fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาคุชราต

ภาษาคุชราต (คุชราต: ગુજરાતી คุชราตี) คือภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอินโด-ยุโรเปียน เป็นหนึ่งใน 22 ภาษาทางการ และ 14 ภาษาภูมิภาคของอินเดีย และเป็นหนึ่งในภาษาชนกลุ่มน้อยของปากีสถาน มีผู้พูดภาษาคุชราตประมาณ 46 ล้านคนทั่วโลก มากเป็นอันดับที่ 23 ของโลก โดยที่ 45.5 ล้านคนอาศัยอยู่ในอินเดีย 150,000 คนในยูกันดา 100,000 คนในปากีสถาน 250,000 คนในแทนซาเนีย และ 50,000 คนในเคนยา

ภาษาคุชราต
ગુજરાતી गुजराती گُجراتی Gujǎrātī
ออกเสียง/gudʒ.(ə)'ɾɑ̈t̪i/
ภูมิภาคอินเดีย แอฟริกาใต้ ยูกันดา แทนซาเนีย เคนยา ปากีสถาน สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ฟิจิ แคนาดา
จำนวนผู้พูด46 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ระบบการเขียนอักษรคุชราต
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการคุชราต (ประเทศอินเดีย)
ผู้วางระเบียบLanguage Academy
รหัสภาษา
ISO 639-1gu
ISO 639-2guj
ISO 639-3guj

ภาษาคุชราต คือภาษาหลักของรัฐคุชราตในอินเดีย รวมถึงพื้นที่สหภาพที่ติดกันคือ ดามานและดีอู และ ดาดราและนครหเวลี และยังเป็นภาษาของชุมชนชาวคุชราตในเมืองมุมไบ (บอมเบย์เดิม) นอกจากนี้ยังปรากฏประชาการจำนวนหนึ่งที่พูดภาษาคุชราตได้ในอเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร คุชราตเป็นภาษาแม่ของมหาตมะ คานธี "บิดาของอินเดีย" มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ "บิดาของปากีสถาน" และซาร์ดาร์ วัลลัภภัย ปาเทล "บุรุษเหล็กแห่งอินเดีย"

ประวัติ

ภาษาคุชราตเป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันสมัยใหม่ที่พัฒนามาจากภาษาสันสกฤตโดยทั่วไปแบ่งภาษาในกลุ่มนี้ออกเป็น 3 กลุ่มตามระยะเวลาคือ

  1. ภาษากลุ่มอินโด-อารยันโบราณ ได้แก่ภาษาพระเวทและภาษาสันสกฤตคลาสสิก
  2. ภาษากลุ่มอินโด-อารยันยุคกลางได้แก่ภาษาปรากฤตสำเนียงต่างๆ และภาษาอปพราหมศัส
  3. ภาษากลุ่มอินโด-อารยันสมัยใหม่ เช่น ภาษาฮินดี ภาษาปัญจาบ ภาษาเบงกอล

จากทั้งสามกลุ่มที่กล่าวมา ภาษาคุชราตมีพัฒนาการแยกจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันอื่นๆเป็น 4 ขั้นตอนด้วยกันคือ

  1. ภาษากลุ่มอินโด-อารยันแยกเป็นกลุ่มเหนือ กลุ่มตะวันออกและตะวันตกขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะ เช่นเปลี่ยนเสียงกักเป็นเสียงก้องในกลุ่มเหนือ (ภาษาสันสกฤต ทันตะ เป็นภาษาปัญจาบ ทานต์) และเสียงจากฟันและเสียงม้วนลิ้นรวมกับเสียงเพดานแข็ง (เช่น ภาษาสันสกฤต สันธยา เป็น ภาษาเบงกอล สาฌ)
  2. กลุ่มตะวันตกแยกเป็นกลุ่มกลางและกลุ่มใต้
  3. กลุ่มกลางแยกเป็นภาษาคุชราต/ราชสถาน ภาษาฮินดีตะวันตก และภาษาปัญจาบ/ลหันทะ/สินธี ตามลักษณะการเปลี่ยนกริยาช่วยและปรบทในภาษาคุชราต/ราชสถาน
  4. ภาษาคุชราต/ราชสถาน แยกเป็นภาษาคุชราตและภาษาราชสถานโดยการพัฒนาของลักษณะบางอย่าง เช่นเครื่องหมายความเป็นเจ้าของ -n- ในพุทธศตวรรษที่ 20

การเปลี่ยนแปลงจากภาษาสันสกฤตที่สำคัญที่พบในภาษาคุชราตได้แก่

  • สัทวิทยา ได้แก่ ตัดเสียงสระที่ตัวสุดท้ายออก เปลี่ยนกลุ่มพยัญชนะเป็นพยัญชนะตัวเดียวที่มีเสียงสระยาวขึ้น
  • ด้านลักษณะคำ ได้แก่ ลดจำนวนคำประสม รวมทวิพจน์ เข้ากับพหูพจน์ เปลี่ยนปัจจัยแบบการกเป็นแบบปรบท พัฒนาโครงสร้างของกาล การกระทำ มาลาที่อ้อมค้อม
  • การเรียงประโยค ได้แก่ตัดสัมพันธการก มีระบบการตกลงที่ซับซ้อน

ภาษาคุชราตเองแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้

  • ภาษาคุชราตโบราณ (พ.ศ. 1643 - 2043) บรรพบุรุษของภาษาคุชราตและภาษาราชสถานใช้พูดโดยคุรชารส์ในคุชราตเหนือและราชสถานตะวันตก เอกสารในยุคนี้แสดงลักษณะของภาษาคุชราต เช่นรูปแบบของนามแบบกรรมตรง ปรบทและกริยาช่วย มี 3 เพศ เช่นเดียวกับภาษาคุชราตในปัจจุบัน และในราว พ.ศ. 1843 มีการจัดมาตรฐานภาษาขึ้น ในขณะที่ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อภาษาคุชราตโบราณ แต่มีนักวิชาการบางคนเรียกภาษาราชสถานตะวันตกโบราณ โดยถือว่าภาษาคุชราตและภาษาราชสถานไม่แยกออกจากกันในเวลานั้น ไวยากรณ์ที่เป็นทางการของภาษาเริ่มต้นของภาษานี้เขียนโดยนักบวชในศาสนาเชนและนักวิชาการ เหมาจันทระ สุรี ในสมัยกษัตริย์ราชบุตร สิทธราช ชยสิญแห่งฮัญ อญิลลวธะ (ปาตาน) งานเขียนที่สำคัญในยุคนี้ได้แก่
    • ราสะ เป็นเรื่องเล่าที่เป็นคำสอน
    • ผาคุ
    • พัรมาสี อธิบายเกี่ยวกับธรรมชาติทั้ง 12 เดือน
    • อาขยานะ เป็นบทร้อยกรอง
  • ภาษาคุชราตยุคกลาง (พุทธศตวรรษ 20 -23)แยกออกจากภาษาราชสถาน ปรากฏเสียง ɛ และ ɔ ตัวช่วย -ch และเครื่องหมายความเป็นเจ้าของ -h- ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างภาษาคุชราตยุคโบราณกับยุคปัจจุบันได้แก่
    • u เป็น ə ในพยางค์เปิด
    • เสียงกล้ำ əi, əu เปลี่ยนเป็น ɛ และ ɔ ในพยางค์แรกและเป็น e และ o ในที่อื่น
    • əũ เป็น ɔ̃ ในพยางค์แรกและเป็น ű ในพยางค์สุดท้าย

การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลต่อไวยากรณ์ในลำดับต่อมา ตัวอย่างเช่น ภาคุชราตโบราณมีรูปการกเครื่องมือ-สถานที่ เอกพจน์เป็น -i กลายมาซ้ำกับ การกประธาน-กรรมตรง เอกพจน์ ซึ่งเป็น -ə

  • ภาษาคุชราตสมัยใหม่ (ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 23 เป็นต้นมา) ความเปลี่ยนแปลงทางด้านสัทวิทยาที่สำคัญตัดเสียงท้าย ə's มีคำที่ลงท้ายด้วยเสียงพยัญชนะ มีเครื่องหมายพหูพจน์ใหม่ ลงท้ายด้วย-o


การแพร่กระจาย

 
แผนที่รัฐคุชราต

มีผู้พูดภาษาคุชราต 46 ล้านคนโดยอยู่ในอินเดีย 45.5 ล้านคนที่เหลืออยู่ในยูกันดา 150,000 คน แทนซาเนีย 250,000 คน เคนยา 50,000 คน และในปากีสถานประมาณ 100,000 คนชุมชนของผู้พูดภาษาคุชราตที่ใหญ่ที่สุดอยู่ในมุมไบ

ในอังกฤษมีผู้พูดภาษานี้ราว 300,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในลอนดอน มีผู้พูดภาษานี้ในอเมริกาเหนือ ส่วนใหญ่เป็นผู้ลี้ภัยจากแอฟริกาตะวันออก เช่นจากยูกันดาที่ลี้ภัยในกรณี อีดี้ อามินขับไล่ชาวเอเชีย 50,000 คน

สถานะการเป็นภาษาทางการ

ภาษาคุชราตเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 22 ภาษาของอินเดีย และเป็น 1 ใน 14 ภาษาประจำถิ่นของอินเดีย และเป็นภาษาทางการของรัฐคุชราต

สำเนียง

 
หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยภาษาคุชราตสำเนียงปาร์ซี เมื่อราว พ.ศ. 2435

สำเนียงที่ถือเป็นมาตรฐานของภาษาคุชราตคือสำเนียงที่ใช้พูดในบริเวณพโรทะจนถึงอะห์เมดาบัดและทางเหนือ. สำเนียงอื่นๆของภาษาคุชราตได้แก่

  • สำเนียงมาตรฐาน แบ่งได้อีกเป็น สำเนียงมาตรฐานเสารัตตระ สำเนียงนครี สำเนียงคุชราตบอมเบย์ สำเนียงปัตนุลี
  • สำเนียงกะมะเดีย แบ่งได้อีกเป็น สำเนียงครัมยะ สำเนียงสุรตี สำเนียงอนาละ สำเนียงพรเดละ สำเนียงคุชราตพรอชตะวันออก สำเนียงจโรตรี สำเนียงปติทรี สำเนียงวโททรี สำเนียงอะห์เมดาบัด สำเนียงปตนี
  • สำเนียงปาร์ซี
  • สำเนียงกถิยวดี แบ่งได้อีกเป็น สำเนียงฌลวดี สำเนียงโสรถี สำเนียงโหลดี สำเนียงโคหัลวดี สำเนียงภัพนครี
  • สำเนียงบัรวา
  • สำเนียงบกรี
  • สำเนียงตริมุขี แบ่งได้อีกเป็น สำเนียงฆิสดี

ภาษาใกล้เคียง

ภาษากุจจิหรือภาษากัจฉิหรือภาษาโขชกีเป็นภาษาที่มักจะถูกกล่าวถึงว่าเป็นสำเนียงของภาษาคุชราต แต่นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่กล่าวว่าภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาสินธี

ระบบการเขียน

เขียนด้วยอักษรคุชราตซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรเทวนาครี ต่างกันแต่อักษรคุชราตไม่มีเส้นขีดด้านบนของอักษร ภาษากัจฉิเขียนด้วยอักษรคุชราตด้วยเช่นกัน และทั้งสองภาษานี้เคยเขียนด้วยอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียด้วย

คำศัพท์

โดยทั่วไป ภาษากลุ่มอินโด-อารยันสมัยใหม่แบ่งคำศัพท์โดยทั่วไปเป็น 3 กลุ่มคือ ตัตสัม ตัคภัพ และคำยืม

ตัคภัพ

ภาษาคุชราตเป็นภาษากลุ่มอินโดอารยันสมัยใหม่ที่เป็นลูกหลานของภาษาศัพท์ในหมวดนี้เกี่ยวข้องกับภาษาสันสกฤต เป็นศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน และศัพท์ทางศาสนา

ตัตสัม

เมื่อเลิกใช้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาพูด และเปลี่ยนมาสู่ยุคของภาษากลุ่มอินโด-อารยันยุคกลาง มีการจัดมาตรฐานให้เป็นภาษาเขียนและภาษาสำหรับศาสนาในยุคนั้น ศัพท์ในหมวดนี้จึงเป็นคำยืมจากภาษาสันสกฤตในรูปแบบที่เป็นทางการ ศัพท์เทคนิค มีการผันคำและใช้เครื่องหมายตามแบบภาษาสันสกฤต ตัตสัมโบราณบางคำมีการเปลี่ยนความหมายไปในภาษาสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น ปรสาระหมายถึงการแพร่ ทำให้กระจาย แต่ในปัจจุบันหมายถึงการออกอากาศ คำบางคำเป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่เช่น โทรศัพท์ ในภาษาคุชราตใช้ว่าทุรภาษ หมายถึงการพูดในระยะไกล แต่ชาวคุชราตมักใช้ว่า โฟนมากกว่า

คำยืมจากภาษาอื่น

นอกจากศัพท์ที่มาจากภาษาสันสกฤตแล้ว ยังมีศัพท์ที่มาจากภาษาอื่นๆที่มาเป็นคำยืมในภาษาคุชราต ได้แก่ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ และมีบางส่วนมาจากภาษาโปรตุเกสและภาษาคำยืมจากภาษาอังกฤษจัดว่าใหม่ที่สุด ส่วนคำยืมจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานกว่า คำศัพท์จากทั้งสามภาษานี้จัดว่ามีความสำคัญและใช้เป็นศัพท์ทั่วไป ควบคู่กับตัตสัม

ภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ

ประเทศอินเดียเคยถูกปกครองด้วยมุสลิมที่พูดภาษาเปอร์เซียเป็นเวลานาน ทำให้ภาษาในประเทศอินเดียมีการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งภาษาคุชราต โดยรับคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียเข้ามามาก ตัวอย่างเช่น การใช้คำสันธาน ke ที่มาจากภาษาเปอร์เซีย เมื่อเวลาผ่านไป คำเหล่านี้ถูกทำให้มีลักษณะของภาษาคุชราตมากขึ้น โดยทุกคำมีเครื่องหมายเพศตามแบบภาษาคุชราต

ในขณะที่ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน เช่น ภาษามราฐี ภาษาเนปาลีและภาษาเบงกอลพยายามรักษารากศัพท์ของตนเองไว้ แต่ภาษากลุ่มอินโด-อารยันทางตะวันตก ตอนกลางและตะวันตกเฉียงเหนือเช่นภาษาปัญจาบ ภาษาฮินดูสตานี ภาษาสินธีและภาษาคุชราตกลับรับเอาลักษณะของภาษาเปอร์เซียไว้มาก ภาษาฮินดูสตานีสำเนียงที่ใช้พูดในเดลฮีเคยถูกทำให้เป็นเปอร์เซีย แล้วต่อมาจึงถูกตัดลักษณะของภาษาเปอร์เซียออกแล้วทำให้เป็นภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกอินเดียและปากีสถาน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นภาษาฮินดีและภาษาอูรดูแม้ว่าภาษาคุชราตจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะดังกล่าว แต่ก็มีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียมากเช่นกัน การออกเสียงคำยืมเหล่านี้หากเทียบกับภาษาเปอร์เซียใหม่แล้ว จะมีพัฒนาการเป็นเช่นเดียวกับผู้พูดภาษาเปอร์เซียในอัฟกานิสถานและเอเชียกลางเมื่อ 500 ปีก่อน ผู้อพยพชาวเปอร์เซียที่นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์ หรือที่เรียกว่าชาวปาร์ซี พูดภาษาคุชราตในรูปแบบที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียมาก

ภาษาอังกฤษ

อังกฤษเป็นประเทศที่เข้ามามีอิทธิพลในอินเดียเมื่อสิ้นสุดอิทธิพลของเปอร์เซียและอาหรับ ภาษาอังกฤษเข้ามามีอิทธิพลในอินเดียในฐานะภาษาเพื่อการศึกษา การนำศัพท์ภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาคุชราตมีการเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย ที่เห็นได้ชัดคือภาษาคุชราตมี 3 เพศ แต่ในภาษาอังกฤษไม่มี เมื่อนำมาใช้จึงต้องกำหนดเพศให้ศัพท์นั้น ตามแบบของภาษาคุชราต โดยดูจากความหมายของคำ

ภาษาโปรตุเกส

มีอิทธิพลต่อภาษาคุชราตเล็กน้อย ต่างจากบริเวณอื่นที่มีภาษาลูกผสมของภาษาโปรตุเกส โดยมาก ภาษาโปรตุเกสมีอิทธิพลต่อภาษาตามแนวชายฝั่งมากกว่า

ไวยากรณ์

ลักษณะการเรียงคำในภาษาคุชราต คำขยายอยู่หน้าคำนาม กรรมตรงมาก่อนกริยา มีปรบท การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา มี 3 เพศ และ 2 พจน์ ไม่มีคำนำหน้านาม กริยาใช้ในรูปรากศัพท์ตามด้วยปัจจัยที่แสดงความมุ่งหมายและข้อตกลงซึ่งถือเป็นรูปแบบหลัก และอาจตามด้วยรูปช่วยที่แสดงกาลและมาลา

อ้างอิง

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาคุชราต

ภาษาค, ชราต, ชราต, જર, ชราต, อภาษากล, มอ, นโด, อารย, งเป, นส, วนหน, งของตระก, ลอ, นโด, โรเป, ยน, เป, นหน, งใน, ภาษาทางการ, และ, ภาษาภ, ภาคของอ, นเด, และเป, นหน, งในภาษาชนกล, มน, อยของปาก, สถาน, ดประมาณ, านคนท, วโลก, มากเป, นอ, นด, บท, ของโลก, โดยท, านคนอาศ, ยอ. phasakhuchrat khuchrat ગ જર ત khuchrati khuxphasaklumxinod xaryn sungepnswnhnungkhxngtrakulxinod yuorepiyn epnhnungin 22 phasathangkar aela 14 phasaphumiphakhkhxngxinediy aelaepnhnunginphasachnklumnxykhxngpakisthan miphuphudphasakhuchratpraman 46 lankhnthwolk makepnxndbthi 23 khxngolk odythi 45 5 lankhnxasyxyuinxinediy 150 000 khninyuknda 100 000 khninpakisthan 250 000 khninaethnsaeniy aela 50 000 khninekhnyaphasakhuchratગ જર ત ग जर त گ جراتی Gujǎratixxkesiyng gudʒ e ɾɑ t i phumiphakhxinediy aexfrikait yuknda aethnsaeniy ekhnya pakisthan shrthxemrika shrachxanackr xxsetreliy fici aekhnadacanwnphuphud46 lan imphbwnthi trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynxinod xaryntawntkphasakhuchratrabbkarekhiynxksrkhuchratsthanphaphthangkarphasathangkarkhuchrat praethsxinediy phuwangraebiybLanguage AcademyrhsphasaISO 639 1guISO 639 2gujISO 639 3gujphasakhuchrat khuxphasahlkkhxngrthkhuchratinxinediy rwmthungphunthishphaphthitidknkhux damanaeladixu aela dadraaelankhrhewli aelayngepnphasakhxngchumchnchawkhuchratinemuxngmumib bxmebyedim nxkcakniyngpraktprachakarcanwnhnungthiphudphasakhuchratidinxemrikaehnux aelashrachxanackr khuchratepnphasaaemkhxngmhatma khanthi bidakhxngxinediy muhmhmd xali cinnah bidakhxngpakisthan aelasardar wllphphy paethl burusehlkaehngxinediy enuxha 1 prawti 2 karaephrkracay 3 sthanakarepnphasathangkar 4 saeniyng 4 1 phasaiklekhiyng 5 rabbkarekhiyn 6 khasphth 6 1 tkhphph 6 2 ttsm 6 3 khayumcakphasaxun 6 3 1 phasaepxresiyaelaphasaxahrb 6 3 2 phasaxngkvs 6 3 2 1 phasaoprtueks 7 iwyakrn 8 xangxingprawti aekikhphasakhuchratepnphasaklumxinod xarynsmyihmthiphthnamacakphasasnskvtodythwipaebngphasainklumnixxkepn 3 klumtamrayaewlakhux phasaklumxinod xarynobran idaekphasaphraewthaelaphasasnskvtkhlassik phasaklumxinod xarynyukhklangidaekphasaprakvtsaeniyngtang aelaphasaxpphrahmss phasaklumxinod xarynsmyihm echn phasahindi phasapycab phasaebngkxlcakthngsamklumthiklawma phasakhuchratmiphthnakaraeykcakphasaklumxinod xarynxunepn 4 khntxndwyknkhux phasaklumxinod xarynaeykepnklumehnux klumtawnxxkaelatawntkkhunkbkarepliynaeplnglksna echnepliynesiyngkkepnesiyngkxnginklumehnux phasasnskvt thnta epnphasapycab thant aelaesiyngcakfnaelaesiyngmwnlinrwmkbesiyngephdanaekhng echn phasasnskvt snthya epn phasaebngkxl sach klumtawntkaeykepnklumklangaelaklumit klumklangaeykepnphasakhuchrat rachsthan phasahinditawntk aelaphasapycab lhntha sinthi tamlksnakarepliynkriyachwyaelaprbthinphasakhuchrat rachsthan phasakhuchrat rachsthan aeykepnphasakhuchrataelaphasarachsthanodykarphthnakhxnglksnabangxyang echnekhruxnghmaykhwamepnecakhxng n inphuththstwrrsthi 20karepliynaeplngcakphasasnskvtthisakhythiphbinphasakhuchratidaek sthwithya idaek tdesiyngsrathitwsudthayxxk epliynklumphyychnaepnphyychnatwediywthimiesiyngsrayawkhun danlksnakha idaek ldcanwnkhaprasm rwmthwiphcn ekhakbphhuphcn epliynpccyaebbkarkepnaebbprbth phthnaokhrngsrangkhxngkal karkratha malathixxmkhxm kareriyngpraoykh idaektdsmphnthkark mirabbkartklngthisbsxnphasakhuchratexngaebngepn 3 raya dngni phasakhuchratobran ph s 1643 2043 brrphburuskhxngphasakhuchrataelaphasarachsthanichphudodykhurcharsinkhuchratehnuxaelarachsthantawntk exksarinyukhniaesdnglksnakhxngphasakhuchrat echnrupaebbkhxngnamaebbkrrmtrng prbthaelakriyachwy mi 3 ephs echnediywkbphasakhuchratinpccubn aelainraw ph s 1843 mikarcdmatrthanphasakhun inkhnathiphasaniepnthiruckinchuxphasakhuchratobran aetminkwichakarbangkhneriykphasarachsthantawntkobran odythuxwaphasakhuchrataelaphasarachsthanimaeykxxkcakkninewlann iwyakrnthiepnthangkarkhxngphasaerimtnkhxngphasaniekhiynodynkbwchinsasnaechnaelankwichakar ehmacnthra suri insmykstriyrachbutr siththrach chysiyaehnghy xyillwtha patan nganekhiynthisakhyinyukhniidaek rasa epneruxngelathiepnkhasxn phakhu phrmasi xthibayekiywkbthrrmchatithng 12 eduxn xakhyana epnbthrxykrxng phasakhuchratyukhklang phuththstwrrs 20 23 aeykxxkcakphasarachsthan praktesiyng ɛ aela ɔ twchwy ch aelaekhruxnghmaykhwamepnecakhxng h khwamaetktangthisakhyrahwangphasakhuchratyukhobrankbyukhpccubnidaek u epn e inphyangkhepid esiyngkla ei eu epliynepn ɛ aela ɔ inphyangkhaerkaelaepn e aela o inthixun eũ epn ɔ inphyangkhaerkaelaepn u inphyangkhsudthaykarepliynaeplngnimiphltxiwyakrninladbtxma twxyangechn phakhuchratobranmirupkarkekhruxngmux sthanthi exkphcnepn i klaymasakb karkprathan krrmtrng exkphcn sungepn e phasakhuchratsmyihm tngaetphuththstwrrsthi 23 epntnma khwamepliynaeplngthangdansthwithyathisakhytdesiyngthay e s mikhathilngthaydwyesiyngphyychna miekhruxnghmayphhuphcnihm lngthaydwy okaraephrkracay aekikh aephnthirthkhuchrat miphuphudphasakhuchrat 46 lankhnodyxyuinxinediy 45 5 lankhnthiehluxxyuinyuknda 150 000 khn aethnsaeniy 250 000 khn ekhnya 50 000 khn aelainpakisthanpraman 100 000 khnchumchnkhxngphuphudphasakhuchratthiihythisudxyuinmumibinxngkvsmiphuphudphasaniraw 300 000 khn swnihyxyuinlxndxn miphuphudphasaniinxemrikaehnux swnihyepnphuliphycakaexfrikatawnxxk echncakyukndathiliphyinkrni xidi xaminkhbilchawexechiy 50 000 khnsthanakarepnphasathangkar aekikhphasakhuchratepnphasathangkarhnungin 22 phasakhxngxinediy aelaepn 1 in 14 phasapracathinkhxngxinediy aelaepnphasathangkarkhxngrthkhuchratsaeniyng aekikh hnngsuxphimphthiphimphdwyphasakhuchratsaeniyngparsi emuxraw ph s 2435 1 saeniyngthithuxepnmatrthankhxngphasakhuchratkhuxsaeniyngthiichphudinbriewnphorthacnthungxahemdabdaelathangehnux 2 saeniyngxunkhxngphasakhuchratidaek saeniyngmatrthan aebngidxikepn saeniyngmatrthanesarttra saeniyngnkhri saeniyngkhuchratbxmeby saeniyngptnuli saeniyngkamaediy aebngidxikepn saeniyngkhrmya saeniyngsurti saeniyngxnala saeniyngphredla saeniyngkhuchratphrxchtawnxxk saeniyngcortri saeniyngptithri saeniyngwoththri saeniyngxahemdabd saeniyngptni saeniyngparsi saeniyngkthiywdi aebngidxikepn saeniyngchlwdi saeniyngosrthi saeniyngohldi saeniyngokhhlwdi saeniyngphphnkhri saeniyngbrwa saeniyngbkri saeniyngtrimukhi aebngidxikepn saeniyngkhisdiphasaiklekhiyng aekikh phasakuccihruxphasakcchihruxphasaokhchkiepnphasathimkcathukklawthungwaepnsaeniyngkhxngphasakhuchrat aetnkphasasastrswnihyklawwaphasaniiklekhiyngkbphasasinthirabbkarekhiyn aekikhekhiyndwyxksrkhuchratsungmilksnaiklekhiyngkbxksrethwnakhri tangknaetxksrkhuchratimmiesnkhiddanbnkhxngxksr phasakcchiekhiyndwyxksrkhuchratdwyechnkn aelathngsxngphasaniekhyekhiyndwyxksrxahrbaebbepxresiydwykhasphth aekikhodythwip phasaklumxinod xarynsmyihmaebngkhasphthodythwipepn 3 klumkhux ttsm tkhphph aelakhayum tkhphph aekikh phasakhuchratepnphasaklumxinodxarynsmyihmthiepnlukhlankhxngphasasphthinhmwdniekiywkhxngkbphasasnskvt epnsphththiichinchiwitpracawn aelasphththangsasna ttsm aekikh emuxelikichphasasnskvtepnphasaphud aelaepliynmasuyukhkhxngphasaklumxinod xarynyukhklang mikarcdmatrthanihepnphasaekhiynaelaphasasahrbsasnainyukhnn sphthinhmwdnicungepnkhayumcakphasasnskvtinrupaebbthiepnthangkar sphthethkhnikh mikarphnkhaaelaichekhruxnghmaytamaebbphasasnskvt ttsmobranbangkhamikarepliynkhwamhmayipinphasasmyihm twxyangechn prsarahmaythungkaraephr thaihkracay aetinpccubnhmaythungkarxxkxakas khabangkhaepnkarpradisthkhunihmechn othrsphth inphasakhuchratichwathurphas hmaythungkarphudinrayaikl aetchawkhuchratmkichwa ofnmakkwa khayumcakphasaxun aekikh nxkcaksphththimacakphasasnskvtaelw yngmisphththimacakphasaxunthimaepnkhayuminphasakhuchrat idaek phasaepxresiy phasaxahrb phasaxngkvs aelamibangswnmacakphasaoprtueksaelaphasakhayumcakphasaxngkvscdwaihmthisud swnkhayumcakphasaepxresiyaelaphasaxahrbmikhwamepnmathangprawtisastrthiyawnankwa khasphthcakthngsamphasanicdwamikhwamsakhyaelaichepnsphththwip khwbkhukbttsm phasaepxresiyaelaphasaxahrb aekikh praethsxinediyekhythukpkkhrxngdwymuslimthiphudphasaepxresiyepnewlanan thaihphasainpraethsxinediymikarepliynaeplngrwmthngphasakhuchrat odyrbkhayumcakphasaxahrbaelaphasaepxresiyekhamamak twxyangechn karichkhasnthan ke thimacakphasaepxresiy emuxewlaphanip khaehlanithukthaihmilksnakhxngphasakhuchratmakkhun odythukkhamiekhruxnghmayephstamaebbphasakhuchratinkhnathiphasaklumxinod xaryn echn phasamrathi phasaenpaliaelaphasaebngkxlphyayamrksaraksphthkhxngtnexngiw aetphasaklumxinod xarynthangtawntk txnklangaelatawntkechiyngehnuxechnphasapycab phasahindustani phasasinthiaelaphasakhuchratklbrbexalksnakhxngphasaepxresiyiwmak phasahindustanisaeniyngthiichphudinedlhiekhythukthaihepnepxresiy aelwtxmacungthuktdlksnakhxngphasaepxresiyxxkaelwthaihepnphasasnskvt sungepnphlmacakkaraebngaeykxinediyaelapakisthan thaihekidkarepliynaeplngepnphasahindiaelaphasaxurduaemwaphasakhuchratcaimmikarepliynaeplnginlksnadngklaw aetkmikhayumcakphasaepxresiymakechnkn karxxkesiyngkhayumehlanihakethiybkbphasaepxresiyihmaelw camiphthnakarepnechnediywkbphuphudphasaepxresiyinxfkanisthanaelaexechiyklangemux 500 pikxn phuxphyphchawepxresiythinbthuxsasnaosorxsetxr hruxthieriykwachawparsi phudphasakhuchratinrupaebbthiidrbxiththiphlcakphasaepxresiymak phasaxngkvs aekikh xngkvsepnpraethsthiekhamamixiththiphlinxinediyemuxsinsudxiththiphlkhxngepxresiyaelaxahrb phasaxngkvsekhamamixiththiphlinxinediyinthanaphasaephuxkarsuksa karnasphthphasaxngkvsmaichinphasakhuchratmikarepliynaeplngipelknxy thiehnidchdkhuxphasakhuchratmi 3 ephs aetinphasaxngkvsimmi emuxnamaichcungtxngkahndephsihsphthnn tamaebbkhxngphasakhuchrat odyducakkhwamhmaykhxngkha phasaoprtueks aekikh mixiththiphltxphasakhuchratelknxy tangcakbriewnxunthimiphasalukphsmkhxngphasaoprtueks odymak phasaoprtueksmixiththiphltxphasatamaenwchayfngmakkwaiwyakrn aekikhlksnakareriyngkhainphasakhuchrat khakhyayxyuhnakhanam krrmtrngmakxnkriya miprbth kareriyngpraoykhepnaebbprathan krrm kriya mi 3 ephs aela 2 phcn immikhanahnanam kriyaichinrupraksphthtamdwypccythiaesdngkhwammunghmayaelakhxtklngsungthuxepnrupaebbhlk aelaxactamdwyrupchwythiaesdngkalaelamalaxangxing aekikh Tisdall 1892 p 148 Cardona amp Suthar 2003 p 661 wikiphiediy saranukrmesri inphasakhuchratekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasakhuchrat amp oldid 8772948, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม