fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาไทยถิ่นเหนือ

วิกิมีเดีย อินคิวเบเตอร์ มีการทดสอบโครงการ:
วิกิพีเดียในภาษาไทยถิ่นเหนือ

คำเมือง (คำเมือง: , [กำเมือง]) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก, สุโขทัย และเพชรบูรณ์ ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี, จังหวัดราชบุรี และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย

ภาษาถิ่นพายัพ
คำเมือง
ออกเสียง ( ฟังเสียง)
ประเทศที่มีการพูดไทย พม่า ลาว กัมพูชา
ภูมิภาคภาคเหนือตอนบนของไทย
จำนวนผู้พูด6 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ขร้า-ไท
ระบบการเขียนอักษรธรรมล้านนา, อักษรไทย
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการไม่มี
รหัสภาษา
ISO 639-3nod

คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)

ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์

คำเมืองมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนา ซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแบบ

ชื่อ

ภาษาถิ่นภาคพายัพมีชื่อเรียกหลายชื่อ โดยภาษาจากตระกูลภาษาไทต่าง ๆ มีชื่อเรียกซึ่งคล้ายคลึงหรือไม่เหมือนกัน

  • ในภาษาถิ่นพายัพเอง มักเรียกว่า "กำเมือง" (อักษรธรรม: ᨣᩤᩴᨾᩮᩬᩥᨦ, รูปปริวรรต: คำเมือง) อันแปลว่า "ภาษาของเมือง" หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "ภาษาล้านนา" ส่วนชาวยวนในจังหวัดราชบุรี เรียกภาษาของตนว่า "ภาษาลาว"
  • ภาษาไทยมาตรฐาน เรียกว่า "ภาษาถิ่นพายัพ", "ภาษาไทยถิ่นเหนือ" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "ภาษาเหนือ" หรือ "ภาษายวน" ในอดีตเรียก "ลาวเฉียง" หรือ "คำเฉียง"
  • ภาษาลาว เรียกว่า "ภาษายวน" (ลาว: ພາສາຍວນ, รูปปริวรรต: พาสายวน) หรือ "ภาษาโยน" (ลาว: ພາສາໂຍນ, รูปปริวรรต: พาสาโยน)
  • ภาษาไทลื้อ เรียกว่า "ก้ำโย่น" (ไทลื้อ: ᦅᧄᦍᦷᧃ, รูปปริวรรต: คำโยน)
  • ภาษาไทใหญ่ เรียกว่า "กว๊ามโย้น" (ไทใหญ่: ၵႂၢမ်းယူၼ်း, รูปปริวรรต: ความโยน)

นอกจากภาษากลุ่มไทดังกล่าวแล้ว ภาษาอังกฤษ เรียกภาษาถิ่นพายัพว่า "Northern Thai"

พื้นที่การใช้ภาษา

สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นเหนือไว้ว่า ภาคเหนือตอนบนประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา, แพร่ และน่าน ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาเหนือเป็นภาษากลาง และภาคเหนือตอนล่างประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาไทยกลาง แต่มีเขตที่พูดภาษาไทยถิ่นเหนือด้วยหลายตำบล เช่น ตาก, สุโขทัย, กำแพงเพชร, อุตรดิตถ์, พิจิตร และพิษณุโลก

สมทรง บุรุษพัฒน์ ได้ระบุว่าภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาที่พูดกันทางตอนเหนือของไทย ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา, แพร่, น่าน, ตาก, สุโขทัย, อุตรดิตถ์ และบางอำเภอของจังหวัดสระบุรี

กาญจนา เงารังษีและคณะ ได้สรุปผลการศึกษาภาษาถิ่นเหนือที่ใช้บริเวณภาคเหนือตอนล่าง โดยระบุว่า ภาษาเหนือเป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในพื้นที่ 9 จังหวัด คือ กำแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค์, พิจิตร, พิษณุโลก, เพชรบูรณ์, สุโขทัย, อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี

ระบบเสียง

ระบบเสียงพยัญชนะ

พยัญชนะต้น

  ริมฝีปาก ริมฝีปากกับฟัน ปุ่มเหงือก ปุ่มเหงือก-
เพดานแข็ง
เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก   [m]     [n]   [ɲ]   [ŋ]  
ระเบิด [p] [pʰ] [b]   [t] [tʰ] [d]     [k] ([kʰ])**   [ʔ]*
เสียดแทรก   [f] [s]       [x]   [h]
กึ่งเสียดแทรก       [t͡ɕ] ([t͡ɕʰ])**      
กึ่งสระ   [w]     [j]    
กึ่งสระเปิดข้างลิ้น       [l]        
* ก่อนหน้าสระ หรือ หลังสระสั้น
** /kʰ/ and /t͡ɕʰ/ มาจากศัพท์ ภาษาไทยกลาง.

พยัญชนะต้นควบกล้ำ

ไม่ปรากฏคำควบกล้ำเสียง ร ล มีคำควบกล้ำเฉพาะเสียง ว เท่านั้น อนึ่งเสียงรัวลิ้น "ร" และเสียงไม่รัวลิ้น "ล" ถือว่าไม่ต่างกัน ซึ่งบางครั้งเสียง "ล" จะกลายเป็นเสียง "ร" ก็ไม่ถือว่าต่างกันแต่อย่างใด

คำควบกล้ำในภาษาไทยถิ่นเหนือนั้น มี ๑๑ เสียงได้แก่

  • /kw/ กว (ᨠ᩠ᩅ, ᨣ᩠ᩅ)
  • /xw/ ขว, คว (ᨡ᩠ᩅ, ᨢ᩠ᩅ, ᨤ᩠ᩅ)
  • /t͡ɕw/ จว (ᨧ᩠ᩅ)
  • /ŋw/ งว (ᨦ᩠ᩅ)
  • /sw/ ซว (ᨪ᩠ᩅ)
  • /ɲw/ ญว (ᨿ᩠ᩅ)
  • /tw/ ตว (ᨲ᩠ᩅ)
  • /pʰw/ พว (ᨽ᩠ᩅ)
  • /jw/ ยว (ᩀ᩠ᩅ)
  • /lw/ ลว (ᩉ᩠ᩅ)
  • /ʔw/ อว (ᩋ᩠ᩅ)

พยัญชนะสะกด

  ริมฝีปาก ริมฝีปากกับฟัน ปุ่มเหงือก ปุ่มเหงือก-
เพดานแข็ง
เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก   [m]     [n]       [ŋ]  
ระเบิด [p]       [t]         [k]     [ʔ]*
กึ่งสระ   [w]     [j]    
* หลังสระสั้นเท่านั้น

ระบบเสียงสระ

สระเดี่ยว

อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ

ᩋᩡ ᩋᩣ ᩋᩥ ᩋᩦ ᩋᩧ ᩋᩨ ᩋᩩ ᩋᩪ ᩋᩮᩡ ᩋᩮ ᩋᩯᩡ ᩋᩯ ᩋᩰᩡ ᩋᩰ ᩋᩰᩬᩡ ᩋᩬᩴ ᩋᩮᩬᩥᩡ ᩋᩮᩬᩥ

สระประสม

อัวะ อัว เอียะ เอีย เอือะ เอือ

ᩋᩫ᩠ᩅᩡ ᩋᩫ᩠ᩅ ᩋᩮ᩠ᨿᩡ ᩋᩮ᩠ᨿ ᩋᩮᩬᩥᩋᩡ ᩋᩮᩬᩥᩋ

เสียงสระเอือะ,เอือ จะไม่พบในบางท้องถิ่น คือในถิ่นล้านนาตะวันออก ได้แก่ จังหวัดแพร่, อุตรดิตถ์, น่าน, พะเยา และลำปาง โดยจะออกเสียงเป็นสระเอียะ,เอีย เช่น คำเมือง เป็น กำเมียง (มีเสียงเอือะ และเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป๊นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)

นอกจากนี้ยังมีสำเนียงแบบเมืองยองซึ่งพูดกันมากในจังหวัดลำพูน โดยจะไม่มีสระประสม สระอัว กลายเป็น โอ สระเอีย กลายเป็น เอ และสระเอือ กลายเป็น เออ เช่น เมือง เป็น เมิง, เกลือ เป็น เก๋อ, สวย เป็น โสย, หมี่เกี๊ยว เป็น หมี่เก๊ว เป็นต้น

ระบบเสียงวรรณยุกต์

ในตำราสอนภาษาล้านนาฉบับมิชชันนารีฉบับ พ.ศ. 2447 ภาษาล้านนาสามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้ถึง 8 เสียง

วรรณยุกต์ (วัณณยุกต์) ทั้งหกของคำเมืองในพยางค์ '/law/' คือ เหลา เหล่า เหล้า เลา เล่า เล้า ตามลำดับ:

เสียงวรรณยุกต์ในพยางค์เป็น

เสียงวรรณยุกต์สำเนียงเชียงใหม่มี 6 เสียง คือ เสียงจัตวา, เสียงเอก, เสียงตรีปลายโท, เสียงสามัญ, เสียงโท, และเสียงตรี

เสียงวรรณยุกต์ ตัวอย่าง
อักษรไทย อักษรธรรม การถอดรหัสเสียง การออกเสียง ความหมายในภาษาไทย
เสียงจัตวา เหลา ᩉᩮᩖᩢᩣ /lǎw/ [law˨˦] เหลา, ทำให้คม
เสียงเอก เหล่า ᩉᩮᩖᩢ᩵ᩣ /làw/ [law˨] เหล่า, ป่า
เสียงตรีปลายโท เหล้า ᩉᩮᩖᩢ᩶ᩣ /la᷇w/ [la̰w˥˧] เหล้า, เครื่องดืมมึนเมา
เสียงสามัญ เลา ᩃᩮᩢᩣ /lāw/ [law˦] งาม
เสียงโท เล่า ᩃᩮᩢ᩵ᩣ /lâw/ [law˥˩] เล่า, บอกเรื่อง
เสียงตรี เล้า ᩃᩮᩢᩢᩣ /láw/ [la̰w˦˥˦] เล้า, ที่กักไก่

เสียงวรรณยุกต์ในพยางค์ตาย

เสียงวรรณยุกต์ ตัวอย่าง
อักษรไทย อักษรธรรม การถอดรหัสเสียง การออกเสียง ความหมายในภาษาไทย
เสียงจัตวา หลัก ᩉᩖᩢᨠ /lǎk/ [lak˨˦] เสาหลัก, หลักแหลม
เสียงตรี ลัก ᩃᩢ᩠ᨠ /lák/ [lak˦˥] ลักขโมย, แอบ
เสียงเอก หลาก ᩉᩖᩣ᩠ᨠ /làːk/ [laːk˨] หลากหลาย
เสียงโท ลาก ᩃᩣ᩠ᨠ /lâːk/ [laːk˥˩] ลาก, ดึง

เสียงวรรณยุกต์บางที่มีถึง 9 เสียง ได้แก่

  • เสียงสามัญ
  • เสียงเอกต่ำ หรือเสียงเอกขุ่น
  • เสียงเอกสูง หรือเสียงเอกใส
  • เสียงโทต่ำ หรือเสียงโทขุ่น
  • เสียงโทพิเศษ
  • เสียงโทสูง หรือเสียงโทใส
  • เสียงตรีต่ำ หรือเสียงตรีขุ่น
  • เสียงตรีสูง หรือเสียงตรีใส
  • เสียงจัตวา

การพูดคำเมืองในสมัยปัจจุบัน

การพูดคำเมืองที่เป็นประโยคแบบดังเดิมนั้นหายากแล้วเนื่องจากมีการรับอิทธิพลภาษาไทยภาคกลาง ทั้งในสำเนียงและคำศัพท์ ส่วนนี้จะเป็นส่วนรวบรวม ประโยค กำเมือง ดั้งเดิม

  • กิ๋นข้าวแล้วก๋า = กินข้าวแล้วใช่ไหม
  • ยะอะหยั๋งกิ๋นก๋า = ทำอะไรกินหรอ
  • ไปตังใดมา = ไปแถว(ที่)ไหนมา

การพูดคำเมืองผสมกับภาษาไทยนั้น คำเมืองจะเรียกว่า แปล๊ด (ปะ-แล๊ด, ไทยแปล๊ดเมือง) ซึ่งโดยมากแล้วมักจะพบใน คนที่พูดคำเมืองมานาน แล้วพยายามจะพูดไทย หรือ คนพูดภาษาไทยพยายามจะพูดคำเมือง เผลอพูดคำทั้ง ๒ ภาษามาประสมกัน อนึ่งการพูดคำเมืองมีการแยกระดับของความสุภาพอยู่หลายระดับ ผู้พูดต้องเข้าใจในบริบทการพูดว่าในสถานการณ์นั้น ๆ ต้องพูดระดับภาษาอย่างไรให้เหมาะสมและมีความสุภาพ เพราะมีระบบการนับถือผู้ใหญ่ คนสูงวัยกว่า อาทิเช่น

  • ลำ (อร่อย)
  • ลำแต๊ ๆ (สุภาพที่สุด)
  • ลำขนาด (สุภาพรองลงมา)
  • ลำแมะฮาก (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกัน)
  • ลำใบ้ลำง่าว (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกัน)
  • ลำง่าวลำเซอะ (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกันมาก ๆ) เป็นต้น

ภาษาไทยถิ่นเหนือนอกเขตภาคเหนือ

ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ปี พ.ศ. 2347 ได้มีการเทครัวชาวยวนลงมาในเขตภาคกลาง อาทิ จังหวัดสระบุรี (โดยเฉพาะอำเภอเสาไห้), จังหวัดราชบุรี (มีมากที่อำเภอเมือง, อำเภอบ้านโป่ง และอำเภอจอมบึง), จังหวัดนครปฐม (โดยเฉพาะอำเภอกำแพงแสน), จังหวัดกาญจนบุรี (โดยเฉพาะอำเภอไทรโยค), จังหวัดลพบุรี (ที่อำเภอชัยบาดาล) และจังหวัดนครราชสีมา (เฉพาะอำเภอสีคิ้ว) โดยเฉพาะในจังหวัดราชบุรีมีชาวยวนราว 70,000-80,000 คน และมีชาวยวนแทบทุกอำเภอ ยกเว้นเพียงแต่อำเภอดำเนินสะดวกกับวัดเพลงเท่านั้น

ซึ่งภาษาไทยวนทุกจังหวัดมีหน่วยเสียง พยัญชนะและหน่วยเสียงสระเหมือนกัน รายละเอียดในวรรณยุกต์แทบไม่แตกต่างกัน ยกเว้นภาษายวนลพบุรีที่มีหน่วยเสียงแตกต่างจากอีก 4 จังหวัดเพียงหน่วยเสียงเดียว ทั้งนี้อาจเป็นเพราะชาวยวนลพบุรีได้อาศัยปะปนอยู่กับหมู่บ้านชาวลาว อาจทำให้หน่วยเสียงเปลี่ยนแปลงก็เป็นได้

คำศัพท์

คำเมืองในจังหวัดอื่น

คำเมืองในจังหวัดอื่น เช่น จังหวัดลำปาง, แพร่, น่าน, เชียงราย, พะเยา และอุตรดิตถ์ (ในบางอำเภอ) ก็มีการใช้คำบางคำที่แตกต่างกันออกไป แต่โดยรวมแล้วจะสื่อสารกันเข้าใจในกลุ่มคนเหนือ เช่น

ภาษาไทยกลางมาตรฐาน ภาษาไทยถิ่นเหนือ
สำเนียงเชียงใหม่ สำเนียงจังหวัดอื่น
คำศัพท์ หมายเหตุ คำศัพท์ หมายเหตุ
พ่อ แม่ ป้อ แม่
พี่ชาย อ้าย เปรียบไทใหญ่ อ้าย "พี่ชายคนแรก" ปี้
พี่สาว ปี้ ปี่,เอ้ย,เย้ย, เย้, ใย้ เปรียบไทใหญ่ เหย้ "พี่สาวคนแรก"
อา, น้า อา, น้า อาว (ผู้ชาย), อา (ผู้หญิง) เปรียบลาว อาว "อาผู้ชาย"
ฝรั่ง (ผลไม้) บะก้วยก๋า จาก หมากกล้วยกา บะแก๋ว,บะมั้น,มะเปา(อุตรดิตถ์บางอำเภอ) จาก หมากแกว, หมากมัน
ผักชี หอมป้อม หอมน้อย(หอมหน้อย)
มะละกอ บะก้วยเต้ด จาก หมากกล้วยเทศ บะเต้ด จาก หมากเทศ
ช้าง จ๊าง จ้าง
น้ำ น้ำ น่าม
เที่ยว แอ่ว

นอกจากนี้ สำเนียงในของคำเมืองในกลุ่มนี้จะออกสั้นและห้วนกว่า โดยที่เห็นได้ชัดคือเสียงตรีในเชียงใหม่ ลำพูน จะเป็นเสียงโทในจังหวัดอื่น เช่น บ่ะฮู้ แปลว่า ไม่รู้ เป็นสำเนียงเชียงใหม่ แต่จะออกเสียงว่า บ่ะฮู่ ในสำเสียงอื่น, กิ๋นน้ำ ที่แปลว่า ดื่มน้ำ จะออกเสียงเป็น กิ๋นน่ำ, สามร้อย ออกเสียงเป็น สามร่อย เป็นต้น

ความแตกต่างจากภาษาไทยกลาง

ความแตกต่างทางด้านระบบเสียง

โดยมากแล้วภาษาไทยกลางและคำเมืองมักมีเสียงที่เหมือนกันยกเว้นบางครั้ง ที่ไม่เหมือนแต่คล้ายกันได้แก่ เสียงธนิต (aspirate) ของอักษรต่ำมักตรงกับเสียงสิถิล (unaspirate) เช่น จาก "ท" เป็น "ต" (เช่น "ทาง" เป็น "ตาง"), "ช" เป็น "จ" (เช่น "ช้อน" เป็น "จ๊อน"), "พ" เป็น "ป" (เช่น "แพง" เป็น "แปง"), "ค" เป็น "ก" (เช่น "คำ" เป็น "กำ") เป็นต้น โดยมักจะคงเสียงวรรณยุกต์เดิม (เช่น "ใช้" เป็น "ใจ๊") อย่างไรก็ตาม เสียงธนิต (aspirate) ของอักษรต่ำที่ตรงกับเสียงโฆษะบาลีมักมีเสียงที่ตรงกันในทั้งสองภาษา เช่น ภาพ เป็น ภาพ และ ธรรม เป็น ธัมม์ เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว เสียงธนิต (aspirate) ของอักษรต่ำที่ตามด้วย ร ในไทยกลางมักตรงกับเสียงธนิตแต่ไม่มี ร ตามในคำเมือง เช่น คราว เป็น คาว, ครั้ง เป็น คั้ง, และ พระ เป็น พะ นอกจากนี้แล้ว ยังมีความแตกต่างที่อื่นด้วย ได้แก่ เสียง ร ในไทยกลางมักตรงกับเสียง ฮ และ ล เป็นบางคำ คำเมือง (เช่น "เรา" เป็น "เฮา") เสียง ย ที่สะกดด้วย ทั้ง ย และ ญ ในภาษาไทยมักตรงกับเสียง ย นาสิก ซึ่งไม่มีในภาษาไทยกลาง และถิ่นใต้ (เช่น "หญ้า" เป็น "หญ้า (นาสิก)"

นอกจากความแตกต่างทางด้านพยัญชนะแล้ว ทั้งสองมีความแตกต่างทางด้านเสียงวรรณยุกต์อีกด้วย คำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรกลาง(ยกเว้น ด, บ, อย, และ อ)ในคำเป็นภาษาไทยที่มีเสียงสามัญมักตรงกับเสียงจัตวาในคำเมือง (เช่น "ตัว" เป็น "ตั๋ว", "ใจ" เป็น "ใจ๋") แต่ในคำพ้องเสียงของภาคกลาง ในภาษาเหนือนั้นอาจจะออกเสียงไม่เหมือนกัน ส่วนในคำตายนั้นเสียงเอกมักตรงกับเสียงจัตวาในคำเมือง (เช่น "หัก" เป็น "หั๋ก")

อักษรไทย ประเภทในภาษาไทยกลาง เสียงคำเมือง ตัวอย่าง ความหมาย
ก, จ, ต/ฏ, ป อักษรกลางอโฆษะ ก, จ, ต, ป ตามลำดับ ก๋า, จ๋าน, ต๋า, ป๋า ตามลำดับ กา, จาน, ตา, ปลา ตามลำดับ
ด/ฎ/ฑ, บ, อย, อ อักษรกลางโฆษะ และ อ ด, บ, อย, อ ตามลำดับ ด้าว, บ่าว, อย่า, อาว ตามลำดับ ด้าว, บ่าว, อย่า, อาผู้ชาย (อาว์) ตามลำดับ
ค, ช, ท, พ อักษรต่ำโฆษะบาลี ก, จ, ต, ป ตามลำดับ ก้า, จ๊าง, ตาง, ปา ตามลำดับ ค่า, ช้าง, ทาง, พา ตามลำดับ
ฅ, ซ, ฟ อักษรต่ำเสียดแทรก ค, ซ, ฟ ตามลำดับ คืน, ซ้ำ, ฟ้า ตามลำดับ กลับคืน, ซ้ำ, ฟ้า ตามลำดับ
ฆ, , ธ/ฒ (ยกเว้น "เฒ่า"), ภ อักษรต่ำธนิต ค, , ท , พ ตามลำดับ
ข, , ถ/ฐ, ผ, ฝ อักษรสูงธนิต ข, , ถ, ผ, ฝ ตามลำดับ ขา, สัตร, ถง, ผ้า, ฝา ตามลำดับ ขา, ร่มฉัตร, ถุง, ผ้า, ฝา ตามลำดับ
ศ/ษ/ส อักษรสูงเสียดแทรก สาย สาย
กร, ตร, ปร อักษรกลาง + ร ข, ก, ผ ตามลำดับ ขาบ, กง, ผาสาท ตามลำดับ กราบ, ตรง, ปราสาท ตามลำดับ
คร, พร อักษรต่ำ + ร ค, พ ตามลำดับ คั้ง, พ้า ตามลำดับ ครั้ง, พร้า ตามลำดับ
ย, , ล/ฬ , ว, ฮ อักษรต่ำกึ่งสระ และ ฮ ญ (นาสิก), (บางครั้ง ล ในคำภาษาบาลี), ล , ว, ฮ ตามลำดับ ญาว (นาสิก), เฮือ, ลอง , ว่า, ฮิ ตามลำดับ ยาว, เรือ, ลอง, ว่า, พยายาม ตามลำดับ
ง, , น/ณ, ม อักษรต่ำนาสิก ง, ญ (นาสิก), น, ม ตามลำดับ งู, ใหญ่ (นาสิก), นา, ม้า ตามลำดับ งู, ใหญ่, นา, ม้า ตามลำดับ
ห, หง, หย/หญ, หน, หม, หร/หล, หว อักษรต่ำ ห และ ห นำ ห, หง, หญ (นาสิก), หน, หม, หล, หว ตามลำดับ หา, เหงา, หญ้า (นาสิก), หนู, หมู, หลาน, แหวน ตามลำดับ หา, เหงา, หญ้า, หนู, หมู, หลาน, แหวน ตามลำดับ

อ้างอิง

  1. Lewis, M. Paul (2009), Ethnologue: Languages of the World (16 ed.), SIL International
  2. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า (10)
  3. "วิถีชีวิตและภาษา". Thai Yuan Festival. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2556. Check date values in: |accessdate= (help)
  4. จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 139
  5. สุวิไล เปรมสีรัตน์และคนอื่น ๆ . แผนที่ภาษาของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย. [ม.ป.ท., ม.ป.ป.], หน้า 41-44
  6. สมทรง บุรุษพัฒน์. ภูมิศาสตร์ภาษาถิ่น. กรุงเทพฯ:เอกพิมพ์ไทย, 2543, หน้า 27-29
  7. กาญจนา เงารังษีและคนอื่น ๆ . พจนานุกรมภาษากลุ่มชาติพันธุ์ 9 จังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก:ตระกูลไทย, 2541, หน้า 1-285
  8. ชัยวัฒน์ ปะสุนะ, "พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม จากเอกสารมิชชันนารี ค.ศ. 1893-1926," วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 8(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563), หน้า 5. [1]
  9. Gedney, William J., and Thomas J. Hudak. William J. Gedney's Tai Dialect Studies: Glossaries, Texts, and Translations. Ann Arbor, MI: Center for South and Southeast Asian Studies, The University of Michigan, 1997. Print.
  10. "เยือนลุ่มนำป่าสัก ไทยยวน-ไทยเบิ้ง" (Press release). ข่าวสด. 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  11. เที่ยวไทยทัวร์ดอตคอม. ศูนย์วัฒนธรรมไทยวน: จังหวัดสระบุรี. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  12. ราชบุรีศึกษา. 8 ชาติพันธุ์ในราชบุรี : ไท-ยวน ตอนที่ 2 ชีวิตที่เมืองราชบุรี. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  13. ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์ในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. พิธีกรรมและประเพณีของชาวไทยยวนบ้านท่าเสา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  14. สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดราชบุรี. ประวัติชาวไท-ยวน ราชบุรี. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  15. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ยวน. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  16. ลัดดา ปานุทัย, ละอองทอง อัมรินทร์รัตน์ และ สนอง โกศัย. "วัฒนธรรมพื้นบ้านยวนสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา". ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2556. Check date values in: |accessdate= (help)
  17. จิปาถะภัณฑ์สถานบ้านคูบัว. ประวัติความเป็นมาชาวไท-ยวนจังหวัดราชบุรี. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  18. ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไทยวน. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  19. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย. การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาไทยยวน 4 จังหวัดในภาคกลาง. เรียกดูเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2556
  • พจนี ศิริอักษรสาสน์. ภาษาถิ่นของไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2545. ISBN 974-593-984-6

ดูเพิ่ม

  • Bilmes, J. (1996). Problems And Resources In Analyzing Northern Thai Conversation For English Language Readers. Journal of Pragmatics, 26(2), 171-188.
  • Davis, R. (1970). A Northern Thai reader. Bangkok: Siam Society.
  • Filbeck, D. (1973). Pronouns in Northern Thai. Anthropological Linguistics, 15(8), 345-361.
  • Howard, K. M. (2009). “When Meeting Khun Teacher, Each Time We Should Pay Respect”: Standardizing Respect In A Northern Thai Classroom. Linguistics and Education, 20(3), 254-272.
  • Khankasikam, K. (2012). Printed Lanna character recognition by using conway's game of life. In ICDIM (pp. 104-109).
  • Pankhuenkhat, R. (1982). The Phonology of the Lanna Language:(a Northern Thai Dialect). Institute of Language and Culture for Rural Development, Mahidol University.
  • Rungroengsi, U. (1990). Photchananukrom lannathai chabab maefa Luang–Dictionary of the Lanna language, Mafaluang Version.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ภาษาไทยถ, นเหน, เด, นค, วเบเตอร, การทดสอบโครงการ, เด, ยใน, คำเม, อง, คำเม, อง, กำเม, อง, หร, อช, ออย, างเป, นทางการว, ภาษาถ, นภาคพาย, เป, นภาษาถ, นของชาวไทยวนทางภาคเหน, อตอนบนของประเทศไทย, งเป, นอาณาจ, กรล, านนาเด, ได, แก, เช, ยงใหม, เช, ยงราย, ตรด, ตถ, แพร, า. wikimiediy xinkhiwebetxr mikarthdsxbokhrngkar wikiphiediyinphasaithythinehnux khaemuxng khaemuxng kaemuxng hruxchuxxyangepnthangkarwa phasathinphakhphayph 2 epnphasathinkhxngchawithywnthangphakhehnuxtxnbnkhxngpraethsithy sungepnxanackrlannaedim idaek echiyngihm echiyngray xutrditth aephr nan aemhxngsxn laphun lapang phaeya aelayngmikarphudaelakarphsmphasakninbangphunthikhxngcnghwdtak suokhthy aelaephchrburn pccubnklumkhnithywnidkracdkracayaelamithinthixyuincnghwdsraburi cnghwdrachburi aelaxaephxkhxngcnghwdxunthiiklekhiyngkbrachburixikdwyphasathinphayphkhaemuxngxxkesiyng fngesiyng praethsthimikarphudithy phma law kmphuchaphumiphakhphakhehnuxtxnbnkhxngithycanwnphuphud6 lankhn 1 imphbwnthi trakulphasakhra ith km itheb ithith aeskithithtawntkechiyngitithklang tawnxxkechiyngaesnphasathinphayphrabbkarekhiynxksrthrrmlanna xksrithysthanphaphthangkarphasathangkarimmirhsphasaISO 639 3nodkhaemuxngyngsamarthaebngxxkepnsaeniynglannatawntk incnghwdechiyngihm laphun aelaaemhxngsxn aelasaeniynglannatawnxxk incnghwdechiyngray phaeya lapang xutrditth aephr aelanan sungcamikhwamaetktangknbang khux saeniynglannatawnxxkswnihycaimphbsraexuxa exux aetcaichsraexiya exiyaethn miesiyngexuxaaelaexuxephiyngaetkhntangthinfngimxxkexng enuxngcakesiyngthixxkmacaepnesiyngnasikiklekhiyngkbexiya exiy swnkhnincnghwdlaphunmkcaphudsaeniyngemuxngyxng ephraachawlaphuncanwnmaksubechuxsaymacakchawyxnginrthchan cungmisaeniyngthiepnexklksnkhaemuxngmiiwyakrnkhlaykbphasaithyklangaetichkhasphthimehmuxnknaelaiwyakrnthiaetktangknxyubang aetedimichkhukb xksrthrrmlanna sungepntwxksrkhxngxanackrlannathiichxksrmxyepntnaebb enuxha 1 chux 2 phunthikarichphasa 3 rabbesiyng 3 1 rabbesiyngphyychna 3 1 1 phyychnatn 3 1 2 phyychnatnkhwbkla 3 1 3 phyychnasakd 3 2 rabbesiyngsra 3 2 1 sraediyw 3 2 2 sraprasm 3 3 rabbesiyngwrrnyukt 3 3 1 esiyngwrrnyuktinphyangkhepn 3 3 2 esiyngwrrnyuktinphyangkhtay 4 karphudkhaemuxnginsmypccubn 4 1 phasaithythinehnuxnxkekhtphakhehnux 5 khasphth 5 1 khaemuxngincnghwdxun 6 khwamaetktangcakphasaithyklang 6 1 khwamaetktangthangdanrabbesiyng 7 xangxing 8 duephim 9 aehlngkhxmulxunchux aekikhphasathinphakhphayphmichuxeriykhlaychux odyphasacaktrakulphasaithtang michuxeriyksungkhlaykhlunghruximehmuxnkn inphasathinphayphexng mkeriykwa kaemuxng xksrthrrm ᨣ ᨾ ᨦ ruppriwrrt khaemuxng xnaeplwa phasakhxngemuxng hruxxikchuxhnungwa phasalanna swnchawywnincnghwdrachburi eriykphasakhxngtnwa phasalaw 3 phasaithymatrthan eriykwa phasathinphayph phasaithythinehnux hruxeriyksn wa phasaehnux hrux phasaywn inxditeriyk lawechiyng hrux khaechiyng 4 phasalaw eriykwa phasaywn law ພາສາຍວນ ruppriwrrt phasaywn hrux phasaoyn law ພາສາໂຍນ ruppriwrrt phasaoyn phasaithlux eriykwa kaoyn ithlux ᦅᧄᦍ ᧃ ruppriwrrt khaoyn phasaithihy eriykwa kwamoyn ithihy ၵ မ ယ ၼ ruppriwrrt khwamoyn nxkcakphasaklumithdngklawaelw phasaxngkvs eriykphasathinphayphwa Northern Thai phunthikarichphasa aekikhsuwiil eprmsrirtn aelakhna idihkhxmulekiywkbnganwicyphuichphasaithythinehnuxiwwa phakhehnuxtxnbnprakxbdwy 8 cnghwd idaek echiyngihm echiyngray aemhxngsxn laphun lapang phaeya aephr aelanan prachakrswnihyichphasaehnuxepnphasaklang aelaphakhehnuxtxnlangprachakrswnihyphudphasaithyklang aetmiekhtthiphudphasaithythinehnuxdwyhlaytabl echn tak suokhthy kaaephngephchr xutrditth phicitr aelaphisnuolk 5 smthrng burusphthn idrabuwaphasaithythinehnuxepnphasathiphudknthangtxnehnuxkhxngithy idaek echiyngihm echiyngray aemhxngsxn laphun lapang phaeya aephr nan tak suokhthy xutrditth aelabangxaephxkhxngcnghwdsraburi 6 kaycna engarngsiaelakhna idsrupphlkarsuksaphasathinehnuxthiichbriewnphakhehnuxtxnlang odyrabuwa phasaehnuxepnphasathinthiichinphunthi 9 cnghwd khux kaaephngephchr tak nkhrswrrkh phicitr phisnuolk ephchrburn suokhthy xutrditth aelaxuthythani 7 rabbesiyng aekikhrabbesiyngphyychna aekikh phyychnatn aekikh rimfipak rimfipakkbfn pumehnguxk pumehnguxk ephdanaekhng ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngnasik m n ɲ ŋ raebid p pʰ b t tʰ d k kʰ ʔ esiydaethrk f s x h kungesiydaethrk t ɕ t ɕʰ kungsra w j kungsraepidkhanglin l kxnhnasra hrux hlngsrasn kʰ and t ɕʰ macaksphth phasaithyklang phyychnatnkhwbkla aekikh impraktkhakhwbklaesiyng r l mikhakhwbklaechphaaesiyng w ethann xnungesiyngrwlin r aelaesiyngimrwlin l thuxwaimtangkn sungbangkhrngesiyng l caklayepnesiyng r kimthuxwatangknaetxyangidkhakhwbklainphasaithythinehnuxnn mi 11 esiyngidaek kw kw ᨠ ᩅ ᨣ ᩅ xw khw khw ᨡ ᩅ ᨢ ᩅ ᨤ ᩅ t ɕw cw ᨧ ᩅ ŋw ngw ᨦ ᩅ sw sw ᨪ ᩅ ɲw yw ᨿ ᩅ tw tw ᨲ ᩅ pʰw phw ᨽ ᩅ jw yw ᩀ ᩅ lw lw ᩉ ᩅ ʔw xw ᩋ ᩅ phyychnasakd aekikh rimfipak rimfipakkbfn pumehnguxk pumehnguxk ephdanaekhng ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngnasik m n ŋ raebid p t k ʔ kungsra w j hlngsrasnethannrabbesiyngsra aekikh sraediyw aekikh xa xa xi xi xu xux xu xu exa ex aexa aex oxa ox exaa xx exxa exxᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋ sraprasm aekikh xwa xw exiya exiy exuxa exuxᩋ ᩅ ᩋ ᩅ ᩋ ᨿ ᩋ ᨿ ᩋ ᩋ ᩋ ᩋesiyngsraexuxa exux caimphbinbangthxngthin khuxinthinlannatawnxxk idaek cnghwdaephr xutrditth nan phaeya aelalapang odycaxxkesiyngepnsraexiya exiy echn khaemuxng epn kaemiyng miesiyngexuxa aelaexuxephiyngaetkhntangthinfngimxxkexng enuxngcakesiyngthixxkmacaepnesiyngnasikiklekhiyngkbexiya exiy nxkcakniyngmisaeniyngaebbemuxngyxngsungphudknmakincnghwdlaphun odycaimmisraprasm sraxw klayepn ox sraexiy klayepn ex aelasraexux klayepn exx echn emuxng epn eming eklux epn ekx swy epn osy hmiekiyw epn hmiekw epntn rabbesiyngwrrnyukt aekikh intarasxnphasalannachbbmichchnnarichbb ph s 2447 phasalannasamarthphnesiyngwrrnyuktidthung 8 esiyng 8 wrrnyukt wnnyukt thnghkkhxngkhaemuxnginphyangkh law khux ehla ehla ehla ela ela ela tamladb source source esiyngwrrnyuktinphyangkhepn aekikh esiyngwrrnyuktsaeniyngechiyngihmmi 6 esiyng khux esiyngctwa esiyngexk esiyngtriplayoth esiyngsamy esiyngoth aelaesiyngtri 9 esiyngwrrnyukt twxyangxksrithy xksrthrrm karthxdrhsesiyng karxxkesiyng khwamhmayinphasaithyesiyngctwa ehla ᩉ lǎw law ehla thaihkhmesiyngexk ehla ᩉ law law ehla paesiyngtriplayoth ehla ᩉ la w la w ehla ekhruxngdummunemaesiyngsamy ela ᩃ law law ngamesiyngoth ela ᩃ law law ela bxkeruxngesiyngtri ela ᩃ law la w ela thikkikesiyngwrrnyuktinphyangkhtay aekikh esiyngwrrnyukt twxyangxksrithy xksrthrrm karthxdrhsesiyng karxxkesiyng khwamhmayinphasaithyesiyngctwa hlk ᩉ ᨠ lǎk lak esahlk hlkaehlmesiyngtri lk ᩃ ᨠ lak lak lkkhomy aexbesiyngexk hlak ᩉ ᨠ laːk laːk hlakhlayesiyngoth lak ᩃ ᨠ laːk laːk lak dungesiyngwrrnyuktbangthimithung 9 esiyng idaek esiyngsamy esiyngexkta hruxesiyngexkkhun esiyngexksung hruxesiyngexkis esiyngothta hruxesiyngothkhun esiyngothphiess esiyngothsung hruxesiyngothis esiyngtrita hruxesiyngtrikhun esiyngtrisung hruxesiyngtriis esiyngctwakarphudkhaemuxnginsmypccubn aekikhkarphudkhaemuxngthiepnpraoykhaebbdngedimnnhayakaelwenuxngcakmikarrbxiththiphlphasaithyphakhklang thnginsaeniyngaelakhasphth swnnicaepnswnrwbrwm praoykh kaemuxng dngedim kinkhawaelwka kinkhawaelwichihm yaxahyngkinka thaxairkinhrx iptngidma ipaethw thi ihnmakarphudkhaemuxngphsmkbphasaithynn khaemuxngcaeriykwa aepld pa aeld ithyaepldemuxng sungodymakaelwmkcaphbin khnthiphudkhaemuxngmanan aelwphyayamcaphudithy hrux khnphudphasaithyphyayamcaphudkhaemuxng ephlxphudkhathng 2 phasamaprasmkn xnungkarphudkhaemuxngmikaraeykradbkhxngkhwamsuphaphxyuhlayradb phuphudtxngekhaicinbribthkarphudwainsthankarnnn txngphudradbphasaxyangirihehmaasmaelamikhwamsuphaph ephraamirabbkarnbthuxphuihy khnsungwykwa xathiechn la xrxy laaet suphaphthisud lakhnad suphaphrxnglngma laaemahak erimimsuphaph ichinhmukhnthisnithkn laiblangaw erimimsuphaph ichinhmukhnthisnithkn langawlaesxa erimimsuphaph ichinhmukhnthisnithknmak epntnphasaithythinehnuxnxkekhtphakhehnux aekikh chwngtnkrungrtnoksinthrpi ph s 2347 idmikarethkhrwchawywnlngmainekhtphakhklang xathi cnghwdsraburi odyechphaaxaephxesaih 10 11 cnghwdrachburi mimakthixaephxemuxng xaephxbanopng aelaxaephxcxmbung 12 cnghwdnkhrpthm odyechphaaxaephxkaaephngaesn 13 cnghwdkaycnburi odyechphaaxaephxithroykh 14 cnghwdlphburi thixaephxchybadal 15 aelacnghwdnkhrrachsima echphaaxaephxsikhiw 16 odyechphaaincnghwdrachburimichawywnraw 70 000 80 000 khn 17 aelamichawywnaethbthukxaephx ykewnephiyngaetxaephxdaeninsadwkkbwdephlngethann 18 sungphasaithywnthukcnghwdmihnwyesiyng phyychnaaelahnwyesiyngsraehmuxnkn raylaexiydinwrrnyuktaethbimaetktangkn ykewnphasaywnlphburithimihnwyesiyngaetktangcakxik 4 cnghwdephiynghnwyesiyngediyw 19 thngnixacepnephraachawywnlphburiidxasypapnxyukbhmubanchawlaw 15 xacthaihhnwyesiyngepliynaeplngkepnidkhasphth aekikhkhaemuxngincnghwdxun aekikh khaemuxngincnghwdxun echn cnghwdlapang aephr nan echiyngray phaeya aelaxutrditth inbangxaephx kmikarichkhabangkhathiaetktangknxxkip aetodyrwmaelwcasuxsarknekhaicinklumkhnehnux echn phasaithyklangmatrthan phasaithythinehnuxsaeniyngechiyngihm saeniyngcnghwdxunkhasphth hmayehtu khasphth hmayehtuphx aem px aemphichay xay epriybithihy xay phichaykhnaerk piphisaw pi pi exy eyy ey iy epriybithihy ehy phisawkhnaerk xa na xa na xaw phuchay xa phuhying epriyblaw xaw xaphuchay frng phlim bakwyka cak hmakklwyka baaekw bamn maepa xutrditthbangxaephx cak hmakaekw hmakmnphkchi hxmpxm hxmnxy hxmhnxy malakx bakwyetd cak hmakklwyeths baetd cak hmakethschang cang cangna na namethiyw aexwnxkcakni saeniynginkhxngkhaemuxnginklumnicaxxksnaelahwnkwa odythiehnidchdkhuxesiyngtriinechiyngihm laphun caepnesiyngothincnghwdxun echn bahu aeplwa imru epnsaeniyngechiyngihm aetcaxxkesiyngwa bahu insaesiyngxun kinna thiaeplwa dumna caxxkesiyngepn kinna samrxy xxkesiyngepn samrxy epntnkhwamaetktangcakphasaithyklang aekikhkhwamaetktangthangdanrabbesiyng aekikh odymakaelwphasaithyklangaelakhaemuxngmkmiesiyngthiehmuxnknykewnbangkhrng thiimehmuxnaetkhlayknidaek esiyngthnit aspirate khxngxksrtamktrngkbesiyngsithil unaspirate echn cak th epn t echn thang epn tang ch epn c echn chxn epn cxn ph epn p echn aephng epn aepng kh epn k echn kha epn ka epntn odymkcakhngesiyngwrrnyuktedim echn ich epn ic xyangirktam esiyngthnit aspirate khxngxksrtathitrngkbesiyngokhsabalimkmiesiyngthitrngkninthngsxngphasa echn phaph epn phaph aela thrrm epn thmm epntn nxkcakniaelw esiyngthnit aspirate khxngxksrtathitamdwy r inithyklangmktrngkbesiyngthnitaetimmi r taminkhaemuxng echn khraw epn khaw khrng epn khng aela phra epn pha nxkcakniaelw yngmikhwamaetktangthixundwy idaek esiyng r inithyklangmktrngkbesiyng h aela l epnbangkha khaemuxng echn era epn eha esiyng y thisakddwy thng y aela y inphasaithymktrngkbesiyng y nasik sungimmiinphasaithyklang aelathinit echn hya epn hya nasik nxkcakkhwamaetktangthangdanphyychnaaelw thngsxngmikhwamaetktangthangdanesiyngwrrnyuktxikdwy khathikhuntndwyxksrklang ykewn d b xy aela x inkhaepnphasaithythimiesiyngsamymktrngkbesiyngctwainkhaemuxng echn tw epn tw ic epn ic aetinkhaphxngesiyngkhxngphakhklang inphasaehnuxnnxaccaxxkesiyngimehmuxnkn swninkhataynnesiyngexkmktrngkbesiyngctwainkhaemuxng echn hk epn hk xksrithy praephthinphasaithyklang esiyngkhaemuxng twxyang khwamhmayk c t t p xksrklangxokhsa k c t p tamladb ka can ta pa tamladb ka can ta pla tamladbd d th b xy x xksrklangokhsa aela x d b xy x tamladb daw baw xya xaw tamladb daw baw xya xaphuchay xaw tamladbkh ch th ph xksrtaokhsabali k c t p tamladb ka cang tang pa tamladb kha chang thang pha tamladbKh s f xksrtaesiydaethrk kh s f tamladb khun sa fa tamladb klbkhun sa fa tamladbkh ch th th ykewn etha ph xksrtathnit kh s th ph tamladbkh ch th th ph f xksrsungthnit kh s th ph f tamladb kha str thng pha fa tamladb kha rmchtr thung pha fa tamladbs s s xksrsungesiydaethrk s say saykr tr pr xksrklang r kh k ph tamladb khab kng phasath tamladb krab trng prasath tamladbkhr phr xksrta r kh ph tamladb khng pha tamladb khrng phra tamladby r l l w h xksrtakungsra aela h y nasik h bangkhrng l inkhaphasabali l w h tamladb yaw nasik ehux lxng wa hi tamladb yaw erux lxng wa phyayam tamladbng y n n m xksrtanasik ng y nasik n m tamladb ngu ihy nasik na ma tamladb ngu ihy na ma tamladbh hng hy hy hn hm hr hl hw xksrta h aela h na h hng hy nasik hn hm hl hw tamladb ha ehnga hya nasik hnu hmu hlan aehwn tamladb ha ehnga hya hnu hmu hlan aehwn tamladbxangxing aekikh Lewis M Paul 2009 Ethnologue Languages of the World 16 ed SIL International rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw krungethphph rachbnthitysthan 2556 hna 10 withichiwitaelaphasa Thai Yuan Festival subkhnemux 29 thnwakhm 2556 Check date values in accessdate help citr phumiskdi khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati phimphkhrngthi 6 krungethph chnniym 2556 hna 139 suwiil eprmsirtnaelakhnxun aephnthiphasakhxngchatiphnthutang inpraethsithy m p th m p p hna 41 44 smthrng burusphthn phumisastrphasathin krungethph exkphimphithy 2543 hna 27 29 kaycna engarngsiaelakhnxun phcnanukrmphasaklumchatiphnthu 9 cnghwd phakhehnuxtxnlang phisnuolk trakulithy 2541 hna 1 285 chywthn pasuna phlwtlanna wadwykarepliynaeplngphasainmnthlphayphphayitxiththiphlsyam cakexksarmichchnnari kh s 1893 1926 warsarwichakarmnusysastraelasngkhmsastr 8 2 krkdakhm thnwakhm 2563 hna 5 1 Gedney William J and Thomas J Hudak William J Gedney s Tai Dialect Studies Glossaries Texts and Translations Ann Arbor MI Center for South and Southeast Asian Studies The University of Michigan 1997 Print eyuxnlumnapask ithyywn ithyebing Press release khawsd 3 phvscikayn ph s 2555 subkhnemux 8 kumphaphnth 2556 Check date values in accessdate date help ethiywithythwrdxtkhxm sunywthnthrrmithywn cnghwdsraburi eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 rachburisuksa 8 chatiphnthuinrachburi ith ywn txnthi 2 chiwitthiemuxngrachburi eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 thankhxmulnganwicythangchatiphnthuinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr phithikrrmaelapraephnikhxngchawithyywnbanthaesa xaephxkaaephngaesn cnghwdnkhrpthm eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 sthanthithxngethiywcnghwdrachburi prawtichawith ywn rachburi eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 15 0 15 1 sankwithybrikaraelaethkhonolyisarsneths mhawithyalyrachphtethphstri ywn eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 ldda panuthy laxxngthxng xmrinthrrtn aela snxng oksy wthnthrrmphunbanywnsikhiw cnghwdnkhrrachsima thankhxmulnganwicythangchatiphnthuinpraethsithy subkhnemux 28 thnwakhm 2556 Check date values in accessdate help cipathaphnthsthanbankhubw prawtikhwamepnmachawith ywncnghwdrachburi eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 sunysarniethsmnusysastr culalngkrnmhawithyaly ithywn eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 thankhxmulwithyaniphnthithy karsuksaepriybethiybrabbesiyngphasaithyywn 4 cnghwdinphakhklang eriykduemux 8 kumphaphnth 2556 phcni sirixksrsasn phasathinkhxngithy krungethph sankphimphmhawithyalyramkhaaehng 2545 ISBN 974 593 984 6duephim aekikhBilmes J 1996 Problems And Resources In Analyzing Northern Thai Conversation For English Language Readers Journal of Pragmatics 26 2 171 188 Davis R 1970 A Northern Thai reader Bangkok Siam Society Filbeck D 1973 Pronouns in Northern Thai Anthropological Linguistics 15 8 345 361 Howard K M 2009 When Meeting Khun Teacher Each Time We Should Pay Respect Standardizing Respect In A Northern Thai Classroom Linguistics and Education 20 3 254 272 Khankasikam K 2012 Printed Lanna character recognition by using conway s game of life In ICDIM pp 104 109 Pankhuenkhat R 1982 The Phonology of the Lanna Language a Northern Thai Dialect Institute of Language and Culture for Rural Development Mahidol University Rungroengsi U 1990 Photchananukrom lannathai chabab maefa Luang Dictionary of the Lanna language Mafaluang Version aehlngkhxmulxun aekikhsanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihmekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaithythinehnux amp oldid 9309705, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม