fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาปรากฤต

ภาษาปรากฤต (อังกฤษ: Prakrit) เป็นภาษาโบราณกลุ่มหนึ่งในอินเดียสมัยโบราณ จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (อินเดีย-ยุโรป)ในสาขาย่อย ภาษากลุ่มอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) โดยมากจะจัดเป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการในกึ่งกลาง ระหว่างภาษาโบราณกับภาษาสมัยใหม่ ที่เรียก ภาษาปรากฤตนี้ ไม่ได้หมายจำเพาะไปที่ตัวภาษาหนึ่งภาษาใด แต่เป็นการเรียกภาษากลุ่มหนึ่งในระดับภาษาถิ่น และเป็นการยากที่จะระบุให้ชัดว่าภาษาปรากฤตคืออย่างไร และนักวิชาการด้านภาษาอินเดียก็ยังมีความเห็นไม่ลงรอยกัน บ้างก็ว่าหมายถึงภาษาถิ่นอินเดียยุคใหม่ รวมทั้งในยุคกลาง หรือกล่าวโดยย่อก็คือ ภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาสันสกฤตและภาษาพระเวท บ้างก็ว่าหมายถึงภาษาอินเดียยุคใหม่ ที่วิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤตยุคกลาง นอกจากนี้ยังมีข้อเสนอว่า ภาษาปรากฤตคือภาษาถิ่นของภาษาสันสกฤต และยังมีความเห็นว่า ภาษาบาลี ก็อาจจัดอยู่ในกลุ่มภาษาปรากฤตก็ได้

ภาษาปรากฤต
ภูมิภาค:อนุทวีปอินเดีย
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
อินโด-ยูโรเปียน
ISO 639-2 / 5:pra
กลอตโตลอก:None
midd1350  (Middle Indo-Aryan)
คำว่า "ปรากฤต" ในอักษรพราหมีตอนปลายที่Mandsaur stone inscription of Yashodharman-Vishnuvardhana, ค.ศ.532

หลักฐานภาษาปรากฤตที่เก่าแก่ที่สุด คือจารึกอโศก บนเสาอโศก ที่พระเจ้าอโศกมหาราชรับสั่งให้สร้างขึ้น โดยใช้อักษรพราหมี ทว่าไม่ปรากฏว่ามีการใช้ภาษาปรากฤตในงานวรรณกรรมอย่างกว้างขวาง แต่กลับมีการใช้ในรูปของภาษาพูด ดังจะพบได้จากบทละครภาษาสันสกฤต ที่ให้ตัวละครในวรรณะสูงพูดภาษาสันสกฤต ขณะที่วรรณะต่ำจะพูดภาษาปรากฤต หรือภาษาอปรภรัมศะ

คำว่า ปรากฤต ในภาษาสันสกฤต นั้น หมายถึง ธรรมชาติ ปกติ ดั้งเดิม หรือท้องถิ่น ฯลฯ นักภาษาศาสตร์จึงสันนิษฐานว่า ภาษาปรากฤต น่าจะหมายถึงภาษาที่มีวิวัฒนาการโดยธรรมชาติตามกระบวนการทางภาษา ซึ่งตรงข้ามกับภาษา สันสกฤต ที่หมายถึง ขัดเกลาแล้ว อันเป็นภาษาที่ได้รับการวางระเบียบกฎเกณฑ์โดยนักปราชญ์ ในแง่ของไวยากรณ์แล้ว ภาษาปรากฤตมีความซับซ้อนน้อยกว่าภาษาสันสกฤตอย่างมาก ไม่มีทวิพจน์ มีการกน้อยกว่า และมีการแจกกริยาที่ง่ายกว่า และคำศัพท์ทั้งหมดในภาษาปรากฤตก็มาจากต้นกำเนิดในภาษาอินเดียโบราณ

ภาษาอรรธมคธีเป็นรูปแบบโบราณของภาษามคธี ซึ่งใช้ในการเขียนเอกสารทางศาสนาเชน และมักเป็นตัวแทนของภาษาปรากฤต นักไวยากรณ์ของภาษาปรากฤตจะแสดงไวยากรณ์ของภาษาอรรธมคธีก่อน เพราะฉะนั้นในการเรียนภาษาปรากฤต มักจะเริ่มด้วยภาษาอรรธมคธี

วิวัฒนาการ

ภาษาปรากฤตมีวิวัฒนาการ 3 ระยะด้วยกัน คือ

  • 1.ภาษาปรากฤตโบราณ อยู่ช่วง พุทธศตวรรษที่ 2 – 3 ภาษาที่ในช่วงนี้คือ ภาษาบาลี, ภาษาในพระสูตรของศาสนาไชนะ (ศาสนาเชน), ภาษาในบทละครของอัศวโฆษ ซึ่งพบได้ในแถบเอเชียกลาง
  • 2.ภาษาปรากฤตยุคกลาง ได้แก่ ภาษามหาราษฏรี, ภาษาเศารเสนีและภาษามคธี, ภาษาไปศาจี
  • 3.ภาษาปรากฤตยุคกลาง เรียกอีกอย่างว่า ภาษาอปรภรัมศะ ใช้ในบทละคร ดังกล่าวมาข้างต้น

อ้างอิง

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Middle Indo-Aryan". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.CS1 maint: display-editors (link)
  2. Fleet, John Faithfull (1907). Corpus Inscriptionum Indicarum Vol 3 (1970)ac 4616. p. 153, Line 14 of the inscription.

ภาษาปรากฤต, งกฤษ, prakrit, เป, นภาษาโบราณกล, มหน, งในอ, นเด, ยสม, ยโบราณ, ดอย, ในภาษากล, มอ, นโด, โรเป, ยน, นเด, โรป, ในสาขาย, อย, ภาษากล, มอ, นโด, เรเน, ยน, นเด, หร, าน, โดยมากจะจ, ดเป, นภาษาท, ฒนาการในก, งกลาง, ระหว, างภาษาโบราณก, บภาษาสม, ยใหม, เร, ยก, ไม, . phasaprakvt xngkvs Prakrit epnphasaobranklumhnunginxinediysmyobran cdxyuinphasaklumxinod yuorepiyn xinediy yuorp insakhayxy phasaklumxinod xiereniyn xinediy xihran odymakcacdepnphasathimiwiwthnakarinkungklang rahwangphasaobrankbphasasmyihm thieriyk phasaprakvtni imidhmaycaephaaipthitwphasahnungphasaid aetepnkareriykphasaklumhnunginradbphasathin aelaepnkaryakthicarabuihchdwaphasaprakvtkhuxxyangir aelankwichakardanphasaxinediykyngmikhwamehnimlngrxykn bangkwahmaythungphasathinxinediyyukhihm rwmthnginyukhklang hruxklawodyyxkkhux phasaxunnxkehnuxcakphasasnskvtaelaphasaphraewth bangkwahmaythungphasaxinediyyukhihm thiwiwthnakarmacakphasaprakvtyukhklang nxkcakniyngmikhxesnxwa phasaprakvtkhuxphasathinkhxngphasasnskvt aelayngmikhwamehnwa phasabali kxaccdxyuinklumphasaprakvtkidphasaprakvtphumiphakh xnuthwipxinediykarcaaenkthangphasasastr xinod yuorepiynklumphasaxinod xiereniynklumphasaxinod xarynphasaprakvtISO 639 2 5 praklxtotlxk Nonemidd1350 Middle Indo Aryan 1 khawa prakvt inxksrphrahmitxnplaythiMandsaur stone inscription of Yashodharman Vishnuvardhana kh s 532 2 hlkthanphasaprakvtthiekaaekthisud khuxcarukxosk bnesaxosk thiphraecaxoskmharachrbsngihsrangkhun odyichxksrphrahmi thwaimpraktwamikarichphasaprakvtinnganwrrnkrrmxyangkwangkhwang aetklbmikarichinrupkhxngphasaphud dngcaphbidcakbthlakhrphasasnskvt thiihtwlakhrinwrrnasungphudphasasnskvt khnathiwrrnatacaphudphasaprakvt hruxphasaxprphrmsakhawa prakvt inphasasnskvt nn hmaythung thrrmchati pkti dngedim hruxthxngthin l nkphasasastrcungsnnisthanwa phasaprakvt nacahmaythungphasathimiwiwthnakarodythrrmchatitamkrabwnkarthangphasa sungtrngkhamkbphasasnskvt thihmaythung khdeklaaelw xnepnphasathiidrbkarwangraebiybkdeknthodynkprachy inaengkhxngiwyakrnaelw phasaprakvtmikhwamsbsxnnxykwaphasasnskvtxyangmak immithwiphcn mikarknxykwa aelamikaraeckkriyathingaykwa aelakhasphththnghmdinphasaprakvtkmacaktnkaenidinphasaxinediyobranphasaxrrthmkhthiepnrupaebbobrankhxngphasamkhthi sungichinkarekhiynexksarthangsasnaechn aelamkepntwaethnkhxngphasaprakvt nkiwyakrnkhxngphasaprakvtcaaesdngiwyakrnkhxngphasaxrrthmkhthikxn ephraachanninkareriynphasaprakvt mkcaerimdwyphasaxrrthmkhthiwiwthnakar aekikhphasaprakvtmiwiwthnakar 3 rayadwykn khux 1 phasaprakvtobran xyuchwng phuththstwrrsthi 2 3 phasathiinchwngnikhux phasabali phasainphrasutrkhxngsasnaichna sasnaechn phasainbthlakhrkhxngxswokhs sungphbidinaethbexechiyklang 2 phasaprakvtyukhklang idaek phasamharastri phasaesaresniaelaphasamkhthi phasaipsaci 3 phasaprakvtyukhklang eriykxikxyangwa phasaxprphrmsa ichinbthlakhr dngklawmakhangtnxangxing aekikh Nordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Middle Indo Aryan Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology CS1 maint display editors link Fleet John Faithfull 1907 Corpus Inscriptionum Indicarum Vol 3 1970 ac 4616 p 153 Line 14 of the inscription ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaprakvt amp oldid 9347883, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม