fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิเรเนียน ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จากรายงานใน พ.ศ. 2548 กลุ่มภาษาอินโด-อารยันมีความแตกต่างกันถึง 209 แบบ มีจำนวนผู้พูดเป็นภาษาแม่มาก ได้แก่ ภาษาฮินดูสถาน (ภาษาฮินดีและภาษาอูรดูรวม 540 ล้านคน) ภาษาเบงกอล (ราว 200 ล้านคน) ภาษาปัญจาบ (ราว 100 ล้านคน) ภาษามราฐี (ราว 90 ล้านคน) ภาษาคุชราต (ราว 45 ล้านคน) ภาษาเนปาล (ราว 40 ล้านคน) ภาษาโอริยา (ราว 30 ล้านคน) ภาษาสินธี (ราว 20 ล้านคน) และ ภาษาอัสสัม (ราว 14 ล้านคน) รวมมีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 900 ล้านคน

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน
Indic
ภูมิภาค:เอเชียใต้
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
อินโด-ยูโรเปียน
ภาษาดั้งเดิม:อินโด-อารยันดั้งเดิม
ISO 639-2 / 5:inc
เครือข่ายการวิจัยลิงกัวสเฟียร์:59= (phylozone)
กลอตโตลอก:indo1321
แผนที่ ค.ศ. 1978 แสดงการกระจายตามเขตภูมิศาสตร์ของภาษาอินโด-อารยันภาษาหลัก ๆ (ภาษาอุรดูถูกรวมอยู่ในภาษาฮินดี ภาษาโรมานี, โดมารี และลอมาเวร็นอยู่นอกพิสัยของแผนที่ บริเวณที่เป็นจุดหรือแถบคือบริเวณที่มีการพูดหลายภาษา)
  กลาง
  ดาร์ดิก
  ตะวันออก
  เหนือ
  ตะวันตกเฉียงเหนือ
  ใต้
  ตะวันตก

ประวัติ

หลักฐานเริ่มแรกของกลุ่มภาษานี้เริ่มจากภาษาพระเวทที่ใช้เขียนคัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์ในสมัยโบราณ เมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษาสันสกฤตได้ถูกปรับปรุงและจัดมาตรฐานโดยปาณินี เรียกว่าภาษาสันสกฤตคลาสสิก ในแบบเดียวกับภาษาปรากฤตหลากหลายสำเนียงได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในยุคกลาง ภาษาปรากฤตได้เกิดความหลากหลายกลายเป็นสำเนียงต่างๆมากมาย ในอินเดียยุคกลางตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 11 - 18 บางสำเนียงได้มีการใช้ในวรรณกรรม

การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญต่อมาคือการรุกรานอินเดียของชาวมุสลิมในพุทธศตวรรษที่ 18-21 ในยุคจักรวรรดิโมกุล ภาษาเปอร์เซียเป็นภาษาที่มีอิทธิพลมาก ต่อมาจึงถูกแทนที่ด้วยภาษาอูรดู ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มอินโด-อารยัน ที่ใช้ศัพท์จากภาษาเปอร์เซีย แต่ใช้ไวยากรณ์แบบภาษาท้องถิ่น ภาษาหลักๆที่เข้ามาแทนที่ภาษาในยุคกลางได้แก่ ภาษาเบงกอลและภาษาฮินดี ภาษาอื่นๆได้แก่ ภาษาคุชราต ภาษาโอริยา ภาษามราฐี และภาษาปัญจาบ

ในหมู่ผู้พูดภาษาฮินดี รูปแบบหลักคือภาษาพรัชที่เคยใช้พูดในปัจจุบัน และถูกแทนที่ด้วยภาษาขาริโพลีในพุทธศตวรรษที่ 24 คำศัพท์ที่ในภาษาพูดของภาษาฮินดีส่วนใหญ่มาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ จนกระทั่งการแบ่งแยกอินเดียใน พ.ศ. 2490 ภาษาฮินดูสถาน (อูรดู) ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮินดีมาตรฐานซึ่งเป็นภาษาราชการของอินเดีย ศัพท์บางส่วนที่มาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับถูกแทนที่ด้วยศัพท์จากภาษาสันสกฤตเพื่อทำให้เป็นอินเดียมากขึ้น

การจัดจำแนก

ความแตกต่างระหว่างภาษาในกลุ่มนี้ไม่ชัดเจน จึงไม่มีการแบ่งแยกที่เป็นมาตรฐาน โดยทั่วไปนิยมจัดแบ่งดังนี้

  • กลุ่มภาษาอินโด-อารยันเหนือหรือกลุ่มภาษาปาหารี เช่น ภาษาเนปาล
  • กลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันตกเฉียงเหนือเช่นภาษาปัญจาบ บางครั้งรวมกลุ่มภาษาดาร์ดิก เช่นภาษาแคชเมียร์เข้ามาด้วย
  • กลุ่มภาษาอินโด-อารยันกลางได้แก่สำเนียงมาตรฐานของภาษาฮินดีและภาษาอูรดู รวมทั้งภาษากลุ่มตะวันตกเช่น ภาษาคุชราต และอาจรวมภาษาโรมานีด้วย
  • กลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออกเช่น ภาษาอัสสัม และภาษาเบงกอล
  • กลุ่มภาษาอินโด-อารยันใต้เช่น ภาษามราฐี กลุ่มภาษาอินโด-อารยันหมู่เกาะ เช่นภาษาสิงหล
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Indo-Aryan". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.CS1 maint: display-editors (link)

กล, มภาษาอ, นโด, อารย, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เป, นสาขาย, อย. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir klumphasaxinod xaryn epnsakhayxykhxngklumphasaxinod xiereniyn trakulphasaxinod yuorepiyn cakraynganin ph s 2548 klumphasaxinod xarynmikhwamaetktangknthung 209 aebb micanwnphuphudepnphasaaemmak idaek phasahindusthan phasahindiaelaphasaxurdurwm 540 lankhn phasaebngkxl raw 200 lankhn phasapycab raw 100 lankhn phasamrathi raw 90 lankhn phasakhuchrat raw 45 lankhn phasaenpal raw 40 lankhn phasaoxriya raw 30 lankhn phasasinthi raw 20 lankhn aela phasaxssm raw 14 lankhn rwmmiphuphudepnphasaaemmakkwa 900 lankhnklumphasaxinod xarynIndicphumiphakh exechiyitkarcaaenkthangphasasastr xinod yuorepiynxinod xiereniynklumphasaxinod xarynphasadngedim xinod xaryndngedimISO 639 2 5 incekhruxkhaykarwicylingkwsefiyr 59 phylozone klxtotlxk indo1321 1 aephnthi kh s 1978 aesdngkarkracaytamekhtphumisastrkhxngphasaxinod xarynphasahlk phasaxurduthukrwmxyuinphasahindi phasaormani odmari aelalxmaewrnxyunxkphisykhxngaephnthi briewnthiepncudhruxaethbkhuxbriewnthimikarphudhlayphasa klang dardik tawnxxk ehnux tawntkechiyngehnux it tawntkprawti aekikhhlkthanerimaerkkhxngklumphasanierimcakphasaphraewththiichekhiynkhmphirphraewthkhxngsasnaphrahmninsmyobran emuxraw 3 457 pikxnphuththskrach phasasnskvtidthukprbprungaelacdmatrthanodypanini eriykwaphasasnskvtkhlassik inaebbediywkbphasaprakvthlakhlaysaeniyngidthukphthnakhunmainyukhklang phasaprakvtidekidkhwamhlakhlayklayepnsaeniyngtangmakmay inxinediyyukhklangtngaet phuththstwrrsthi 11 18 bangsaeniyngidmikarichinwrrnkrrmkarepliynaeplngkhrngsakhytxmakhuxkarrukranxinediykhxngchawmusliminphuththstwrrsthi 18 21 inyukhckrwrrdiomkul phasaepxresiyepnphasathimixiththiphlmak txmacungthukaethnthidwyphasaxurdu sungepnphasainklumxinod xaryn thiichsphthcakphasaepxresiy aetichiwyakrnaebbphasathxngthin phasahlkthiekhamaaethnthiphasainyukhklangidaek phasaebngkxlaelaphasahindi phasaxunidaek phasakhuchrat phasaoxriya phasamrathi aelaphasapycabinhmuphuphudphasahindi rupaebbhlkkhuxphasaphrchthiekhyichphudinpccubn aelathukaethnthidwyphasakhariophliinphuththstwrrsthi 24 khasphththiinphasaphudkhxngphasahindiswnihymacakphasaepxresiyaelaphasaxahrb cnkrathngkaraebngaeykxinediyin ph s 2490 phasahindusthan xurdu thukaethnthidwyphasahindimatrthansungepnphasarachkarkhxngxinediy sphthbangswnthimacakphasaepxresiyaelaphasaxahrbthukaethnthidwysphthcakphasasnskvtephuxthaihepnxinediymakkhunkarcdcaaenk aekikhkhwamaetktangrahwangphasainklumniimchdecn cungimmikaraebngaeykthiepnmatrthan odythwipniymcdaebngdngni klumphasaxinod xarynehnuxhruxklumphasapahari echn phasaenpal klumphasaxinod xaryntawntkechiyngehnuxechnphasapycab bangkhrngrwmklumphasadardik echnphasaaekhchemiyrekhamadwy klumphasaxinod xarynklangidaeksaeniyngmatrthankhxngphasahindiaelaphasaxurdu rwmthngphasaklumtawntkechn phasakhuchrat aelaxacrwmphasaormanidwy klumphasaxinod xaryntawnxxkechn phasaxssm aelaphasaebngkxl klumphasaxinod xarynitechn phasamrathi klumphasaxinod xarynhmuekaa echnphasasinghl Nordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Indo Aryan Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology CS1 maint display editors link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasaxinod xaryn amp oldid 8754636, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม