fbpx
วิกิพีเดีย

มณฑลนครศรีธรรมราช

มณฑลนครศรีธรรมราช (มณฑลปักใต้)

มณฑลนครศรีธรรมราช
มณฑลเทศาภิบาล
พ.ศ. 2439 – 2476

แผนที่มณฑลนครศรีธรรมราช
ยุคประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์
• จัดตั้ง
พ.ศ. 2439
• รวมมณฑลสุราษฎร์ไว้ในการปกครอง
31 มีนาคม พ.ศ. 2469
• รวมมณฑลปัตตานีไว้ในการปกครอง
1 เมษายน พ.ศ. 2475
• ยุบเลิก
9 ธันวาคม พ.ศ. 2476
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ไทย

ความเป็นมา

มณฑลนครศรีธรรมราชตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๙ จากการรวมหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกของภาคใต้ ตั้งแต่เมือง นครศรีธรรมราช ลงไป ที่ว่าการของมณฑลตั้งอยู่ที่เมืองสงขลา หัวเมืองที่รวมอยู่ในมณฑลนี้ในระยะแรก คือก่อน พ.ศ. ๒๔๔๙ มี ๑๐ เมือง คือ นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง และบริเวณ ๗ หัวเมือง คือ ปัตตานี หนองจิก ยะหริ่ง รามัน สายบุรี ระแงะ และยะลา แต่ครั้นถึงปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ได้แยกบริเวณ ๗ หัวเมืองออกไปจัดเป็น มณฑลปัตตานี มณฑลนี้จึงเหลือหัวเมืองในสังกัดเพียง ๓ หัวเมือง ซึ่งในที่นี้จะกล่าวเน้นเฉพาะบริเวณ ๓ หัวเมืองเท่านั้น
ก่อนที่จะจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลทางภาคใต้ รัฐบาลกลางมีแผนการที่จะจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลทางหัวเทืองภาคใต้ไว้แตกต่างกัน ๒ แผนการ คือ

แผนการที่ ๑ ส่งข้าหลวงใหญ่ที่มีอำนาจบารมีมาก มีความสามารถทางการปกครองสูงและเป็นที่ไว้วางพระราชกฤทัยไปประจำเป็นผู้อำนวยการอยู่ที่เมืองนครศรีธรรมราช แล้วมี ข้าหลวง ระดับรองลงไปประจำที่สงขลา ภูเก็ต และชุมพรแห่งละคน

แผนการที่ ๒ ส่งข้าหลวงออกไป ๓ คน ประจำอยู่ที่ภูเก็ต ปกครองดูแลหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันตก คนหนึ่งประจำอยู่ที่สงขลา ปกครองดูแลหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกตั้งแต่เมืองนครศรีธรรมราชลงไป จนถึงบริเวณ ๗ หัวเมือง และอีกคนหนึ่งประจำอยู่ที่ชุมพร ปกครองดูแลตั้งแต่ชุมพรลงไปถึงกาญจนดิษฐ์ ข้าหลวงทั้ง ๓ คนมีฐานะเทียบเท่ากันโดยฟังคำสั่งจากกระทรวงมหาไทย

แผนการที่ ๑ ติดขัดที่ตัวบุคคลซึ่งจะไปเป็นข้าหลวงใหญ่จึงต้องดำเนินการตามแผนการที่ ๒ และในขณะนั้นรัฐบาลได้ส่งพระยาทิพโกษา (โต โชติกเสถียร) ไปประจำอยู่ที่ภูเก็ต และส่งพระวิจิตรวรสาสน์ (ปั้น สุขุม) ไปประจำอยู่ที่เมืองสงขลา แล้วคิดจะให้พระยารัตนเศรษฐี (คอซิมก้อง ณ ระนอง) ผู้ว่าราชการเมืองระนอง บุตรคนที่ ๒ ของพระยาดำรงสุจริตกุล (คอซู้เจียง) ต้นตระกูล ณ ระนอง ไปประจำอยู่ที่ชุมพร

พระยาวิจิตรวรสาสน์ (ปั้น สุขุม) ได้รับการแต่งตั้งเป็นข้าหลวงพิเศษลงไปเริ่มจัดราชการในเมืองสงขลา นครศรีธรรมราช และพัทลุงในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ ก่อนจัดตั้งเป็นมณฑลนครศรีธรรมราชในอีก ๒ ปีต่อมา

การจัดราชการเมืองสงขลาเริ่มจากการตั้งศาลยุติธรรมแบบใหม่และการแบ่งท้องที่ในเมืองสงขลาออกเป็น ๓ แขวง เพื่อป้องกันและปราบปรามโจรผู้ร้าย คือแขวงกลางหรืออำเภอเมือง แขวงฝ่ายเหนือซึ่งต่อมาคืออำเภอหาดใหญ่ และแขวงปละท่าหรืออำเภอสทิงพระ ตั้งกรมการเมืองออกไปประจำและเริ่มสร้างถนนภายในเมืองสงขลา โดยการรื้อกำแพงเมือง มีการสร้างตลาดของหลวงซึ่งต่อมาคือตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปัจจุบัน ปรับปรุงโรงภาษีและจัดระบบไปรษณีย์ติดต่อระหว่างสงขลากับไทรบุรี พัทลุง และนครศรีธรรมราช

เมืองพัทลุง แต่งตั้งข้าหลวงผู้ช่วยไปชำระคดีที่คั่งค้างพร้อมทั้งจัดแบ่งท้องที่ใหม่เป็นแขวงนายร้อยและนายสิบ ลดจำนวนบ่อนเบี้ย บ่อนไก่ชนลง ยกเลิกการใช้ขื่อคา และนำเอาสูตรนารายณ์ไปใช้ปราบปรามโจรผู้ร้ายบริเวณรอยต่อระหว่างเมืองต่าง ๆ มีการยุบรวมศาลต่าง ๆ ให้เหลือเพียง ๓ ศาล คือ ศาลเพ่ง อาญา และอุทธรณ์ จัดตั้งกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่งสำหรับสะสางความเก่า ชำระความใหม่และแบ่งแขวงต่าง ๆ

นอกเหนือไปจากการจัดราชการต่าง ๆ มีการติดตามความเคลื่อนไหวของเจ้าเมืองและกรรมการเมืองอย่างใกล้ชิด มีการทำบัญชีผลประโยชน์เมืองสงขลาแจ้งให้รัฐบาลกลางทราบ ชั่วระยะเวลาเพียงปีกว่าๆ พระวิจิตรวรสาสน์ (ปั้น สุขุม) สามารถจัดราชการเมืองต่าง ๆ ได้ดีเป็นที่พอพระทัยเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ซึ่งได้เสด็จไปตรวจราชการมณฑลนครศรีธรรมราชใช่วงกลางปี พ.ศ. ๒๔๓๙ หลังจากนั้นไม่นานก็โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งมณฑลนครศรีธรรมราช โดยเลื่อนพระวิจิตรวรสาสน์ (ปั้น สุขุม) เป็นพระยาสุขุมนัยวินิต ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลนครศรีธรรมราชคนแรก ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๓๙ - ๒๔๔๙ ต่อจากนั้นก็มีข้าหลวงอีก ๒ คน คือ พระยาชลบุรานุรักษ์ (เจริญ จารุจินดา) พ.ศ. ๒๔๔๙ - ๒๔๕๒ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศร์ พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๘ งานปฏิรูปมณฑลนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่ ดำเนินการแล้วเสร็จในสมัยพระยาสุขุมนัยวินิจ (ปั้น สุขุม) ส่วนสมัยหลัง ๆ เป็นเพียงการทำนุบำรุงรักษาสิ่งที่ได้ก่อสร้างขึ้นในระยะแรก ๆ ซึ่งจากนี้ไปจะกล่าวถึงงานปฏิรูปมณฑลนครศรีธรรมราชในด้านต่างๆ ต่อไป

ด้านการปกครอง

ดำเนินการเหมือนมณฑลอื่นๆ คือจัดตั้งกองมณฑล ขึ้นเป็นคณะผู้ปกครองมณฑลออกเป็นเมือง อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน เมืองนครศรีธรรมราชแบ่งออกเป็น ๙ อำเภอ คืออำเภอกลางเมือง เบี้ยซัด ร่อนพิบูลย์ กลาย สิชล ลำพูน ฉวาง ทุ่งสง และเขาพังไกร เมืองสงขลาแบ่งออกเป็น ๕ อำเภอ คืออำเภอกลางเมือง ปละท่า ฝ่ายเหนือ จะนะ และเทพา เมืองพัทลุงแบ่งออกเป็น ๓ อำเภอ คือ อำเภอกลางเมือง อุดร ทักษิณ รวม ๓ เมือง มี ๑๗ อำเภอ การแบ่งพื้นที่ดำเนินการเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ภายหลังมีการเปลี่ยนชื่อบางอำเภอตามที่ราษฎรนิยมเรียกกัน เป็นต้นว่า อำเภอเบี้ยซัด เป็นอำเภอปากพนัง อำเภออุดรเป็นอำเภอปากกระ อำเภอทักษิณเป็นอำเภอปากพะยูน อำเภอปละท่าเป็นอำเภอสทิงพระ อำเภอฝ่ายเหนือเป็นอำเภอหาดใหญ่ และในปี พ.ศ. ๒๔๔๙ มีการโอนท้องที่พระแสงและพนมในอำเภอลำพูนไปขึ้นกับเมืองไชยา ในขณะเดียวกันได้มีการทำสัมมะโนครัวด้วย ปรากฏว่าในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ มณฑลนครศรีธรรมราชมีนายอำเภอ ๑๗ คน กำนัน ๒๓๒ คน ผู้ใหญ่บ้าน ๒,๖๖๙ คน มีจำนวนครัวเรือน ๗๒,๓๔๓ ครัวเรือน และราษฎรทั้งหมด ๓๒๖,๒๖๖ คน อาศัยอยู่ในเมืองนครศรีธรรมราชร้อยละ ๖๐ สงขลาร้อลละ ๒๙ และพัทลุงร้อยละ ๑๑

ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย

มีการจัดตั้งกองพลตระเวรหรือตำรวจภูธรขึ้นในบริเวณชุมชนที่ราษฎรอาศัยอยู่หนาแน่น เป็นต้นว่ากลางเมืองนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง และที่อำเภอปากพนัง เป็นผลให้โจรผู้ร้ายที่เคยชุกชุมลดน้อยลง เกิดความสงบขึ้นในบ้านเมืองระดับหนึ่ง

ด้านตุลากร

มีการจัดตั้งศาลมณฑลขึ้นที่สงขลา ศาลเมืองนครศรีธรรมราช ปากพนังและพัทลุง และศาลอำเภอในอำเภอต่างๆ ทุกอำเภอ ข้าหลวงเทศาภิบาลให้อำนาจแก้กรรมการอำเภอมีสิทธิ์ที่จะพิจารณาคดีเพ่งที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน ๔๐ บาท และมีอำนาจเปรียบความได้โดยไม่มีกำหนดสุดแต่คู่ความจะตกลง ในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ มีการสร้างเรือนจำขึ้นเพื่อคุมขังนักโทษรวมกันที่นครศรีธรรมราช แทนที่จะแยกคุมตามบ้านเจ้าเมืองหรือกรรมการเมืองอย่างแต่ก่อน

ด้านเศรษฐกิจ

การค้าทางเรือเจริญขึ้น ทำให้ท่าเรือต่าง ๆ คึกคักไปด้วยการค้า สินค้าส่วนใหญ่เป็นของพื้นเมืองที่มีการแปรรูปโดยกรรมวิธีเก่า ๆ เป็นต้นว่า รังนก กุ้งแห้ง ผ้าพื้น สุกร ดีบุก หนัง เขาสัตว์ เครื่องปั้นดินเผา ส้มตรังกานูจากสงขลา ข้าวเปลือก ข้าวสาร ไต้ ชัน ยาสูล คราม เรือมาดจากนครศรีธรรมราช ข้าวเปลือกและข้าวสารจากพัทลุง การค้าทางเรือเจริฐขึ้นจากการเปิดการค้าเสรี มีการนำเรือกลไฟ มาใช้มากขึ้น มีการติดต่อกับสิงคโปร์ กรุงเทพฯ และตอนใต้ของจีนเป็นประจำ

การเก็บภาษีสามารถเปลี่ยนจากวิธีปณะมูลโดยเจ้าภาษีนายอากร มาเก็บเป็นของหลวงทั้งหมด ในปี พ.ศ. ๒๔๓๙ - ๒๔๔๐ ภาษีที่สำคัญมร ๑๐ กว่าชนิด คือ อากรฝิ่น อากรสุรา อากรบ่อนเบี้ย อากรค่าน้ำเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองพัทลุง ภาษีจันอับ ภาษีผลประโยชน์เมืองสงขลา นครศรีธรรมราช และพัทลุง ภาษีดีบุกเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองสงขลา ข้าหลวงเทศาภิบาลจะควบคุมการเก็บภาษีเหล่านี้โดยตรง สามารถเก็บได้มากกว่าวิธีประมูลหลายเท่าตัว ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เคยเป็นผลประโยชน์ของเจ้าเมืองและกรรมการเมืองก็ยกเลิกให้ไปเป็นของหลวงทั้งหมด เช่นเดียวกับเงินส่วนรายเฉลี่ยที่เก็บจากไพร่หัวเมือง เงินค่านาข้าหลวใหญ่ข้าหลวงใหญ่จะเข้าไปควบคุมการเก็บโดยตรงแทนที่จมอบให้เจ้าเมือง กรรมการเมือง กำนันไปเก็บอย่างแต่ก่อน อย่างไรก็ตามแม้ภาษีเงินได้ที่เก็บจากราษฎรชาวเมืองนครศรีธรรมราชจะสูงขึ้นอีกหลายเท่าตัวก็ตามแต่ผู้ที่เสวยสุขจากผลผลิตส่วนเกินที่เพิ่มขึ้นนั้น ไม่ใช่ชาวพื้นเมืองแต่กลับเป็นกลุ่มคณาธิปไตยส่วนน้อยในเมืองหลวง เพราะเงินภาษีรายได้เหล่านี้ต้องส่งเป็นเงินรายได้ของรัฐบาลกลาง ๒ ส่วน ใน ๓ ส่วน ไม่กลับมาเอื้อประโยชน์ต่อมณฑลนครศรีธรรมราชเลย

ด้านการคมนาคมขนส่ง

มีการสร้างถนนในเมืองสงขลาและนครศรีธรรมราช โดยรื้อกำแพงเมืองลงมาถมถนน ขณะเดียวกันก็สร้างถนนเชื่อมต่อระหว่างนครศรีธรรมราชกับตรัง และถนนเชื่อมระหว่างตรังและพัทลุง ทางด้านการไปรษณีย์โทรเลขมีการปักเสาพาดสายลงไปถึงสงขลา จากสงขลาต่อไปถึงไทรบุรี มีสำนักงานไปรษณีย์อยู่ที่สงขลา มีพนักงานส่งหนังสือราชการและจดหมายระหว่างเมืองต่าง ๆ ๗ วันครั้ง โดยแบ่งออกเป็น ๓ สายคือ จากสงขลาไปปัตตานีและกลันตันสายหนึ่ง ไปพัทลุง ตรัง กระบี่ และพังงาสายหนึ่ง และอีกสานหนึ่งไปไทรบุรี ปะลิส และสตูล

ด้านชลประทาน

มีการขุดลอกคลองกันอย่างกว้างขวางในเขตนครศรีธรรมราช ได้แก่ คลองสุขุม นครพญา ม่าแพ และคลองระโนดติดต่อระหว่างนครศรีธรรมราชกับสงขลา ในเขตพัทลุงได้แก่ คลองคอกช้าง ในเขตสงขลาได้แก่ คลองแกะใหญ่ คลองเหล่านี้ใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านการชลประทานและการคมนาคมขนส่ง

ด้านศาสนา

มีการปฏิรูปการปกครองคณะสงฆ์เมืองนครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุงเสียใหม่เป็นคณะใหญ่ คณะรอง และคณะแขวง มีการบูรณาซ่อมแซมวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราชครั้งใหญ่

ด้านการศึกษา

มีการจัดตั้งโรงเรียนแบบสมัยใหม่ขึ้นในเมืองต่าง ๆ ระยะแรกเพียงเมืองละ ๑ แห่งก่อนแล้วค่อยขยายออกไป โรงเรียนแห่งแรกที่ตั้งขึ้น คือ โรงเรียนมหาวชิราวุธสงขลา และโรงเรียนเบญจมราชูทิศนครศรีธรรมราช สร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ รัฐบาลมีนโยบายที่จะจัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในวัดและพึ่งพาวัดให้เป็นผู้อบรมให้การศึกษาแก่เยาวชนแทนที่จะรับผิดชอบเองโดยตรง การปฏิรูปประเทศครั้งนั้นรัฐบาลได้ละเลยต่อการพัฒนาคน ซึ่งถือเป็นหัวใจของการพัฒนาประเทศที่สำคัญที่สุด

อ้างอิง

1 มูลนิธิสารนุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพานิช. (๒๕๔๒). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ เล่ม ๘. สยามเพรส แมเนจเม้นท์ จำกัด. หน้า ๓๖๓๐ - ๓๖๓๘.

มณฑลนครศร, ธรรมราช, บทความน, ได, บแจ, งให, ปร, บปร, งหลายข, กร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความ, หร, ออภ, ปรายป, ญหาท, หน, าอภ, ปราย, บทความน, เข, าข, ายละเม, ดล, ขส, ทธ, แต, งต, องการล, งก, หล, กฐาน, บทความน, องการเก, บกวาด, โดยการตรวจสอบหร, อปร, บปร, งความถ, กต, อง,. bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamniekhakhaylaemidlikhsiththi aetyngtxngkarlingkhlkthan bthkhwamnitxngkarekbkwad odykartrwcsxbhruxprbprungkhwamthuktxng tlxdcnaekikhrupaebbhruxphasathiichmnthlnkhrsrithrrmrach mnthlpkit mnthlnkhrsrithrrmrachmnthlethsaphibalph s 2439 2476aephnthimnthlnkhrsrithrrmrachyukhprawtisastrrtnoksinthr cdtngph s 2439 rwmmnthlsurasdriwinkarpkkhrxng31 minakhm ph s 2469 rwmmnthlpttaniiwinkarpkkhrxng1 emsayn ph s 2475 yubelik9 thnwakhm ph s 2476pccubnepnswnhnungkhxng ithy enuxha 1 khwamepnma 2 dankarpkkhrxng 3 dankarrksakhwamsngberiybrxy 4 dantulakr 5 danesrsthkic 6 dankarkhmnakhmkhnsng 7 danchlprathan 8 dansasna 9 dankarsuksa 10 xangxingkhwamepnma aekikhmnthlnkhrsrithrrmrachtngkhuninpi ph s 2439 cakkarrwmhwemuxngchayfngthaeltawnxxkkhxngphakhit tngaetemuxng nkhrsrithrrmrach lngip thiwakarkhxngmnthltngxyuthiemuxngsngkhla hwemuxngthirwmxyuinmnthlniinrayaaerk khuxkxn ph s 2449 mi 10 emuxng khux nkhrsrithrrmrach sngkhla phthlung aelabriewn 7 hwemuxng khux pttani hnxngcik yahring ramn sayburi raaenga aelayala aetkhrnthungpi ph s 2449 idaeykbriewn 7 hwemuxngxxkipcdepn mnthlpttani mnthlnicungehluxhwemuxnginsngkdephiyng 3 hwemuxng sunginthinicaklawennechphaabriewn 3 hwemuxngethann kxnthicacdtngmnthlethsaphibalthangphakhit rthbalklangmiaephnkarthicacdkarpkkhrxngaebbmnthlethsaphibalthanghwethuxngphakhitiwaetktangkn 2 aephnkar khuxaephnkarthi 1 sngkhahlwngihythimixanacbarmimak mikhwamsamarththangkarpkkhrxngsungaelaepnthiiwwangphrarachkvthyippracaepnphuxanwykarxyuthiemuxngnkhrsrithrrmrach aelwmi khahlwng radbrxnglngippracathisngkhla phuekt aelachumphraehnglakhnaephnkarthi 2 sngkhahlwngxxkip 3 khn pracaxyuthiphuekt pkkhrxngduaelhwemuxngchayfngthaeltawntk khnhnungpracaxyuthisngkhla pkkhrxngduaelhwemuxngchayfngthaeltawnxxktngaetemuxngnkhrsrithrrmrachlngip cnthungbriewn 7 hwemuxng aelaxikkhnhnungpracaxyuthichumphr pkkhrxngduaeltngaetchumphrlngipthungkaycndisth khahlwngthng 3 khnmithanaethiybethaknodyfngkhasngcakkrathrwngmhaithyaephnkarthi 1 tidkhdthitwbukhkhlsungcaipepnkhahlwngihycungtxngdaeninkartamaephnkarthi 2 aelainkhnannrthbalidsngphrayathiphoksa ot ochtikesthiyr ippracaxyuthiphuekt aelasngphrawicitrwrsasn pn sukhum ippracaxyuthiemuxngsngkhla aelwkhidcaihphrayartnesrsthi khxsimkxng n ranxng phuwarachkaremuxngranxng butrkhnthi 2 khxngphrayadarngsucritkul khxsueciyng tntrakul n ranxng ippracaxyuthichumphrphrayawicitrwrsasn pn sukhum idrbkaraetngtngepnkhahlwngphiesslngiperimcdrachkarinemuxngsngkhla nkhrsrithrrmrach aelaphthlunginpi ph s 2437 kxncdtngepnmnthlnkhrsrithrrmrachinxik 2 pitxmakarcdrachkaremuxngsngkhlaerimcakkartngsalyutithrrmaebbihmaelakaraebngthxngthiinemuxngsngkhlaxxkepn 3 aekhwng ephuxpxngknaelaprabpramocrphuray khuxaekhwngklanghruxxaephxemuxng aekhwngfayehnuxsungtxmakhuxxaephxhadihy aelaaekhwngplathahruxxaephxsthingphra tngkrmkaremuxngxxkippracaaelaerimsrangthnnphayinemuxngsngkhla odykarruxkaaephngemuxng mikarsrangtladkhxnghlwngsungtxmakhuxtladthrphysinswnphramhakstriyinpccubn prbprungorngphasiaelacdrabbiprsniytidtxrahwangsngkhlakbithrburi phthlung aelankhrsrithrrmrachemuxngphthlung aetngtngkhahlwngphuchwyipcharakhdithikhngkhangphrxmthngcdaebngthxngthiihmepnaekhwngnayrxyaelanaysib ldcanwnbxnebiy bxnikchnlng ykelikkarichkhuxkha aelanaexasutrnaraynipichprabpramocrphuraybriewnrxytxrahwangemuxngtang mikaryubrwmsaltang ihehluxephiyng 3 sal khux salephng xaya aelaxuththrn cdtngkrrmkarkhunmakhnahnungsahrbsasangkhwameka charakhwamihmaelaaebngaekhwngtang nxkehnuxipcakkarcdrachkartang mikartidtamkhwamekhluxnihwkhxngecaemuxngaelakrrmkaremuxngxyangiklchid mikarthabychiphlpraoychnemuxngsngkhlaaecngihrthbalklangthrab chwrayaewlaephiyngpikwa phrawicitrwrsasn pn sukhum samarthcdrachkaremuxngtang iddiepnthiphxphrathyesnabdikrathrwngmhadithy sungidesdciptrwcrachkarmnthlnkhrsrithrrmrachichwngklangpi ph s 2439 hlngcaknnimnankoprdekla ihcdtngmnthlnkhrsrithrrmrach odyeluxnphrawicitrwrsasn pn sukhum epnphrayasukhumnywinit khahlwngethsaphibalmnthlnkhrsrithrrmrachkhnaerk sungdarngtaaehnngrahwangpi ph s 2439 2449 txcaknnkmikhahlwngxik 2 khn khux phrayachlburanurks ecriy carucinda ph s 2449 2452 aelasmedc ecafakrmhlwnglphburiraemsr ph s 2453 2468 nganptirupmnthlnkhrsrithrrmrachswnihy daeninkaraelwesrcinsmyphrayasukhumnywinic pn sukhum swnsmyhlng epnephiyngkarthanubarungrksasingthiidkxsrangkhuninrayaaerk sungcakniipcaklawthungnganptirupmnthlnkhrsrithrrmrachindantang txipdankarpkkhrxng aekikhdaeninkarehmuxnmnthlxun khuxcdtngkxngmnthl khunepnkhnaphupkkhrxngmnthlxxkepnemuxng xaephx tabl aelahmuban emuxngnkhrsrithrrmrachaebngxxkepn 9 xaephx khuxxaephxklangemuxng ebiysd rxnphibuly klay sichl laphun chwang thungsng aelaekhaphngikr emuxngsngkhlaaebngxxkepn 5 xaephx khuxxaephxklangemuxng platha fayehnux cana aelaethpha emuxngphthlungaebngxxkepn 3 xaephx khux xaephxklangemuxng xudr thksin rwm 3 emuxng mi 17 xaephx karaebngphunthidaeninkaresrcsininpi ph s 2440 phayhlngmikarepliynchuxbangxaephxtamthirasdrniymeriykkn epntnwa xaephxebiysd epnxaephxpakphnng xaephxxudrepnxaephxpakkra xaephxthksinepnxaephxpakphayun xaephxplathaepnxaephxsthingphra xaephxfayehnuxepnxaephxhadihy aelainpi ph s 2449 mikaroxnthxngthiphraaesngaelaphnminxaephxlaphunipkhunkbemuxngichya inkhnaediywknidmikarthasmmaonkhrwdwy praktwainpi ph s 2442 mnthlnkhrsrithrrmrachminayxaephx 17 khn kann 232 khn phuihyban 2 669 khn micanwnkhrweruxn 72 343 khrweruxn aelarasdrthnghmd 326 266 khn xasyxyuinemuxngnkhrsrithrrmrachrxyla 60 sngkhlarxlla 29 aelaphthlungrxyla 11dankarrksakhwamsngberiybrxy aekikhmikarcdtngkxngphltraewrhruxtarwcphuthrkhuninbriewnchumchnthirasdrxasyxyuhnaaenn epntnwaklangemuxngnkhrsrithrrmrach sngkhla phthlung aelathixaephxpakphnng epnphlihocrphuraythiekhychukchumldnxylng ekidkhwamsngbkhuninbanemuxngradbhnungdantulakr aekikhmikarcdtngsalmnthlkhunthisngkhla salemuxngnkhrsrithrrmrach pakphnngaelaphthlung aelasalxaephxinxaephxtang thukxaephx khahlwngethsaphibalihxanacaekkrrmkarxaephxmisiththithicaphicarnakhdiephngthimithunthrphyimekin 40 bath aelamixanacepriybkhwamidodyimmikahndsudaetkhukhwamcatklng inpi ph s 2440 mikarsrangeruxncakhunephuxkhumkhngnkothsrwmknthinkhrsrithrrmrach aethnthicaaeykkhumtambanecaemuxnghruxkrrmkaremuxngxyangaetkxndanesrsthkic aekikhkarkhathangeruxecriykhun thaihthaeruxtang khukkhkipdwykarkha sinkhaswnihyepnkhxngphunemuxngthimikaraeprrupodykrrmwithieka epntnwa rngnk kungaehng phaphun sukr dibuk hnng ekhastw ekhruxngpndinepha smtrngkanucaksngkhla khawepluxk khawsar it chn yasul khram eruxmadcaknkhrsrithrrmrach khawepluxkaelakhawsarcakphthlung karkhathangeruxecrithkhuncakkarepidkarkhaesri mikarnaeruxklif maichmakkhun mikartidtxkbsingkhopr krungethph aelatxnitkhxngcinepnpracakarekbphasisamarthepliyncakwithipnamulodyecaphasinayxakr maekbepnkhxnghlwngthnghmd inpi ph s 2439 2440 phasithisakhymr 10 kwachnid khux xakrfin xakrsura xakrbxnebiy xakrkhanaemuxngnkhrsrithrrmrachaelaemuxngphthlung phasicnxb phasiphlpraoychnemuxngsngkhla nkhrsrithrrmrach aelaphthlung phasidibukemuxngnkhrsrithrrmrachaelaemuxngsngkhla khahlwngethsaphibalcakhwbkhumkarekbphasiehlaniodytrng samarthekbidmakkwawithipramulhlayethatw khathrrmeniymtang thiekhyepnphlpraoychnkhxngecaemuxngaelakrrmkaremuxngkykelikihipepnkhxnghlwngthnghmd echnediywkbenginswnrayechliythiekbcakiphrhwemuxng enginkhanakhahlwihykhahlwngihycaekhaipkhwbkhumkarekbodytrngaethnthicmxbihecaemuxng krrmkaremuxng kannipekbxyangaetkxn xyangirktamaemphasienginidthiekbcakrasdrchawemuxngnkhrsrithrrmrachcasungkhunxikhlayethatwktamaetphuthieswysukhcakphlphlitswnekinthiephimkhunnn imichchawphunemuxngaetklbepnklumkhnathipityswnnxyinemuxnghlwng ephraaenginphasirayidehlanitxngsngepnenginrayidkhxngrthbalklang 2 swn in 3 swn imklbmaexuxpraoychntxmnthlnkhrsrithrrmrachelydankarkhmnakhmkhnsng aekikhmikarsrangthnninemuxngsngkhlaaelankhrsrithrrmrach odyruxkaaephngemuxnglngmathmthnn khnaediywknksrangthnnechuxmtxrahwangnkhrsrithrrmrachkbtrng aelathnnechuxmrahwangtrngaelaphthlung thangdankariprsniyothrelkhmikarpkesaphadsaylngipthungsngkhla caksngkhlatxipthungithrburi misanknganiprsniyxyuthisngkhla miphnkngansnghnngsuxrachkaraelacdhmayrahwangemuxngtang 7 wnkhrng odyaebngxxkepn 3 saykhux caksngkhlaippttaniaelaklntnsayhnung ipphthlung trng krabi aelaphngngasayhnung aelaxiksanhnungipithrburi palis aelastuldanchlprathan aekikhmikarkhudlxkkhlxngknxyangkwangkhwanginekhtnkhrsrithrrmrach idaek khlxngsukhum nkhrphya maaeph aelakhlxngraondtidtxrahwangnkhrsrithrrmrachkbsngkhla inekhtphthlungidaek khlxngkhxkchang inekhtsngkhlaidaek khlxngaekaihy khlxngehlaniichpraoychnthngthangdankarchlprathanaelakarkhmnakhmkhnsngdansasna aekikhmikarptirupkarpkkhrxngkhnasngkhemuxngnkhrsrithrrmrach sngkhla aelaphthlungesiyihmepnkhnaihy khnarxng aelakhnaaekhwng mikarburnasxmaesmwdphramhathatuwrmhawiharnkhrsrithrrmrachkhrngihydankarsuksa aekikhmikarcdtngorngeriynaebbsmyihmkhuninemuxngtang rayaaerkephiyngemuxngla 1 aehngkxnaelwkhxykhyayxxkip orngeriynaehngaerkthitngkhun khux orngeriynmhawchirawuthsngkhla aelaorngeriynebycmrachuthisnkhrsrithrrmrach srangkhuninpi ph s 2441 rthbalminoybaythicacdtngorngeriynhlwngkhuninwdaelaphungphawdihepnphuxbrmihkarsuksaaekeyawchnaethnthicarbphidchxbexngodytrng karptiruppraethskhrngnnrthbalidlaelytxkarphthnakhn sungthuxepnhwickhxngkarphthnapraethsthisakhythisudxangxing aekikh1 mulnithisarnukrmwthnthrrmithy thnakharithyphanich 2542 saranukrmwthnthrrmithy phakhit elm 8 syamephrs aemencemnth cakd hna 3630 3638 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title mnthlnkhrsrithrrmrach amp oldid 9472208, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม