fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาเลอเวือะ

ภาษาเลอเวือะ หรือ ภาษาละว้า เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยปะหล่อง ในประเทศไทยมีผู้พูดในจังหวัดแม่ฮ่องสอนและเชียงใหม่ ตามรายงานของอี. ดับเบิลยู. ฮัตชินสัน เมื่อ พ.ศ. 2477 พบว่ามีผู้พูดในจังหวัดลำปาง เชียงราย และแพร่ด้วย แต่จากการสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2527 ไม่พบผู้พูดภาษาเลอเวือะในจังหวัดดังกล่าว คงพูดภาษาไทยถิ่นเหนือทั้งหมด

ภาษาเลอเวือะ
เลอเวือะ
ออกเสียง/l.wɨaʔ/
ประเทศที่มีการพูดไทย (จังหวัดแม่ฮ่องสอนและเชียงใหม่)
ชาติพันธุ์ชาวเลอเวือะ (ละว้า)
จำนวนผู้พูด15,000 คน  (2550)
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
ระบบการเขียนอักษรไทย
รหัสภาษา
ISO 639-3อย่างใดอย่างหนึ่ง:
lcp — ภาษาเลอเวือะแบบอมพาย (เลอเวือะตะวันตก)
lwl — ภาษาเลอเวือะแบบบ่อหลวง (เลอเวือะตะวันออก)

ภาษาเลอเวือะประกอบด้วยวิธภาษาหรือภาษาย่อยที่แตกต่างกันสองกลุ่มซึ่งแหล่งข้อมูลบางแหล่งถือว่าเป็นภาษาแยกจากกัน ได้แก่ ภาษาเลอเวือะตะวันตกและภาษาเลอเวือะตะวันออก ภาษาทั้งสองมีความแตกต่างกันพอสมควร (แม้ว่าจะมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายอย่างสูง) เนื่องจากไม่สามารถเข้าใจซึ่งกันและกันได้จากคำให้การที่สอดคล้องกันของผู้พูดภาษาเลอเวือะตะวันตกและผู้พูดภาษาเลอเวือะตะวันออกและจากการทดสอบโดยสถาบันภาษาศาสตร์ฤดูร้อน นอกจากนี้บรรดาหมู่บ้านที่พูดภาษาเลอเวือะของแต่ละกลุ่มก็ยังมีสำเนียงภาษาที่แตกต่างกันออกไปอีก มิชชันนารีที่เคยเข้าไปเผยแพร่ศาสนาคริสต์ได้พัฒนาการเขียนภาษาเลอเวือะตะวันตกด้วยอักษรละตินและอักษรไทย

ภาษาเลอเวือะตะวันออกมีความมีชีวิตชีวาทางภาษาในระดับสูงและใช้สื่อสารกันในบ้านโดยผู้พูดทุกวัย การศึกษาของรัฐ ประกาศของหมู่บ้าน และธุรกิจทางการมักใช้ภาษาไทยกลาง ผู้พูดภาษาเลอเวือะตะวันออกส่วนใหญ่พูดคำเมืองได้เป็นอย่างน้อย แต่มีผู้พูดสูงอายุบางคนตอบเป็นภาษาเลอเวือะเมื่อมีผู้พูดคำเมืองด้วย ผู้พูดรุ่นใหม่มีแนวโน้มที่จะพูดภาษาไทยกลางได้คล่องเนื่องจากระบบการศึกษา และส่วนใหญ่พูดคำเมืองได้คล่องเนื่องจากการแต่งงานระหว่างชาวเลอเวือะกับชาวยวน

ระบบการเขียน

ตัวเขียนภาษาเลอเวือะตะวันตก (และตะวันออกบางส่วน) อักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ป่าแป๋ ละอูบ
/k/ กัก กิ่ง
ลั ค้างคาว
/kʰ/ ต้นไม้
/ᵑɡ/ า-อืฮ เม่น
/ŋ/ ไฟ
โกล ห้วย
'ง
/ˀŋ/ เ'งียง สั้น
ฮง
/ʰŋ/~[ŋ̊] ฮงาะ ข้าวเปลือก
/c/ จั กวาง
โอ-อิ หมด
/cʰ/ ชือม จาน
/s/ ซั ช้าง
/ᶮɟ/ ฌือม ซึม
/ɲ/ ญื ขัด
บิ โคลน
'ญ
/ˀɲ/ 'ญื ผิง (ไฟ)
ฮญ
/ʰɲ/~[ɲ̊] ฮญื (หนัง) ย่น
/d/~[ɗ] ดึ ดึง
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) กั หนาม
/ⁿd/ หม้อ
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) เนื้อ
/tʰ/ อง ย่าม
/n/ คราม (พืช)
กว ลูก
'น
/ˀn/ เ' หมวกชนิดหนึ่ง
ฮน
/ʰn/~[n̥] ฮนั สร้อย
/b/~[ɓ] บั กบ
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) อา-อุ ข้าวสุก
/ᵐb/ บันได
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) ปั ขวด
/pʰ/ พั ล้าง (จาน)
/f/ -อิจ เสร็จ
/m/ อง รอคอย
ญึ อร่อย
'ม
/ˀm/ ' ไร่ข้าว
ฮม
/ʰm/~[m̥] ฮม ตอก
/j/ ยือม ร้องไห้
'ย
/ˀj/ 'วง หมู่บ้าน
/r/~[ɾ] ดายหญ้า
ฮร
/ʰr/~[r̥]~[ɾ̥] ฮรั เขี้ยว
รฺ
/ɣ/ รฺ ใหญ่
'รฺ
/ˀɣ/ 'รฺอง ต้นเสา
ฮรฺ
/ʰɣ/~[x] ฮฺรั เขี้ยว
/l/ องะ เล่น
'ล
/ˀl/ 'ลั ยาว
ฮล
/ʰl/~[l̥] ฮล ใบ
/w/~[v] วือก หนอน
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) พี่สาว
/h/ ผึ้ง
รั่ว
ไม่มีรูป
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) เญือะ บ้าน
สระเดี่ยว
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ป่าแป๋ ละอูบ
–ะ
/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ปลา
–ั
/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ยั(ป่าแป๋) หลังคา
–า
/a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ย่าง
–ิ
/i/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ฆิ สน (พืช)
ชิ เปื่อย
–ี
/i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ที ชัด
–ึ
/ɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ฆึ (ป่าแป๋) ให้ราคาเพิ่ม
ลึ ดื้อ
–ือ
/ɨ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) รือ (ละอูบ) กรงไก่,
ตี (กลอง)
–ุ
/u/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ยุ (ป่าแป๋) ผ้าห่ม
ยุ ตาย
–ู
/u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ปู (ละอูบ) หนา
เ–ะ
/e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) หอยเบี้ย
(แทนเงิน)
เ–
/e/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
นกแก้ว
ตฮ กาฝาก
แ–ะ
/ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ขี้ขลาด
แ–
/ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
มะม่วง
ตบ หมัด (แมลง)
โ–ะ
/o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ต้นไม้
โ–
/o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
สันเขา
'มก กล้องสูบยา
เ–าะ
/ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ฮงาะ ข้าวเปลือก
–อ
/ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
ไฟ
ปล หญ้าคา
เ–อะ
/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อะ คำลงท้าย
เพื่อยืนยัน
เ–อ
/ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) จะ
เ–ิ
/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) เคิ ขึง
สระประสม
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ป่าแป๋ ละอูบ
เ–ียะ
/ia/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) 'ญียะ นิดหน่อย
เ–ีย
/ia/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
เตีย (ละอูบ) ดอก
'งีย สั้น
เ–ือะ
/ɨa/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) เฟือะ ลิง
เ–ือ
/ɨa/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
เฟือ คราด
ลือ เลีย
–ัวะ
/ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อัวะ คลื่นไส้
–ัว
/ua/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ปัว ขอ (กริยา)
–ว–
/ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ยก
สระเรียง
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ป่าแป๋ ละอูบ
–า-อิ
/ai/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
รฺา-อิ(ป่าแป๋) หญ้า
–า-อี
/ai/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) า-อี กระดึง
–า-อึ
/aɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อา-อึ ฉัน
า-อึ เหน็บ (สิ่งของ)
–า-อือ
/aɨ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) า-อือ ลม
–า-อื
/aɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) า-อื จมูก
–า-อุ
/au/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
า-อุ ข้าวสุก
–า-อู
/au/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) า-อู อาบน้ำ
–า-แอะ
/aɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็น /ʔ/)
า-แอะ ซน
–า-แอ
/aɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
ปลา-แอ เหล้า
า-แอ(ป่าแป๋) นอกชาน
–า-เอาะ
/aɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) า-เอาะ ผ้าพันไม้ตีข้าว
–า-ออ
/aɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
า-ออ สิบ
า-ออ มะกอก
–ี-อู
/iu/ พี-อู (ลม) รั่ว
–ู-อิ
/ui/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
ฮู-อิ (ละอูบ) อุ๊ย
ปู-อิ(ละอูบ) ยอดไม้
–ู-อี
/ui/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) พู-อี (ป่าแป๋) คน
–ู-แอ
/uɛ/ ปู-แอ รุ่งเช้า
เ–-โอ
/eo/ -โอ เกี่ยวข้อง
แ–-ออ
/ɛɔ/ -ออ แก้ว
โ–-อิ
/oi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
-อิ(ละอูบ) พริก
โ–-อี
/oi/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) -อี เงียบ
–อ-อิ
/ɔi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อ-อิ ถึง
–อ-อี
/ɔi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) 'มอ-อี (กิน) ไม่อิ่ม
–อ-แอ
/ɔɛ/ อ-แอ ริมฝีปาก
เ–อ-อิ
/əi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อ-อิ ฟืน, พระจันทร์
อ-อิ หมู
เ–อ-อี
/əi/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
อ-อี จุด (ตะเกียง)
อ-อี กลับ
เ–อ-อึ
/əɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
เ'อ-อึ ครก
เ–อ-อื
/əɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ครอ-อื(ละอูบ) เสื้อผ้า
เ–อ-อุ
/əu/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อ-อุ วัว
เ–อ-อู
/əu/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
อ-อู เดิน
อ-อู(ป่าแป๋) ปักดำ

ส่วนตัวเขียนภาษาเลอเวือะตะวันออก ไม่ได้ถูกกำหนดไว้ จึงอนุโลมใช้กฎเดียวกับภาษาเลอเวือะตะวันตก แต่เนื่องจากหน่วยเสียงตามตารางด้านบนยังไม่ครบถ้วน จึงมีการดัดแปลงเพิ่มเติมดังต่อไปนี้

  1. สระเรียงอื่นที่นอกเหนือจากตารางด้านบน ให้แยกออกเป็นสระไทยสองเสียง คั่นด้วยขีด
    • หมายเหตุ /iə/ และ /uə/ เป็นสระคนละเสียงกับ /ia/ และ /ua/ ตามลำดับ
  2. พยัญชนะท้ายบางตัวต้องเปลี่ยนเป็นสระก่อน แล้วจึงค่อยใช้รูปสระเรียงต่อไป ดังนี้
    • /-j/ เปลี่ยนเป็น /-i/
    • /-jˀ/ เปลี่ยนเป็น /-iʔ/
    • /-j̊/ เปลี่ยนเป็น /-ih/
    • /-w/ เปลี่ยนเป็น /-u/
    • /-wˀ/ เปลี่ยนเป็น /-uʔ/
    • /-w̥/ เปลี่ยนเป็น /-uh/
  3. เพิ่มหน่วยเสียงพยัญชนะและสระดังนี้
    • ฌ ใช้แทนเสียง /ʄ/
    • เ–าฺะ ใช้แทนเสียง /ɒʔ/
    • –อฺ ใช้แทนเสียง /ɒ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)

อ้างอิง

  • สุริยา รัตนกุล และลักขณา ดาวรัตนหงษ์. พจนานุกรมภาษาละว้า-ไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2528.
  1. Umpai Lawa (Western Lawa) at Ethnologue (18th ed., 2015)
  2. Bo Luang Lawa (Eastern Lawa) at Ethnologue (18th ed., 2015)
  3. Nahhas, Dr. Ramzi W. 2007. Sociolinguistic survey of Lawa in Thailand. Chiang Mai: Payap University.
  4. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษาเลอเวือะอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2558, หน้า 2.

ภาษาเลอเว, อะ, หร, ภาษาละว, เป, นภาษาหน, งในตระก, ลออสโตรเอเช, ยต, สาขามอญ, เขมร, สาขาย, อยปะหล, อง, ในประเทศไทยม, ดในจ, งหว, ดแม, องสอนและเช, ยงใหม, ตามรายงานของอ, บเบ, ลย, ตช, นส, เม, 2477, พบว, าม, ดในจ, งหว, ดลำปาง, เช, ยงราย, และแพร, วย, แต, จากการสำรวจเม. phasaelxewuxa hrux phasalawa epnphasahnungintrakulxxsotrexechiytik sakhamxy ekhmr sakhayxypahlxng inpraethsithymiphuphudincnghwdaemhxngsxnaelaechiyngihm tamrayngankhxngxi dbebilyu htchinsn emux ph s 2477 phbwamiphuphudincnghwdlapang echiyngray aelaaephrdwy aetcakkarsarwcemux ph s 2527 imphbphuphudphasaelxewuxaincnghwddngklaw khngphudphasaithythinehnuxthnghmdphasaelxewuxaelxewuxaxxkesiyng l wɨaʔ praethsthimikarphudithy cnghwdaemhxngsxnaelaechiyngihm chatiphnthuchawelxewuxa lawa canwnphuphud15 000 khn 2550 1 2 trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmrpahlxngwaphasaelxewuxarabbkarekhiynxksrithyrhsphasaISO 639 3xyangidxyanghnung lcp phasaelxewuxaaebbxmphay elxewuxatawntk lwl phasaelxewuxaaebbbxhlwng elxewuxatawnxxk phasaelxewuxaprakxbdwywithphasahruxphasayxythiaetktangknsxngklumsungaehlngkhxmulbangaehlngthuxwaepnphasaaeykcakkn idaek phasaelxewuxatawntkaelaphasaelxewuxatawnxxk phasathngsxngmikhwamaetktangknphxsmkhwr aemwacamikhwamsmphnththangechuxsayxyangsung enuxngcakimsamarthekhaicsungknaelaknidcakkhaihkarthisxdkhlxngknkhxngphuphudphasaelxewuxatawntkaelaphuphudphasaelxewuxatawnxxkaelacakkarthdsxbodysthabnphasasastrvdurxn 3 nxkcaknibrrdahmubanthiphudphasaelxewuxakhxngaetlaklumkyngmisaeniyngphasathiaetktangknxxkipxik michchnnarithiekhyekhaipephyaephrsasnakhristidphthnakarekhiynphasaelxewuxatawntkdwyxksrlatinaelaxksrithy 4 phasaelxewuxatawnxxkmikhwammichiwitchiwathangphasainradbsungaelaichsuxsarkninbanodyphuphudthukwy karsuksakhxngrth prakaskhxnghmuban aelathurkicthangkarmkichphasaithyklang phuphudphasaelxewuxatawnxxkswnihyphudkhaemuxngidepnxyangnxy aetmiphuphudsungxayubangkhntxbepnphasaelxewuxaemuxmiphuphudkhaemuxngdwy phuphudrunihmmiaenwonmthicaphudphasaithyklangidkhlxngenuxngcakrabbkarsuksa aelaswnihyphudkhaemuxngidkhlxngenuxngcakkaraetngnganrahwangchawelxewuxakbchawywnrabbkarekhiyn aekikhtwekhiynphasaelxewuxatawntk aelatawnxxkbangswn xksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy sanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmaypaaep laxubk k kk kingblk khangkhawkh kʰ okha tnimkh ᵑɡ kha xuh emnng ŋ ngx ifoklng hwy ng ˀŋ e ngiyng snhng ʰŋ ŋ ehngaa khawepluxkc c ck kwangox xic hmdch cʰ echuxm cans s sng changch ᶮɟ echuxm sumy ɲ yux khdbiy okhln y ˀɲ yux phing if hy ʰɲ ɲ hyux hnng ynd d ɗ dung dung t emuxepnphyychnathay kd hnamd ⁿd odng hmxt t emuxepnphyychnatn ota enuxth tʰ thxng yamn n aenh khram phuch kwn luk n ˀn e na hmwkchnidhnunghn ʰn n hnng srxyb b ɓ bk kb p emuxepnphyychnathay xa xub khawsukb ᵐb obng bnidp p emuxepnphyychnatn png khwdph pʰ phk lang can f f of xic esrcm m mxng rxkhxyyum xrxy m ˀm ma irkhawhm ʰm m hma txky j eyuxm rxngih y ˀj ywng hmuban r r ɾ aerm dayhya hr ʰr r ɾ hrng ekhiywr ɣ r a ihy r ˀɣ r xng tnesahr ʰɣ x h rng ekhiywl l elxnga eln l ˀl lng yawhl ʰl l hla ibw w v ewuxk hnxnx ʔ emuxepnphyychnatn xx phisawh h aeh phungdxh rwimmirup ʔ emuxepnphyychnathay eyuxa ban sraediyw xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmaypaaep laxub a a emuxmiphyychnathayepn ʔ ka pla a emuxmiphyychnathayxun pyng paaep hlngkha a a emuximmiphyychnathay ka yang i i emuxmiphyychnathay khi sn phuch chih epuxy i i emuximmiphyychnathay thi chd u ɨ emuxmiphyychnathay khu paaep ihrakhaephimlung dux ux ɨ emuximmiphyychnathay khrux laxub krngik ti klxng u u emuxmiphyychnathay phyu paaep phahmyum tay u u emuximmiphyychnathay pu laxub hnae a e emuxmiphyychnathayepn ʔ ela hxyebiy aethnengin e e emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun el nkaekweth kafakae a ɛ emuxmiphyychnathayepn ʔ aekha khikhladae ɛ emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun aep mamwngaetb hmd aemlng o a o emuxmiphyychnathayepn ʔ okha tnimo o emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun om snekhao mk klxngsubyae aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ ehngaa khawepluxk x ɔ emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun ngx ifplxng hyakhae xa e emuxmiphyychnathayepn ʔ emxa khalngthayephuxyunyne x e emuximmiphyychnathay esx cae i e emuxmiphyychnathayxun ekhing khungsraprasm xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmaypaaep laxube iya ia emuxmiphyychnathayepn ʔ e yiya nidhnxye iy ia emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun etiy laxub dxke ngiyng sne uxa ɨa emuxmiphyychnathayepn ʔ efuxa linge ux ɨa emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun efux khradekhluxk eliy wa ua emuxmiphyychnathayepn ʔ xwa khlunis w ua emuximmiphyychnathay pw khx kriya w ua emuxmiphyychnathayxun ywk yk sraeriyng xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmaypaaep laxub a xi ai emuxmiphyychnathayepnesiynghyud r a xib paaep hya a xi ai emuxmiphyychnathayxun khla xiy kradung a xu aɨ emuxmiphyychnathayepnesiynghyud xa xu chnsa xud ehnb singkhxng a xux aɨ emuximmiphyychnathay ka xux lm a xu aɨ emuxmiphyychnathayxun ma xuh cmuk a xu au emuxmiphyychnathayepnesiynghyud xa xub khawsuk a xu au emuxmiphyychnathayxun ha xum xabna a aexa aɛ emuxmiphyychnathayepn ʔ ha aexa sn a aex aɛ emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun pla aex ehlakhya aexh paaep nxkchan a exaa aɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ ma exaa phaphnimtikhaw a xx aɔ emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun ka xx sibka xxk makxk i xu iu phi xu lm rw u xi ui emuxmiphyychnathayepnesiynghyud hu xi laxub xuypu xic laxub yxdim u xi ui emuximmiphyychnathay phu xi paaep khn u aex uɛ pu aexh rungecha e ox eo ek ox ekiywkhxngae xx ɛɔ aek xx aekwo xi oi emuxmiphyychnathayepnesiynghyud obr xic laxub phriko xi oi emuximmiphyychnathay okh xi engiyb x xi ɔi emuxmiphyychnathayepnesiynghyud hx xic thung x xi ɔi emuxmiphyychnathayxun mx xiy kin imxim x aex ɔɛ dx aex rimfipake x xi ei emuxmiphyychnathayepnesiynghyud ekhx xi fun phracnthrelx xic hmue x xi ei emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun etx xi cud taekiyng exx xiy klbe x xu eɨ emuxmiphyychnathayepnesiynghyud e mx xuk khrke x xu eɨ emuxmiphyychnathayxun ekhrx xung laxub esuxphae x xu eu emuxmiphyychnathayepnesiynghyud emx xuk wwe x xu eu emuximmiphyychnathayhruxemuxmiphyychnathayxun ehx xu edinesx xum paaep pkdaswntwekhiynphasaelxewuxatawnxxk imidthukkahndiw cungxnuolmichkdediywkbphasaelxewuxatawntk aetenuxngcakhnwyesiyngtamtarangdanbnyngimkhrbthwn cungmikarddaeplngephimetimdngtxipni sraeriyngxunthinxkehnuxcaktarangdanbn ihaeykxxkepnsraithysxngesiyng khndwykhid hmayehtu ie aela ue epnsrakhnlaesiyngkb ia aela ua tamladb phyychnathaybangtwtxngepliynepnsrakxn aelwcungkhxyichrupsraeriyngtxip dngni j epliynepn i jˀ epliynepn iʔ j epliynepn ih w epliynepn u wˀ epliynepn uʔ w epliynepn uh ephimhnwyesiyngphyychnaaelasradngni ch ichaethnesiyng ʄ e a a ichaethnesiyng ɒʔ x ichaethnesiyng ɒ emuximmiphyychnathay hruxemuxmiphyychnathayxun xangxing aekikhsuriya rtnkul aelalkkhna dawrtnhngs phcnanukrmphasalawa ithy krungethph mhawithyalymhidl 2528 Umpai Lawa Western Lawa at Ethnologue 18th ed 2015 Bo Luang Lawa Eastern Lawa at Ethnologue 18th ed 2015 Nahhas Dr Ramzi W 2007 Sociolinguistic survey of Lawa in Thailand Chiang Mai Payap University sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasaelxewuxaxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2558 hna 2 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaelxewuxa amp oldid 9231668, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม