตที่เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ภาษามณีปุระพิษณุปุระ
বিষ্ণুপ্রিয়া মণিপুরী
ภูมิภาคส่วนใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและบังกลาเทศ
ชาติพันธุ์ชาวมณีปุระพิษณุปุระ
จำนวนผู้พูด120,000  (2001–2003)Census of India 2001
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ระบบการเขียนอักษรเบงกอล-อัสสัม
รหัสภาษา
ISO 639-3bpy

ประวัติและพัฒนาการ

ภาษามณีปุระพิษณุปุระมีผู้พูดในบางส่วนของรัฐอัสสัม ตรีปุระและมณีปุระในอินเดีย เช่นเดียวกับในบังกลาเทศ พม่า และประเทศอื่น ๆ ภาษานี้ต่างจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันอื่น ๆ เช่น ภาษาเบงกอล ภาษาโอริยา ภาษาอัสสัม โดยภาษานี้มีถิ่นกำเนิดและพัฒนาขึ้นในรัฐมณีปุระ โดยเกิดขึ้นครั้งแรกรอบ ๆ ทะเลสาบโลกตัก หลักฐานรุ่นแรก ๆ ที่กล่าวถึงภาษานี้เป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ในพุทธศตวรรษที่ 23 ชื่อ ขุมัล ปุรณะ เขียนโดยบัณฑิต นวเขนทรา ศรมะ หลักฐานอื่น ๆ แสดงให้เห็นว่าภาษานี้เกิดในรัฐมณีปุระก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 G.A. Grierson เรียกภาษานี้ว่า ภาษามณีปุระพิษณุปุระ แต่บางคนเรียกเพียงภาษาพิษณุปุระ

ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่ย้ายออกจากรัฐมณีปุระเข้าสู่รัฐอัสสัม ตรีปุระ สิลเหติ และจาชัร ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ 23 เนื่องจากความขัดแย้งภายในระหว่างเจ้าชายในมณีปุระและการรุกรานของพม่า เป็นการยากที่ผู้พูดภาษามณีปุระพิษณุปุระจะรักษาภาษาของตนไว้ ภายใต้อิทธิพลของภาษาไมไต

แม้ว่าใน พ.ศ. 2434 Grierson พบผู้พูดภาษานี้ 2-3 หมู่บ้านใกล้พิษณุปุระ แต่ภาษานี้เริ่มสูญสลายอย่างช้า ๆ ภายในมณีปุระซึ่งคนส่วนใหญ่พูดภาษาไมไต และเริ่มสูญหายในบังกลาเทศและจาชัรซึ่งคนส่วนใหญ่พูดภาษาเบงกอล ภาษานี้ยังเหลือผู้พูดอยู่ในชิริบัม (ส่วนย่อยในมณีปุระ) ตำบลจาชัรในอัสสัม และกลุ่มเล็ก ๆ ในบังกลาเทศและมณีปุระ

จุดเริ่มต้น

ผู้พูดภาษานี้เรียกภาษาของตนว่า อิมัรทาร์ หมายถึงภาษาของแม่ เขาเรียกตนเองว่าชาวมณีปุระ และใช้คำว่า "ชาวพิษณุปุระ" หรือ "พิษณุปริยา" เพื่อแยกตนเองออกจากกลุ่มอื่น ๆ ในมณีปุระ คำว่า "พิษณุปริยา" อาจมาจากคำว่าพิษณุปุระ โดยเติมปัจจัย –อิยา เพื่อให้หมายความว่าประชาชนของพิษณุปุระ ชาวพิษณุปุระดั้งเดิมเชื่อว่าพวกเขาเข้าสู่มณีปุระโดยอพยพมาจากทวารกะและหัสตินาปุระ หลังจากเกิดสงครามมหาภารตะ มีการกล่าวกันว่าการอพยพครั้งนี้นำโดยพภรุวาหนะ บุตรของอรชุนกับจิตรางคทา นักวิชาการและนักประวัติศาสตร์บางคนสนับสนุนทฤษฎีนี้ จากการสังเกตลักษณะของภาษา ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตและภาษามหาราษฏรี เช่นเดียวกับภาษาปรากฤต เช่น ภาษาเสาราเสนี ภาษาเสาราเสนีนี้เป็นภาษาของทหารและประชาชนในทุ่งกุรุเกษตร มัธยเทศ อินทรปรัศถ์และหัสตินาปุระ อย่างไรก็ตาม K.P. Sinha ไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีนี้และเห็นว่าภาษามณีปุระพิษณุปุระมาจากภาษามคธี

ภาษามณีปุระพิษณุปุระไม่ใช่ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า แต่ใกล้เคียงกับภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาไมไตทั้งทางด้านไวยากรณ์และการออกเสียง ในแต่ละช่วงของพัฒนาการ ภาษาเสาราเสนี ภาษามคธี ภาษามหาราษฏรีและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าเข้ามามีอิทธิพลมาก ภาษานี้อาจจะพัฒนามาจากภาษาสันสกฤต ภาษาเสาราเสนี และภาษามหาราษฏรีเช่นเดียวกับภาษาฮินดี ภาษาอัสสัม ภาษาเบงกอล และภาษาโอริยา อิทธิพลจากภาษาเสาราเสนีและภาษามหาราษฏรีเห็นได้จากคำสรรพนาม การเชื่อมต่อ และการลงท้ายการก และมีลักษณะบางอย่างจากภาษามคธีปนอยู่ด้วย ภาษานี้คำศัพท์จากภาษาไมไตที่ออกเสียงแบบเก่าในช่วงพ.ศ. 2000 – 2200 ซึ่งอาจเป็นเพราะผู้พูดส่วนใหญ่อพยพออกจากมณีปุระในพุทธศตวรรษที่ 24

สำเนียง

ภาษานี้มีสองสำเนียงคือ ราชัร คัง (หมู่บ้านพระราชา) และมาไท คัง (หมู่บ้านราชินี) ในทาสัทศาสตร์ สำเนียงราชัร คัง เกี่ยวข้องกับภาษาอัสสัมและไมไต ส่วนสำเนียงมาไท คัง เกี่ยวข้องกับภาษาเบงกอล แต่ในทางคำศัพท์ สำเนียงมาไท คัง ได้รับอิทธิพลจากภาษาไมไตมาก ส่วนราชัร คัง ใกล้เคียงกับภาษาอัสสัมและภาษาเบงกอลมากกว่า นอกจากนี้แล้ว ทั้งสองสำเนียงไม่ต่างกัน

ระบบการเขียน

ชาวพิษณุปุระดั้งเดิมกล่าวว่าพวกเขามีระบบการเขียนเป็นของตนเองคืออักษรเทวนาครีที่เคยใช้เขียนภาษาพิศนุปริยะมาก่อนหน้านี้ ในยุคการศึกษาสมัยใหม่ภายใต้การปกครองของอังกฤษโดยผ่านทางภาษาเบงกอล ผู้พูดภาษานี้เริ่มเปลี่ยนมาใช้อักษรเบงกอล

  • สัญลักษณ์สระ: া ি ী ু ূ ৃ ে ৈ ো ৌ
  • เครื่องหมายเสริมสัทอักษรอื่น ๆ: ৼ ং ঃ ঁ
  • สระเดี่ยว: অ আ ই ঈ উ ঊ এ ঐ ও ঔ
  • พยัญชนะ: ক খ গ ঘ ঙ ছ জ ঝ ঞ ট ঠ ড ঢ ণ ত থ দ ধ ন প ফ ব ম য র ল শ ষ স হ ড় ঢ় য় ৱ
  • ตัวเลข: ০ ১ ২ ৩ ৪ ৫ ৬ ৭ ৮ ৯

สระ

  • অ - ô - [ɔ]
  • আ া - ā - [a]
  • ই ি - i - [i]
  • ঈ ী - ī - [i]
  • উ ু - u - [u]
  • ঊ ূ - ū - [u]
  • ঋ ৃ - ri - [ɹi]
  • এ ে - e - [e/ɛ]
  • ঐ ৈ - oi - [oi]
  • ও ো - o - [ʊ]
  • ঔ ৌ - ou - [ou/ɔu]
  • ং - an - [ŋ]
  • ঁ - ã - [̃-]
  • ঃ - ah - [h]

พยัญชนะ

  • ক - kô - [kɔ]
  • খ - khô - [kʰɔ]
  • গ - gô - [gɔ]
  • ঘ - ghô - [gʱɔ/g'o]
  • ঙ - ṅô - [ŋɔ]
  • চ - sô - [sɔ]
  • ছ - shô - [ʃɔ]
  • জ - jô - [d͡ʒɔ]
  • ঝ - zô - [z'ɔ]
  • ঞ - nyô - [ɲɔ]
  • ট - ṭô - [ʈɔ]
  • ঠ - ṭhô - [tʰɔ/ʈɔ]
  • ড - ḍô - [ðɔ]
  • ঢ - ḍhô - [d'ɔ]
  • ণ - ṇô - [nɔ]
  • ত - tô - [tɔ]
  • থ - thô - [tʰɔ]
  • দ - dô - [dɔ]
  • ধ - dhô - [d'ɔ]
  • ন - nô - [nɔ]
  • প - pô - [pɔ]
  • ফ - phô - [ɸɔ]
  • ব - bô - [bɔ]
  • ভ - bhô - [b'ɔ]
  • ম - mô - [mɔ]
  • য - jô - [d͡ʒɔ]
  • র - rô - [ɹɔ]
  • ৱ - wô - [ɰɔ]
  • ল - lô - [lɔ]
  • শ - śô - [ʃɔ]
  • ষ - șô - [ʃɔ]
  • স - sô - [ʃɔ]
  • হ - hô - [hɔ/ħɔ]
  • ক্ষ - kșô - [xɔ]
  • ড় - ŗô - [ɹɔ]
  • ঢ় - ŗhô - [ɹɔ]
  • য় - yô - [jɔ]
  • ৎ - t ครึ่ง - [t̪]

ผู้พูด

สถิติ

อ้างอิง

  1. "Bishnupuriya". Ethnologue. สืบค้นเมื่อ 12 March 2018.
  2. Kim, Amy; Kim, Seung. Bishnupriya (Manipuri) speakers in Bangladesh: a sociolinguistic survey (PDF). SIL INTERNATIONAL. p. 11. สืบค้นเมื่อ 4 October 2020.
  3. "Bishnupriya Manipuri language, alphabet, and pronunciation". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 17 February 2021.
  4. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 12 August 2011. สืบค้นเมื่อ 27 April 2011.CS1 maint: archived copy as title (link)
  5. "Mahasabha census indicates 4.16 lakh Bishnupriya Manipuris in NE".
  6. "Census of India - Language tools".
  7. Cultural Heritage of North-East India/ Bidhan Singha,1999
  8. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 5 July 2011. สืบค้นเมื่อ 5 July 2011.CS1 maint: archived copy as title (link)

อ่านเพิ่ม

  1. Vasatatvar Ruprekha/ Dr. K. P. Sinha, Silchar, 1977
  2. Manipuri jaatisotta bitorko: ekti niropekkho paath /Ashim Kumar Singha, Sylhet, 2001
  3. G. K. Ghose / Tribals and Their Culture in Manipur and Nagaland, 1982
  4. Raj Mohan Nath / The Background of Assamese Culture, 2nd edn, 1978
  5. Sir G. A. Grierson / Linguistic Survey of India, Vol-5, 1903
  6. Dr. K. P. Sinha / An Etymological Dictionary of Bishnupriya Manipuri, 1982
  7. Dr. M. Kirti Singh / Religious developments in Manipur in the 18th and 19th centuuy, Imphal, 1980
  8. Singha, Jagat Mohan & Singha, Birendra / The Bishnupriya Manipuris & Their Language, silchar, 1976

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษามณีปุระพิษณุปุระ
  • Bishnupriya Manipuri: A brief introduction
  • Details on Bishnupriya Manipuri Language
  • The Manipuri Blog
  • Archive of Bishnupriya Manipuri Literature
  • Bishnupriya Manipuri forum 28 มีนาคม 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Bishnupriya Manipuri society 4 มิถุนายน 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • A Weblog on Bishnupriya Manipuri people and culture
  • BishnupriyaManipuri Online Blog

ภาษามณ, ระพ, ษณ, ระ, ระว, งส, บสนก, ภาษามณ, ระ, মণ, เป, นภาษาในกล, มอ, นโด, อารย, ดในบางส, วนของแคว, นอ, สส, ตร, ระ, มณ, ระในประเทศอ, นเด, และบางส, วนของบ, งกลาเทศ, และพม, าต, างจากภาษามณ, ระหร, อภาษาไมไตท, เป, นตระก, ลภาษาย, อยท, เบต, พม, าব, মণ, ภาคส, วนใหญ,. rawngsbsnkb phasamnipura phasamnipuraphisnupura ব ষ ণ প র য মণ প র epnphasainklumxinod xaryn phudinbangswnkhxngaekhwnxssm tripura mnipurainpraethsxinediy aelabangswnkhxngbngklaeths aelaphmatangcakphasamnipurahruxphasaimitthiepntrakulphasayxythiebt phmaphasamnipuraphisnupuraব ষ ণ প র য মণ প র phumiphakhswnihyinphakhtawnxxkechiyngehnuxkhxngxinediyaelabngklaethschatiphnthuchawmnipuraphisnupuracanwnphuphud120 000 2001 2003 Census of India 2001trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xaryntawnxxkebngkxl xssmphasamnipuraphisnupurarabbkarekhiynxksrebngkxl xssm 1 2 rhsphasaISO 639 3bpy enuxha 1 prawtiaelaphthnakar 2 cuderimtn 3 saeniyng 4 rabbkarekhiyn 4 1 sra 4 2 phyychna 5 phuphud 5 1 sthiti 6 xangxing 7 xanephim 8 aehlngkhxmulxunprawtiaelaphthnakar aekikhphasamnipuraphisnupuramiphuphudinbangswnkhxngrthxssm tripuraaelamnipurainxinediy echnediywkbinbngklaeths phma aelapraethsxun phasanitangcakphasaklumxinod xarynxun echn phasaebngkxl phasaoxriya phasaxssm odyphasanimithinkaenidaelaphthnakhuninrthmnipura odyekidkhunkhrngaerkrxb thaelsabolktk hlkthanrunaerk thiklawthungphasaniepnbnthukthangprawtisastrinphuththstwrrsthi 23 chux khuml purna ekhiynodybnthit nwekhnthra srma hlkthanxun aesdngihehnwaphasaniekidinrthmnipurakxnphuththstwrrsthi 24 G A Grierson eriykphasaniwa phasamnipuraphisnupura aetbangkhneriykephiyngphasaphisnupuraphuphudphasaniswnihyyayxxkcakrthmnipuraekhasurthxssm tripura silehti aelacachr inchwngrahwangphuththstwrrsthi 23 enuxngcakkhwamkhdaeyngphayinrahwangecachayinmnipuraaelakarrukrankhxngphma epnkaryakthiphuphudphasamnipuraphisnupuracarksaphasakhxngtniw phayitxiththiphlkhxngphasaimitaemwain ph s 2434 Grierson phbphuphudphasani 2 3 hmubaniklphisnupura aetphasanierimsuyslayxyangcha phayinmnipurasungkhnswnihyphudphasaimit aelaerimsuyhayinbngklaethsaelacachrsungkhnswnihyphudphasaebngkxl phasaniyngehluxphuphudxyuinchiribm swnyxyinmnipura tablcachrinxssm aelaklumelk inbngklaethsaelamnipuracuderimtn aekikhphuphudphasanieriykphasakhxngtnwa ximrthar hmaythungphasakhxngaem ekhaeriyktnexngwachawmnipura aelaichkhawa chawphisnupura hrux phisnupriya ephuxaeyktnexngxxkcakklumxun inmnipura khawa phisnupriya xacmacakkhawaphisnupura odyetimpccy xiya ephuxihhmaykhwamwaprachachnkhxngphisnupura chawphisnupuradngedimechuxwaphwkekhaekhasumnipuraodyxphyphmacakthwarkaaelahstinapura hlngcakekidsngkhrammhapharta mikarklawknwakarxphyphkhrngninaodyphphruwahna butrkhxngxrchunkbcitrangkhtha nkwichakaraelankprawtisastrbangkhnsnbsnunthvsdini cakkarsngektlksnakhxngphasa phasaniidrbxiththiphlcakphasasnskvtaelaphasamharastri echnediywkbphasaprakvt echn phasaesaraesni phasaesaraesniniepnphasakhxngthharaelaprachachninthungkuruekstr mthyeths xinthrprsthaelahstinapura xyangirktam K P Sinha imehndwykbthvsdiniaelaehnwaphasamnipuraphisnupuramacakphasamkhthiphasamnipuraphisnupuraimichtrakulphasayxythiebt phma aetiklekhiyngkbphasaklumxinod xaryn odyidrbxiththiphlcakphasaimitthngthangdaniwyakrnaelakarxxkesiyng inaetlachwngkhxngphthnakar phasaesaraesni phasamkhthi phasamharastriaelatrakulphasayxythiebt phmaekhamamixiththiphlmak phasanixaccaphthnamacakphasasnskvt phasaesaraesni aelaphasamharastriechnediywkbphasahindi phasaxssm phasaebngkxl aelaphasaoxriya xiththiphlcakphasaesaraesniaelaphasamharastriehnidcakkhasrrphnam karechuxmtx aelakarlngthaykark aelamilksnabangxyangcakphasamkhthipnxyudwy phasanikhasphthcakphasaimitthixxkesiyngaebbekainchwngph s 2000 2200 sungxacepnephraaphuphudswnihyxphyphxxkcakmnipurainphuththstwrrsthi 24saeniyng aekikhphasanimisxngsaeniyngkhux rachr khng hmubanphraracha aelamaith khng hmubanrachini inthasthsastr saeniyngrachr khng ekiywkhxngkbphasaxssmaelaimit swnsaeniyngmaith khng ekiywkhxngkbphasaebngkxl aetinthangkhasphth saeniyngmaith khng idrbxiththiphlcakphasaimitmak swnrachr khng iklekhiyngkbphasaxssmaelaphasaebngkxlmakkwa nxkcakniaelw thngsxngsaeniyngimtangknrabbkarekhiyn aekikhchawphisnupuradngedimklawwaphwkekhamirabbkarekhiynepnkhxngtnexngkhuxxksrethwnakhrithiekhyichekhiynphasaphisnupriyamakxnhnani inyukhkarsuksasmyihmphayitkarpkkhrxngkhxngxngkvsodyphanthangphasaebngkxl phuphudphasanierimepliynmaichxksrebngkxl sylksnsra ekhruxnghmayesrimsthxksrxun sraediyw অ আ ই ঈ উ ঊ এ ঐ ও ঔ phyychna ক খ গ ঘ ঙ ছ জ ঝ ঞ ট ঠ ড ঢ ণ ত থ দ ধ ন প ফ ব ম য র ল শ ষ স হ ড ঢ য ৱ twelkh ০ ১ ২ ৩ ৪ ৫ ৬ ৭ ৮ ৯sra aekikh অ o ɔ আ a a ই i i ঈ i i উ u u ঊ u u ঋ ri ɹi এ e e ɛ ঐ oi oi ও o ʊ ঔ ou ou ɔu an ŋ a ah h phyychna aekikh ক ko kɔ খ kho kʰɔ গ go gɔ ঘ gho gʱɔ g o ঙ ṅo ŋɔ চ so sɔ ছ sho ʃɔ জ jo d ʒɔ ঝ zo z ɔ ঞ nyo ɲɔ ট ṭo ʈɔ ঠ ṭho tʰɔ ʈɔ ড ḍo dɔ ঢ ḍho d ɔ ণ ṇo nɔ ত to tɔ থ tho tʰɔ দ do dɔ ধ dho d ɔ ন no nɔ প po pɔ ফ pho ɸɔ ব bo bɔ ভ bho b ɔ ম mo mɔ য jo d ʒɔ র ro ɹɔ ৱ wo ɰɔ ল lo lɔ শ so ʃɔ ষ șo ʃɔ স so ʃɔ হ ho hɔ ħɔ ক ষ kșo xɔ ড ŗo ɹɔ ঢ ŗho ɹɔ য yo jɔ ৎ t khrung t 3 phuphud aekikhsthiti aekikh 295 000 khninrthxssm 4 121 000 khnthirthtripura rthemkhaly rthxrunaclpraeths rthnakhaaelnd aelarthmiosrm 5 1 457 khnthimnipura Imphal Bishnupur Ningthoukhong 6 5 000 khnthimnipura ekhtyxyJiribam 7 5 000 khnthiniwedli rthebngkxltawntk rthmharastra rthcharkhnth rthsikkhim aelarthxinediyxun 40 000 khninpraethsbngklaeths 8 xangxing aekikh Bishnupuriya Ethnologue subkhnemux 12 March 2018 Kim Amy Kim Seung Bishnupriya Manipuri speakers in Bangladesh a sociolinguistic survey PDF SIL INTERNATIONAL p 11 subkhnemux 4 October 2020 Bishnupriya Manipuri language alphabet and pronunciation Omniglot subkhnemux 17 February 2021 Archived copy khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 12 August 2011 subkhnemux 27 April 2011 CS1 maint archived copy as title link Mahasabha census indicates 4 16 lakh Bishnupriya Manipuris in NE Census of India Language tools Cultural Heritage of North East India Bidhan Singha 1999 Archived copy khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 5 July 2011 subkhnemux 5 July 2011 CS1 maint archived copy as title link xanephim aekikhVasatatvar Ruprekha Dr K P Sinha Silchar 1977 Manipuri jaatisotta bitorko ekti niropekkho paath Ashim Kumar Singha Sylhet 2001 G K Ghose Tribals and Their Culture in Manipur and Nagaland 1982 Raj Mohan Nath The Background of Assamese Culture 2nd edn 1978 Sir G A Grierson Linguistic Survey of India Vol 5 1903 Dr K P Sinha An Etymological Dictionary of Bishnupriya Manipuri 1982 Dr M Kirti Singh Religious developments in Manipur in the 18th and 19th centuuy Imphal 1980 Singha Jagat Mohan amp Singha Birendra The Bishnupriya Manipuris amp Their Language silchar 1976aehlngkhxmulxun aekikh wikiphiediy saranukrmesri inphasamnipuraphisnupura Bishnupriya Manipuri A brief introduction Details on Bishnupriya Manipuri Language The Manipuri Blog Archive of Bishnupriya Manipuri Literature Bishnupriya Manipuri forum Archived 28 minakhm 2009 thi ewyaebkaemchchin Bishnupriya Manipuri society Archived 4 mithunayn 2019 thi ewyaebkaemchchin A Weblog on Bishnupriya Manipuri people and culture BishnupriyaManipuri Online Blog ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasamnipuraphisnupura amp oldid 9746005, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม