fbpx
วิกิพีเดีย

ราชวงศ์กอญัร

ราชวงศ์กอญัร เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี ค.ศ. 1785-1925 โดยชาห์พระองค์แรกของราชวงศ์มีพระนามว่าพระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัรเสด็จขึ้นพระราชสมบัติเมื่อปี ค.ศ. 1789 ต่อมาภายหลังราชวงศ์กอญัรถูกโค่นล้มในการยึดอำนาจโดยเรซาข่านในปี ค.ศ. 1925

รัฐอันประเสริฐยิ่งแห่งเปอร์เซีย

دولت علیّه ایران
Dowlat-e Aliyye-ye Irān
ค.ศ. 1785–1925
ธงชาติ (1906–1925)
เพลงชาติ(1873–1909)
Salâm-e Shâh
(ขอให้พระเจ้าชาห์จงเจริญ)

(1909–1925)
Salāmati-ye Dowlat-e Elliye-ye Irān
(เพลงคารวะรัฐอันประเสริฐยิ่งแห่งเปอร์เซีย)
แผนที่ราชวงศ์กอญัรในยุคศตวรรษที่ 19
เมืองหลวงเตหะราน
ภาษาทั่วไปภาษาเปอร์เซีย
ภาษาอาเซอร์ไบจาน
การปกครอง
ชาฮันชาห์ 
• 1789–1797
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร (พระองค์แรก)
• 1909–1925
พระเจ้าชาห์ อะห์หมัด ชาห์ กอญัร (พระองค์สุดท้าย)
นายกรัฐมนตรี 
• 1906
Mirza Nasrullah Khan (คนแรก)
• 1923–1925
เรซา ปาห์ลาวี (คนสุดท้าย)
ประวัติศาสตร์ 
• สถาปนา
ค.ศ. 1785
• การปฏิวัติรัฐธรรมนูญ
5 สิงหาคม ค.ศ. 1906
• ปลดสภาร่างรัฐธรรมนูญ
31 ตุลาคม ค.ศ. 1925
สกุลเงินโตมัน (1789–1825)
ควิราน (1825–1925)
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์แซนด์
ราชวงศ์อาฟชาริยะห์
จักรวรรดิดุรรานี
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ อาร์มีเนีย
 อาเซอร์ไบจาน
 บาห์เรน
 จอร์เจีย
 อิหร่าน
 อิรัก
 รัสเซีย
 เติร์กเมนิสถาน
 ตุรกี
 ปากีสถาน
 อัฟกานิสถาน

ปฐมบท

ราชวงศ์กอญัรเป็นราชวงศ์ที่ยิ่งใหญ่ในยุคใหม่ และเป็นยุคที่นิกายชีอะห์ในอิหร่านอ่อนแอ

การก่อตั้งราชวงศ์

ดูบทความหลักที่: พระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร

ราชวงศ์กอญัรใน ค.ศ. 1789 ปีที่มีพระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร ขึ้นเป็นชาฮันชาห์แห่งราชวงศ์กอญัรพระองค์แรก

การบุกยึดจอร์เจีย และ ดินแดนคอเคซัส

 
การยึดกรุงTbilisi วาดโดย อัคฮา โมฮัมเม็ด ข่าน. ภาพจากBritish Library.
ดูบทความหลักที่: ยุทธการคซานิชี

ภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของชาห์นาเดอร์ อาณาจักร Kartli และ Kakheti ได้ปลดแอกจากการปกครองของชาวอิหร่าน และรวมตัวเป็นราชอาณาจักร Kartli-Kakheti ภายใต้การปกครองของกษัตริย์นาม Heraclius II (Erekle II) ในปี 1762 ซึ่งระหว่างปี 1747 ถึง 1795 Erekle สามารถรักษาเอกราชไว้ได้ตลอดยุคของราชวงศ์แซนด์ เนื่องจากเกิดความวุ่นวายภายในอิหร่าน ต่อมาในปี 1783 Heraclius ได้นำอาณาจักรของพระองค์เข้าเป็นรัฐในอารักขาของจักรวรรดิรัสเซียโดยสนธิสัญญา Georgievsk ในช่วงทศวรรษท้ายๆของศตวรรษที่ 18 จอร์เจียได้กลายเป็นตัวแปรสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียและอิหร่าน ไม่เหมือนในรัชสมัยของปีเตอร์มหาราช แคทเธอรีนมหาราชินี ผู้ปกครองรัสเซียในเวลาต่อมา มองจอร์เจียเป็นจุดยุทธศาสตร์สำหรับนโยบายในภูมิภาคคอเคซัสของพระนาง และใช้จอร์เจียเป็นฐานปฏิบัติการต่อต้านอิหร่านและจักรวรรดิออตโตมัน ซึ่งทั้งคู่เป็นคู่แข่งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีชายแดนติดต่อกับรัสเซียโดยตรง ยิ่งไปกว่านั้น เป็นแนวคิดที่ดีหากจะมีท่าเรือเพิ่มบนชายฝั่งจอร์เจียซึ่งติดต่อทะเลดำ กองทหารรักษาการณ์ของรัสเซียจำนวนสองกองพัน พร้อมด้วยปืนใหญ่สี่กระบอก ยาตราเข้าสู่เมืองทบิลีซีในปี 1784 แต่ก็ได้ถอนทัพออก เนื่องจากการประท้วงอย่างรุนแรงของชาวจอร์เจียน เมื่อรัสเซียก่อสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันในปี 1787 ก็ได้เริ่มบุกจากแนวหน้าที่อื่น

สงครามกับจักรวรรดิรัสเซีย และ การผนวกดินแดน

ดูบทความหลักที่: สงครามรัสเซีย-เปอร์เซีย (ค.ศ. 1804–1813), สงครามรัสเซีย-เปอร์เซีย (ค.ศ. 1826–1828), สนธิสัญญากูลิสถาน และ สนธิสัญญาเติร์กเมนเชส์
 
A. Sharlmann "ยุทธการกวันญัร" ระหว่างสงครามรัสเซีย-เปอร์เซียครั้งที่ 1.
 
แผนที่ของอิหร่านในศตวรรษที่ 19 ตามสนธิสัญญากูลิสถาน หลังสิ้นสุดสงครามรัสเซีย-เปอร์เซีย ที่ได้ผนวกดินแดนภาคตะวันออกของจักรวรรดิรัสเซียซึ่งประกอบด้วย จอร์เจีย, ดาเกสถาน, อาร์เมเนีย, และ อาเซอร์ไบจาน.

การอพยพของมุสลิมคอเคซัส

สำหรับบทความหลักในหมวดหมู่นี้ ดูที่ Ayrums, Qarapapaqs และ Ethnic Cleansing of Circassians
 
กองพลคอสแซกเปอร์เซียที่เมืองTabriz ค.ศ. 1909

การปฏิวัติรัฐธรรมนูญ

ดูบทความหลักที่: การปฏิวัติรัฐธรรมนูญอิหร่าน
 
พระฉายาลักษณ์ของพระเจ้าชาห์นัสเซอร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร ปรากฏบนธนบัตรราคา 1 ควิราน.

การล่มสลายของราชวงศ์

ฐานันดรศักดิ์

 
Bahram Mirza
การเมืองการปกครอง


ทหาร


สังคม


สถาปนิก


นักธุรกิจ


สิทธิสตรี


นักประพันธ์


ดนตรี
บันเทิง

อ้างอิง

  1. علی‌اصغر شمیم، ایران در دوره سلطنت قاجار، ته‍ران‌: انتشارات علمی، ۱۳۷۱، ص ۲۸۷
  2. Fisher et al. 1991, p. 328.
  3. Mikaberidze 2011, p. 327.
  4. Fisher et al. 1991, p. 327.

แหล่งข้อมูลอื่น

ราชวงศ, กอญ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เป, นราชวงศ, ปกครองอ, หร. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir rachwngskxyr epnrachwngsthipkkhrxngxihraninpi kh s 1785 1925 odychahphraxngkhaerkkhxngrachwngsmiphranamwaphraecachahomhmhmd khan kxyresdckhunphrarachsmbtiemuxpi kh s 1789 txmaphayhlngrachwngskxyrthukokhnlminkaryudxanacodyersakhaninpi kh s 1925rthxnpraesrithyingaehngepxresiyدولت علی ه ایران Dowlat e Aliyye ye Irankh s 1785 1925thngchati 1906 1925 traaephndin 1907 1925 ephlngchati 1873 1909 Salam e Shah khxihphraecachahcngecriy source source 1909 1925 Salamati ye Dowlat e Elliye ye Iran ephlngkharwarthxnpraesrithyingaehngepxresiy source source aephnthirachwngskxyrinyukhstwrrsthi 19emuxnghlwngetharanphasathwipphasaepxresiyphasaxaesxribcankarpkkhrxngsmburnayasiththirachy 1789 1906 rachathipityphayitrththrrmnuy 1906 1925 chahnchah 1789 1797phraecachah omhmhmd khan kxyr phraxngkhaerk 1909 1925phraecachah xahhmd chah kxyr phraxngkhsudthay naykrthmntri 1906Mirza Nasrullah Khan khnaerk 1923 1925ersa pahlawi khnsudthay prawtisastr sthapnakh s 1785 karptiwtirththrrmnuy5 singhakhm kh s 1906 pldspharangrththrrmnuy31 tulakhm kh s 1925skulenginotmn 1789 1825 khwiran 1825 1925 1 kxnhna thdiprachwngsaesndrachwngsxafchariyahckrwrrdidurrani rachwngspahlawickrwrrdirsesiypccubnepnswnhnungkhxng xarmieniy xaesxribcan bahern cxreciy xihran xirk rsesiy etirkemnisthan turki pakisthan xfkanisthan enuxha 1 pthmbth 2 karkxtngrachwngs 3 karbukyudcxreciy aela dinaednkhxekhss 4 sngkhramkbckrwrrdirsesiy aela karphnwkdinaedn 4 1 karxphyphkhxngmuslimkhxekhss 5 karptiwtirththrrmnuy 6 karlmslaykhxngrachwngs 7 thanndrskdi 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunpthmbth aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidrachwngskxyrepnrachwngsthiyingihyinyukhihm aelaepnyukhthinikaychixahinxihranxxnaexkarkxtngrachwngs aekikhdubthkhwamhlkthi phraecachahomhmhmd khan kxyr swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidrachwngskxyrin kh s 1789 pithimiphraecachahomhmhmd khan kxyr khunepnchahnchahaehngrachwngskxyrphraxngkhaerkkarbukyudcxreciy aela dinaednkhxekhss aekikh karyudkrungTbilisi wadody xkhha omhmemd khan phaphcakBritish Library dubthkhwamhlkthi yuththkarkhsanichi phayhlngcakkaresdcswrrkhtkhxngchahnaedxr xanackr Kartli aela Kakheti idpldaexkcakkarpkkhrxngkhxngchawxihran aelarwmtwepnrachxanackr Kartli Kakheti phayitkarpkkhrxngkhxngkstriynam Heraclius II Erekle II inpi 1762 sungrahwangpi 1747 thung 1795 Erekle samarthrksaexkrachiwidtlxdyukhkhxngrachwngsaesnd enuxngcakekidkhwamwunwayphayinxihran 2 txmainpi 1783 Heraclius idnaxanackrkhxngphraxngkhekhaepnrthinxarkkhakhxngckrwrrdirsesiyodysnthisyya Georgievsk inchwngthswrrsthaykhxngstwrrsthi 18 cxreciyidklayepntwaeprsakhykhxngkhwamsmphnthrahwangrsesiyaelaxihran imehmuxninrchsmykhxngpietxrmharach aekhthethxrinmharachini phupkkhrxngrsesiyinewlatxma mxngcxreciyepncudyuththsastrsahrbnoybayinphumiphakhkhxekhsskhxngphranang aelaichcxreciyepnthanptibtikartxtanxihranaelackrwrrdixxtotmn 3 sungthngkhuepnkhuaekhngthangphumirthsastrthimichayaedntidtxkbrsesiyodytrng yingipkwann epnaenwkhidthidihakcamithaeruxephimbnchayfngcxreciysungtidtxthaelda 4 kxngthharrksakarnkhxngrsesiycanwnsxngkxngphn phrxmdwypunihysikrabxk yatraekhasuemuxngthbilisiinpi 1784 2 aetkidthxnthphxxk enuxngcakkarprathwngxyangrunaerngkhxngchawcxreciyn emuxrsesiykxsngkhramtxckrwrrdixxtotmninpi 1787 kiderimbukcakaenwhnathixun 2 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsngkhramkbckrwrrdirsesiy aela karphnwkdinaedn aekikhdubthkhwamhlkthi sngkhramrsesiy epxresiy kh s 1804 1813 sngkhramrsesiy epxresiy kh s 1826 1828 snthisyyakulisthan aela snthisyyaetirkemnechs A Sharlmann yuththkarkwnyr rahwangsngkhramrsesiy epxresiykhrngthi 1 aephnthikhxngxihraninstwrrsthi 19 tamsnthisyyakulisthan hlngsinsudsngkhramrsesiy epxresiy thiidphnwkdinaednphakhtawnxxkkhxngckrwrrdirsesiysungprakxbdwy cxreciy daeksthan xaremeniy aela xaesxribcan karxphyphkhxngmuslimkhxekhss aekikh sahrbbthkhwamhlkinhmwdhmuni duthi Ayrums Qarapapaqs aela Ethnic Cleansing of Circassians kxngphlkhxsaeskepxresiythiemuxngTabriz kh s 1909 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarptiwtirththrrmnuy aekikhdubthkhwamhlkthi karptiwtirththrrmnuyxihran phrachayalksnkhxngphraecachahnsesxr xldin chah kxyr praktbnthnbtrrakha 1 khwiran swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarlmslaykhxngrachwngs aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidthanndrskdi aekikh Bahram Mirza karemuxngkarpkkhrxng thhar sngkhm sthapnik nkthurkic siththistri nkpraphnth dntribnethingxangxing aekikh علی اصغر شمیم ایران در دوره سلطنت قاجار ته ران انتشارات علمی ۱۳۷۱ ص ۲۸۷ 2 0 2 1 2 2 Fisher et al 1991 p 328 Mikaberidze 2011 p 327 Fisher et al 1991 p 327 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb rachwngskxyr bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title rachwngskxyr amp oldid 9244623, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม