fbpx
วิกิพีเดีย

ว็อล์ฟกัง เพาลี

ระวังสับสนกับ ว็อล์ฟกัง เพาล์

ว็อล์ฟกัง แอนสท์ เพาลี (เยอรมัน: Wolfgang Ernst Pauli, 25 เมษายน พ.ศ. 2443 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย และหนึ่งในกลุ่มผู้บุกเบิกด้านฟิสิกส์ควอนตัม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2488 โดยได้รับเสนอชื่อจากอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จากผลงานอันเลื่องชื่อเกี่ยวกับทฤษฎีทางด้านสปิน โดยเฉพาะการค้นพบ หลักการกีดกันของเพาลี ซึ่งถือเป็นรากฐานสำหรับการศึกษาโครงสร้างของสสาร และรากฐานการศึกษาวิชาเคมีทั้งมวล

ว็อล์ฟกัง แอนสท์ เพาลี
เกิด25 เมษายน 2443
เวียนนา  จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
เสียชีวิต15 ธันวาคม 2501 (อายุ 58 ปี)
ซูริก  สวิตเซอร์แลนด์
สัญชาติ ออสเตรีย
 สวิตเซอร์แลนด์
 สหรัฐ
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยลุดวิค-เมกซิมิลเลียนส์
มีชื่อเสียงจากหลักการกีดกันของเพาลี
รางวัล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (2488/1945)
เหรียญ ลอเรนทซ์ (2474/1931)
เหรียญ มักซ์ พลังค์ (2501/1958)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สถาบันที่ทำงานเกิตทิงเงน
โคเปนเฮเกน
ฮัมเบิร์ก
อีทีเอช ซูริค
มิชิแกน
พรินซ์ตัน
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกอาร์โนลด์ ซอมเมอร์เฟลด์
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกนิโคลาส เคมเมอร์

ประวัติ

เพาลีเกิดในกรุงเวียนนา เป็นบุตรนักเคมีชื่อ ว็อล์ฟกัง โยเซฟ เพาลี กับ เบร์ตา คามิลลา ชูทซ์ ชื่อกลางของเขาตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่พ่อทูนหัวซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ ชื่อ แอนสท์ มัค ต้นตระกูลของเพาลีเป็นตระกูลชาวยิวที่มีชื่อเสียงในกรุงปราก ปู่ทวดของเพาลีคือ วูล์ฟ พาสเคเลส เป็นนักหนังสือพิมพ์เชื้อสายเชก-ยิว แต่บิดาของเพาลีเปลี่ยนศาสนาจากยิวไปเป็นโรมันคาทอลิกเพียงไม่นานก่อนแต่งงานในปี พ.ศ. 2442 มารดาของเพาลี หรือ เบร์ตา ชูทซ์ เติบโตขึ้นภายใต้การเลี้ยงดูแบบโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นศาสนาของมารดาของเธอ แต่บิดา (เฟียร์ดริช ชูทซ์) เป็นนักเขียนชาวยิว เพาลีเติบโตมาในศาสนาโรมันคาทอลิก แต่ในภายหลังทั้งตัวเขาและบิดามารดาก็ออกจากศาสนานั้น

เพาลีเข้าเรียนในโรงเรียนเดอบลิงเงอร์-คุมเนเซียม ในเวียนนา จบจากโรงเรียนเมื่อปี พ.ศ. 2461 ด้วยคะแนนโดดเด่นพิเศษ ก่อนจบการศึกษาเพียงสองเดือน เขาได้ตีพิมพ์ผลงานเรื่องแรกเกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ของไอน์สไตน์ เขาได้เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยลุดวิค-เมกซิมิลเลียนส์ ในเมืองมิวนิก โดยทำงานภายใต้การดูแลของ อาร์โนลด์ ซอมเมอร์เฟลด์ เขาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2464 ด้วยหัวข้อวิทยานิพนธ์ด้านทฤษฎีควอนตัม เรื่องการเป็นประจุของโมเลกุลไฮโดรเจน

ซอมเมอร์เฟลด์ขอให้เพาลีวิเคราะห์วิจารณ์ทฤษฎีสัมพัทธภาพ เพื่อลงพิมพ์ใน Encyklopaedie der mathematischen Wissenschaften ("สารานุกรมวิทยาศาสตร์ที่บรรยายด้วยคณิตศาสตร์") เพาลีเขียนบทความเสร็จภายในสองเดือนหลังจากได้รับปริญญาเอก เป็นบทความที่มีความยาวถึง 237 หน้า เป็นผลงานที่ได้รับยกย่องชื่นชมจากไอน์สไตน์ และได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความเดี่ยว บทความนี้ยังคงเป็นบทความอ้างอิงมาตรฐานเกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปมากระทั่งถึงทุกวันนี้

 
ว็อล์ฟกัง เพาลี ในวัยหนุ่ม

เพาลีใช้เวลาหนึ่งปีที่มหาวิทยาลัยเกิตทิงเงน (University of Göttingen) ในฐานะผู้ช่วยของ มักซ์ บอร์น และอีกหนึ่งปีถัดจากนั้นที่สถาบันด้านฟิสิกส์ทฤษฎี ซึ่งปัจจุบันนี้กลายมาเป็น สถาบัน นีลส์ บอร์ สำหรับฟิสิกส์ทฤษฎี (Niels Bohr Institute for Theoretical Physics) ในกรุงโคเปนเฮเกน เขาเป็นผู้บรรยายที่มหาวิทยาลัยฮัมเบิร์ก (University of Hamburg) ระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2466 ถึง 2471 ซึ่งในช่วงนี้เอง เพาลีได้เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีใหม่ของกลศาสตร์ควอนตัม หากกล่าวให้เจาะจงก็คือ เขาได้พัฒนาหลักการกีดกันและทฤษฎีที่ไม่เป็นสัมพัทธภาพของสปิน (nonrelativistic theory of spin)

ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2472 เพาลีได้ออกจากศาสนาโรมันคาทอลิก และในเดือนธันวาคมปีเดียวกันนั้น เขาได้แต่งงานกับ เคเธ มาคาเรธเธ เดพเนอร์ การแต่งงานครั้งนี้ไม่ได้รื่นรมย์นัก เพราะจบด้วยการหย่าร้างในปี 2473 ด้วยเวลาเพียงไม่ถึงปี ปลายปี พ.ศ. 2473 ทันทีหลังจากการหย่าร้าง และหลังจากการนำเสนอการมีอยู่ของนิวตริโนไม่นาน เพาลีล้มป่วยอย่างหนัก เขาไปปรึกษากับจิตแพทย์และนักจิตบำบัดที่ชื่อ คาร์ล จุง ผู้ซึ่งอาศัยใกล้กับเมืองซูริคเหมือนกับเพาลี จุงได้เริ่มแปลความฝันที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กัน (archetypal dreams) ของเพาลีโดยทันที ต่อมาเพาลีได้กลายเป็นหนึ่งในนักศึกษาที่ดีที่สุดของนักจิตวิทยาในเชิงลึก ไม่นานนัก เขาได้เริ่มต้นวิจารณ์กระบวนการความรู้ (epistemology) เกี่ยวกับทฤษฎีของจุงตามหลักทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งส่งผลสร้างความกระจ่างแจ้งแก่แนวความคิดของเขาเองในภายหลัง โดยเฉพาะแนวคิดอันเป็นหลักการของประสบการณ์เหตุการณ์ซ้อน (synchronicity) บทสนทนาเกี่ยวกับเรื่องนี้ส่วนมากบันทึกเอาไว้ในจดหมายระหว่างเพาลีกับจุง ปัจจุบันได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ ชื่อ "Atom and Archetype" (อะตอมและบริบทที่เกิดซ้ำ) ส่วนการวิเคราะห์ความฝันต่างๆ ของเพาลีอย่างถ้วนถี่ของจุง มากกว่า 400 รายการได้บันทึกเป็นเอกสารในชื่อ “Psychology and Alchemy” (จิตวิทยากับการเล่นแร่แปรธาตุ)

ในปี พ.ศ. 2471 เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์ทางฟิสิกส์ทฤษฎีที่ อีทีเอช ซูริค (สถาบันเทคโนโลยีสหพันธรัฐสวิสแห่งซูริค) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่ซึ่งเขาได้สร้างความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อันสำคัญมากมาย เขาได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์เยือนที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน ในปี พ.ศ. 2474 และที่สถาบันสำหรับการศึกษาก้าวหน้า (the Institute for Advanced Study) มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปี พ.ศ. 2478 เขาได้รับเหรียญลอเรนทซ์ในปี พ.ศ. 2474 เพาลีแต่งงานกับฟรานซิสคา เบอร์ทแรม ในปี พ.ศ. 2477 การแต่งงานครั้งนี้ยืนยาวไปจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตเขา แต่ทั้งสองไม่มีบุตรธิดาร่วมกัน

การผนวกยึดครองดินแดนของออสเตรีย เข้าร่วมกับ เยอรมัน ในปี 2481 ได้ทำให้ เพาลี เป็นพลเมืองของ เยอรมัน ซึ่งกลายเป็นความยากลำบาก เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้ประทุขึ้น ในปี พ.ศ. 2482 เพาลีได้ย้ายไปอยู่ที่ สหรัฐอเมริกาในปี 2483 ที่ซึ่งเขาได้เป็นศาสตราจารย์ทางด้านฟิสิกส์ทฤษฎี ให้กับ ปรินซ์ตัน เขาได้แปลงสัญชาติเป็นอเมริกัน ในปี พ.ศ. 2489 หลังจากสงครามจบลง ก่อนที่จะ กลับไปอยู่ที่ เซริค ซึ่งเป็นที่ที่เขาได้พำนักอยู่โดยมากก่อนเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2488 เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ "สำหรับการค้นพบหลักการกีดกัน ซึ่งถูกเรียกได้อีกอย่างว่า หลักของเพาลี" ซึ่งผู้เสนอชื่อให้รับรางวัลก็คือไอน์สไตน์

ในปี พ.ศ. 2501 เพาลีได้รับ เหรียญ มากซ์ พลางค์ ในปีเดียวกันนั้นเอง เขาได้ป่วยด้วยโรคมะเร็งในตับ เมื่อ ชารลส์ เอนซ์ ผู้ช่วยคนสุดท้ายของเขา ได้เข้าเยี่ยมเขาที่ โรงพยาบาล รอทเครอุซ (Rotkreuz hospital) ในเมืองเซริค เพาลีได้ถามเขาว่า "คุณเห็นหมายเลขของห้องหรือเปล่า" มันคือหมายเลข 137 ตลอดชีวิตของเขา เพาลี ได้ใช้เวลาเพื่อตอบคำถามที่ว่า ทำไม ค่าคงตัวโครงสร้างละเอียด (fine structure constant) ซึ่งเป็น ค่าคงตัวพื้นฐานที่ไม่มีมิติ ถึงได้มีค่าเกือบจะเท่ากับ 1/137 เพาลีเสียชีวิตในห้องนั้น ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2501

งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์

เพาลีได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาที่สำคัญมากมายในวิชาชีพของเขาในฐานะนักฟิสิกส์ หลักๆ แล้ว ก็คือ การพัฒนาในวิชา กลศาสตร์ควอนตัม เขาตีพิมพ์ผลงานน้อยมาก เขาชอบที่จะเขียนตอบโต้กับเพื่อนๆ ของเขามากกว่า (เพื่อนๆ ของเขา อย่างเช่น บอร์ และ ไฮเซนแบร์ก ซึ่งเป็นผู้ที่เขามีความสนิทสนม) ความคิดใหม่ๆ และ ผลงาน หลายๆ อย่างของเขา ไม่เคยถูกตีพิมพ์ และ ได้ปรากฏอยู่ในจดหมายของเขาเท่านั้น ซึ่งบ่อยครั้งที่จดหมายเหล่านั้นจะถูกพิมพ์ซ้ำและแจกจ่ายวนเวียนอยู่ในหมู่ผู้ที่ได้รับจดหมายของเขา เป็นที่แจ่มชัดว่าเพาลีไม่ได้ตระหนักในการที่งานของเขาไม่ได้รับการอ้างอิง ข้างล่างนี้เป็นผลงานสำคัญหลักๆ ที่เขาได้รับการอ้างอิงถึง

  • พ.ศ. 2467 เพาลีได้เสนอ องศาความอิสระทางควอนตัม (quantum degree of freedom) ใหม่อันหนึ่ง (หรือที่เรียกว่า หมายเลขควอนตัม) ซึ่งได้แก้ปัญหาการไม่ลงรอยกันระหว่าง แถบความถี่จำเพาะของโมเลกุล (molecular spectra) ที่สังเกตได้ กับทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมที่กำลังได้รับการพัฒนา เขาได้สร้างหลักการกีดกันของเพาลีขึ้น บางทีนี่อาจจะเป็นงานที่สำคัญที่สุดของเขา เนื้อหาของงานนี้มีใจความว่า อิเล็กตรอนสองตัวใดๆ ที่มี สถานะทางควอนตัม (quantum state) เดียวกัน ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ หนึ่งปีหลังจากนั้น แนวคิดใหม่เกี่ยวกับสปินได้ถือกำเนิดขึ้นโดย ราล์ฟ ครอนิก, อูเลนเบค และ เกาด์สมิท เพื่อระบุองศาความอิสระทางควอนตัมนี้ในฐานะเป็นสปินของอิเล็กตรอน
  • พ.ศ. 2469 ไม่นานนักหลังจากที่ไฮเซนแบร์กได้ตีพิมพ์ทฤษฎีเมตริกซ์ของกลศาสตร์ควอนตัมสมัยใหม่ เพาลีได้ใช้มันในการสร้างสูตรที่ทำนาย เส้นความถี่จำเพาะของอะตอมของไฮโดรเจน ที่ได้รับการสังเกตไว้ ผลงานชิ้นนี้เป็นส่วนสำคัญในการคุ้มครองความน่าเชื่อถือของทฤษฎีของไฮเซนแบร์ก
  • พ.ศ. 2470 เขาได้เสนอ เมทริกซ์เพาลี เพื่อใช้เป็นฐานหลักของตัวกระทำทางสปิน ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาทฤษฎีที่ไม่เป็นสัมพัทธภาพของสปิน (nonrelativistic theory of spin) งานชิ้นนี้บางครั้งได้ถูกกล่าวถึงว่ามีอิทธิพลต่อ ดิแรก ในการค้นพบสมการดิแรก สำหรับอิเล็กตรอนที่เป็นสัมพัทธภาพ แม้ว่าดิแรกจะกล่าวว่าเขาคิดค้นเมตริกซ์เดียวกันนี้ด้วยตัวเขาเอง โดยที่ไม่ได้รับอิทธิพลทางความคิดจากเพาลีเลย ดิแรกได้คิดค้นเมตริกซ์ ที่คล้ายๆ กัน แต่ใหญ่กว่า สำหรับใช้ในการแก้ปัญหาสปินแบบเฟอร์มิออน (fermionic spin) ที่เป็นสัมพัทธภาพ
  • พ.ศ. 2473 เพาลี ได้พิจารณาปัญหา การสลายให้อนุภาคบีตา (beta decay) ในจดหมายของวันที่ 4 ธันวาคม เริ่มด้วยประโยค "สุภาพสตรี และ สุภาพบุรุษ แห่งการแผ่รังสี ที่รัก" (ส่งให้กับผู้รับ เช่น ลิส ไมท์เนอร์) เขาได้เสนอการมีอยู่ของอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้าที่ไม่เคยถูกสังเกตได้มาก่อน (นับถึง ณ เวลาที่เขาเขียนจดหมาย) ด้วยมวลที่น้อยนิด (ไม่เกินร้อยละ 1 ของมวลโปรตอน) เพื่อที่จะอธิบายความถี่จำเพาะต่อเนื่องของการสลายให้อนุภาคบีตา ในปี พ.ศ. 2477 แฟร์มี ได้รวมเอาอนุภาคนั้นไว้ในทฤษฎีการสลายให้อนุภาคบีตาของเขา เฟอร์มีเรียกอนุภาคนั้นว่า นิวตริโน ในปี พ.ศ. 2502 นิวตริโนได้ถูกสังเกตได้เป็นครั้งแรกในเชิงการทดลอง
  • พ.ศ. 2483 เขาได้พิสูจน์ ทฤษฎีบทสปินเชิงสถิติ (spin-statistics theorem) ซึ่งเป็นผลมาจาก ทฤษฎีสนามควอนตัม (quantum field theory) ที่สำคัญยิ่งยวด ทฤษฎีนี้มีใจความว่า อนุภาคซึ่งมีสปินครึ่งหนึ่งของจำนวนเต็ม เป็นอนุภาคเฟอร์มิออน ในขณะที่อนุภาคที่มีสปินเป็นจำนวนเต็ม เป็นอนุภาคโบซอน

เพาลีได้ให้คำวิจารณ์ซ้ำๆ หลายครั้ง สำหรับการวิเคราะห์สมัยใหม่ของชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ และ ผู้ซึ่งสนับสนุนเขาหลายคนได้ชีไปยัง การสืบทอดทาง เอพิเจนเนติกส์ (epigenetic inheritance) ซึ่งสนับสนุนข้อโต้แย้งของเขา

บุคลิก และ เรื่องเล่าลือ

ปรากฏการณ์เพาลี ได้รับการตั้งชื่อ ดามความสามารถอันแปลกประหลาดของเขาที่สามารถทำอุปกรณ์การทดลองพังเพียงแค่เขาอยู่ใกล้เท่านั้น ตัวของเพาลีเองก็ตระหนักถึงเรื่องเล่าลือเรื่องนี้ และ ยินดีเบิกบาน ที่เมื่อไหร่ก็ตามที่ปรากฏการณ์นี้บังเกิดขึ้น

ในทางฟิสิกส์แล้ว เพาลีถึอได้ว่าเป็นนักยึดความสมบูรณ์แบบที่โด่งดัง ความประพฤตินี้ไม่ได้เพียงแค่ครอบคลุมงานของเขาเท่านั้น แต่ยังขยายตัวไปสู่งานของเพื่อนร่วมงานด้วย ด้วยเหตุนี้ เขาจึงกลายเป็นที่รู้จักภายในชุมชนฟิสิกส์ในฐานะ "ความตื่นตัวของฟิสิกส์" นักติเตียนสำหรับผู้ที่เพื่อนร่วมงานของเขาต้องได้รับผิดชอบด้วย เขาอาจจะวิจารณ์อย่างเสียๆ หายๆ ในการขับไล่ทฤษฎีใดๆ ก็ตามที่เขาพบว่าไม่สมบูรณ์ และ บ่อยครั้งที่ประกาศว่า มัน ganz falsch หรือ ผิดอย่างสมบูรณ์

อย่างไรก็ดี นี่ไม่ได้เป็นการวิจารณ์ที่เลวร้ายที่สุดของเขา เขาเก็บมันไว้สำหรับ ทฤษฎี หรือ วิทยานิพนธ์ ที่ถูกนำเสนออย่างไม่แจ่มชัดในฐานะที่ว่ามันไม่สามารถทดสอบ หรือ ไม่สามารถประเมินดูได้ และ ดังนั้นไม่ควรจะอาศัยอยู่ภายในอาณาจักรของวิทยาศาสตร์ แม้ว่าจะนำเสนอในทำนองนั้น สิ่งเหล่านั้นแย่ยิ่งกว่าผิดเสียอีก เพราะ พวกมันไม่สามารถจะถูกพิสูจน์ได้ว่าผิด คำพูดประโยคหนึ่งที่มีชื่อเสียง ซึ่งเขาพูดต่อผลงานชิ้นหนึ่งที่ไม่กระจ่างชัดเช่นนั้น คือ: "มันไม่แม้แต่จะผิด"

เหตุการณ์หนึ่งที่ได้รับการรายงานว่าได้เคยเกิดขึ้น คือ เกิดกับ พอล เอห์เรนเฟสท์ นักฟิสิกส์ชั้นนำในขณะนั้น ผู้ซึ่งแสดง คำเลื่องลือความยโส ของ เพาลีนี้ เขาทั้งสองได้พบกันเป็นครั้งแรกในการประชุมครั้งหนึ่ง แม้ว่า เอห์เรนเฟสท์ จะไม่เคยพบ เพาลี มาก่อน แต่เขาก็มีความคุ้นเคยกับงานของเพาลี และ ค่อนข้างที่จะประทับใจกับมัน หลังจากเพียงไม่กี่นาทีของการสนทนา เอห์เรนเฟสท์ ได้กล่าวขึ้นว่า "ผมคิดว่าผมชอบงานของคุณมากกว่าตัวคุณนะ" ซึ่ง เพาลี ก็ตอบกลับว่า "ผมคิดว่าผมชอบคุณมากกว่างานของคุณ" ทั้งสองได้กลายเป็นเพื่อนที่ดีต่อกันตั้งแต่นั้นมา

เรื่องตลกขบขันที่เป็นที่รู้จักกันดีอันหนึ่งในชุมชนฟิสิกส์ดำเนินไปอย่างนี้: หลังจากการตายของเขา เพาลี ได้รับอนุญาตให้เข้าไปคุยกับพระเจ้าได้ เพาลีถามพระเจ้าว่า ทำไม ค่าคงตัวของโครงสร้างละเอียดจึงมีค่า 1/(137.036...) พระเจ้าพยักหน้า แล้วไปที่กระดานดำ และ เริ่มที่จะเขียนสมการด้วยความรวดเร็วปานสายฟ้าผ่า เพาลีได้ดูเขาและทุบโต๊ะด้วยความพอใจอย่างยิ่ง แต่ ไม่นานนักได้เริ่มส่ายหัวอย่างแรง "Das ist ganz falsch!" (มันผิดอย่างสมบูรณ์)

ภาพอย่างหนึ่งที่ดูจะอบอุ่นกว่ามาจากเรื่องข้างล่างนี้ที่ปรากฏในบทความเกี่ยวกับ ดิแรก: "แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก (ใน Physics and Beyond ปี พ.ศ. 2514) จำได้ถึงการสนทนาอย่างฉันท์มิตรอันหนึ่งระหว่างผู้เข้าร่วมประชุมหนุ่มๆ ที่ การประชุม โซล์เวย์ ปี พ.ศ. 2470 เกี่ยวกับ ทัศนคติของไอสไตน์ และ พลางค์ ในเรื่องศาสนา ว็อล์ฟกัง เพาลี, ไฮเซนแบร์ก และ ดิแรก ได้มีส่วนร่วมในการสนทนาด้วย ความเห็นในส่วนของ ดิแรก นั้นเป็นการวิจาร์ณที่ คมกริบ และ ชัดเจน เกี่ยวกับการบังคับควบคุมศาสนาในทางการเมือง" บอห์ร ได้ชื่นชมในความชัดเจนนั้นเป็นอันมาก หลังจากไฮเซนแบร์ก ได้รายงานความเห็นนั้นให้เขาฟัง ในท่ามกลางสิ่งเหล่าอื่น ดิแรก ได้พูดว่า "ผมไม่สามารถที่จะเข้าใจว่าทำไมพวกเราจึงปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปด้วยการมาถกเถียงกันเรื่องศาสนา ถ้าเราซื่อสัตย์ และ ในฐานะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ ความซื่อสัตย์ เป็นหน้าที่อันเที่ยงตรงของพวกเรา เราช่วยไม่ได้ เว้นแต่จะยอมรับว่าศาสนาใดๆ ก็ตาม ต่างก็เป็นหีบห่ออันหนึ่งของคำกล่าวที่ผิดๆ ปราศจากพื้นฐานที่เป็นจริงอันใด ความเห็นอันเยี่ยมของพระเจ้าเป็นผลผลิตของจินตนาการของมนุษย์ [...] ผมไม่ได้จำเรื่องลึกลับทางศาสนาเรื่องไหนเลย อย่างน้อยก็เพราะมันขัดแย้งกันเอง [...]" ความเห็นของไฮเซนแบร์กนั้นพอทนได้ ส่วน เพาลีได้นิ่งเงียบอยู่ หลังจากเสนอข้อสังเกตบางอย่างในตอนต้น แต่ท้ายแล้ว เมื่อเขาถูกถาม สำหรับความเห็นของเขา เขาพูดด้วยความขบขันว่า "ดี ผมควรจะพูดด้วยว่าเพื่อนของเรา ดิแรก ได้มีศาสนาแล้ว และ คำสั่งข้อแรกของศาสนานี้คือ พระเจ้าไม่มีอยู่จริง และ พอล ดิแรก เป็น ผู้พยากรณ์ของเขา"" ทุกคนต่างระเบิดออกมาเป็นเสียงหัวเราะ รวมทั้ง ดิแรก ด้วย

บรรณานุกรม

จากงานเขียนของเพาลี
  • Pauli, Wolfgang (1955). The Interpretation of Nature and the Psyche. Random House. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Pauli, Wolfgang (1981). Theory of Relativity. New York: Dover. ISBN 048664152X.
  • Pauli, Wolfgang (2001). ed. C.A. Meier (บ.ก.). Atom and Archetype, The Pauli/Jung Letters, 1932–1958. Princeton, New Jersey: Princeton University Press. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)CS1 maint: extra text: editors list (link)
งานเขียนอื่นเกี่ยวกับเพาลี
  • Enz, Charles P. (2002). No Time to be Brief, A scientific biography of Wolfgang Pauli. Oxford Univ. Press.
  • Enz, Charles P. (1995). "Rationales und Irrationales im Leben Wolfgang Paulis". ใน ed. H. Atmanspacher; และคณะ (บ.ก.). Der Pauli-Jung-Dialog. Berlin: Springer-Verlag. Explicit use of et al. in: |editor= (help)CS1 maint: extra text: editors list (link)
  • Gieser, Suzanne (2005). The Innermost Kernel. Depth Psychology and Quantum Physics. Wolfgang Pauli's Dialogue with C.G. Jung. Springer Verlag.
  • Jung, C.G. (1980). Psychology and Alchemy. Princeton, New Jersey: Princeton Univ. Press.
  • Keve, Tom (2000). Triad: the physicists, the analysts, the kabbalists. London: Rosenberger & Krausz.
  • Lindorff, David (1994). Pauli and Jung: The Meeting of Two Great Minds. Quest Books.
  • Pais, Abraham (2000). The Genius of Science. Oxford: Oxford University Press.
  • Enz, P.; von Meyenn, Karl (editors); Schlapp, Robert (translator) (1994). Wolfgang Pauli - Writings on physics and philosophy. Berlin: Springer Verlag. ISBN 978-354-05685-99.CS1 maint: extra text: authors list (link)
  • Laurikainen, K. V. (1988). Beyond the Atom - The Philosophical Thought of Wolfgang Pauli. Berlin: Springer Verlag. ISBN 0387194568.
  • Casimir, H. B. G. (1983). Haphazard Reality: Half a Century of Science. New York: Harper & Row. ISBN 0-060-15028-9.
  • Casimir, H. B. G. (1992). Het toeval van de werkelijkheid: Een halve eeuw natuurkunde. Amsterdam: Meulenhof. ISBN 9-029-09709-4.
  • Miller, Arthur I. (2009). Deciphering the Cosmic Number: The Strange Friendship of Wolfgang Pauli and Carl Jung. New York: W.W. Norton & Co. ISBN 978-039-30653-29.

อ้างอิง

  1. "Jewish Physicists". Unknown parameter |access_date= ignored (help)
  2. Jung, C.G. (1980). Psychology and Alchemy. Princeton, New Jersey: Princeton Univ. Press
  3. Pauli, W. (1954) Naturwissenschaftliche und erkenntnistheoretische Aspekte der Ideen vom Unbewussten. Dialectica 8, 283–301
  4. Atmanspacher, H. and Primas, H. (2006) Pauli’s ideas on mind and matter in the context of contemporary science. Journal of Consciousness Studies 13 (3) , 5-50.
  5. การประชุมเรื่อง Wolfgang Pauli's Philosophical Ideas and Contemporary Science จัดโดย ETH 20 - 25 พฤษภาคม 2550 บทคัดย่อของผลงานที่ถกเกี่ยวกับเรื่องนี้โดย ริชาร์ด จอร์เกนเซน (Richard Jorgensen) อยู่ที่ นี่
  6. ไม่ได้รับการยืนยัน | ต้องการการอ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ว็อล์ฟกัง เพาลี จากเว็บไซต์ทางการของรางวัลโนเบล
  • ชีวประวัติ เพาลี ที่มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูวส์ (The University of St Andrews), สก็อตแลนด์
  • ชีวประวัติว็อล์ฟกัง เพาลี จากเว็บไซต์ nobel-winners.com
  • Wolfgang Pauli, Carl Jung and Marie-Louise von Franz
  • รูปของเพาลี ที่สถาบันฟิสิกส์อเมริกัน
  • การจัดแสดงเสมือนจริงสำหรับชมชีวิตและช่วงเวลาต่างๆ ของเพาลี
  • หมายเหตุประกอบชีวประวัติสำหรับ ว็อล์ฟกัง เพาลี จาก the Alsos Digital Library for Nuclear Issues
  • ที่เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเพาลี ที่ CERN Document Server
  • การจัดแสดงเสมือนจริง ที่ ETH-Bibliothek, Zürich

อล, ฟก, เพาล, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, ระว, งส, บสนก, อล, ฟก, เพาล, อล, ฟก, แอนสท, เพาล, เยอรม, wolfgang, ernst, pauli, เมษายน, 2443, นวาคม, 2501, เป, นน,. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidrawngsbsnkb wxlfkng ephal wxlfkng aexnsth ephali eyxrmn Wolfgang Ernst Pauli 25 emsayn ph s 2443 15 thnwakhm ph s 2501 epnnkfisiksthvsdichawxxsetriy aelahnunginklumphubukebikdanfisikskhwxntm ekhaidrbrangwloneblsakhafisiks inpi ph s 2488 odyidrbesnxchuxcakxlebirt ixnsitn cakphlnganxneluxngchuxekiywkbthvsdithangdanspin odyechphaakarkhnphb hlkkarkidknkhxngephali sungthuxepnrakthansahrbkarsuksaokhrngsrangkhxngssar aelarakthankarsuksawichaekhmithngmwlwxlfkng aexnsth ephaliekid25 emsayn 2443ewiynna ckrwrrdixxsetriy hngkariesiychiwit15 thnwakhm 2501 xayu 58 pi surik switesxraelndsychati xxsetriy switesxraelnd shrthsisyekamhawithyalyludwikh emksimileliynsmichuxesiyngcakhlkkarkidknkhxngephalirangwlrangwloneblsakhafisiks 2488 1945 ehriyy lxernths 2474 1931 ehriyy mks phlngkh 2501 1958 xachiphthangwithyasastrsthabnthithanganekitthingengnokhepneheknhmebirkxithiexch surikhmichiaekn phrinstnxacarythipruksainradbpriyyaexkxaronld sxmemxrefldluksisyinradbpriyyaexkniokhlas ekhmemxr enuxha 1 prawti 2 nganwicythangwithyasastr 3 bukhlik aela eruxngelalux 4 brrnanukrm 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunprawti aekikhephaliekidinkrungewiynna epnbutrnkekhmichux wxlfkng oyesf ephali kb ebrta khamilla chuths chuxklangkhxngekhatngephuxepnekiyrtiaekphxthunhwsungepnnkfisiks chux aexnsth mkh tntrakulkhxngephaliepntrakulchawyiwthimichuxesiynginkrungprak puthwdkhxngephalikhux wulf phasekhels epnnkhnngsuxphimphechuxsayechk yiw aetbidakhxngephaliepliynsasnacakyiwipepnormnkhathxlikephiyngimnankxnaetngnganinpi ph s 2442 mardakhxngephali hrux ebrta chuths etibotkhunphayitkareliyngduaebbormnkhathxlik sungepnsasnakhxngmardakhxngethx aetbida efiyrdrich chuths epnnkekhiynchawyiw ephalietibotmainsasnaormnkhathxlik aetinphayhlngthngtwekhaaelabidamardakxxkcaksasnann 1 ephaliekhaeriyninorngeriynedxblingengxr khumenesiym inewiynna cbcakorngeriynemuxpi ph s 2461 dwykhaaennoddednphiess kxncbkarsuksaephiyngsxngeduxn ekhaidtiphimphphlnganeruxngaerkekiywkbthvsdismphththphaphthwip khxngixnsitn ekhaidekhasuksatxthimhawithyalyludwikh emksimileliyns inemuxngmiwnik odythanganphayitkarduaelkhxng xaronld sxmemxrefld ekhaidrbpriyyadusdibnthitcakmhawithyalyaehngniineduxnkrkdakhm pi ph s 2464 dwyhwkhxwithyaniphnthdanthvsdikhwxntm eruxngkarepnpracukhxngomelkulihodrecnsxmemxrefldkhxihephaliwiekhraahwicarnthvsdismphththphaph ephuxlngphimphin Encyklopaedie der mathematischen Wissenschaften saranukrmwithyasastrthibrryaydwykhnitsastr ephaliekhiynbthkhwamesrcphayinsxngeduxnhlngcakidrbpriyyaexk epnbthkhwamthimikhwamyawthung 237 hna epnphlnganthiidrbykyxngchunchmcakixnsitn aelaidrbkartiphimphepnbthkhwamediyw bthkhwamniyngkhngepnbthkhwamxangxingmatrthanekiywkbthvsdismphththphaphthwipmakrathngthungthukwnni wxlfkng ephali inwyhnum ephaliichewlahnungpithimhawithyalyekitthingengn University of Gottingen inthanaphuchwykhxng mks bxrn aelaxikhnungpithdcaknnthisthabndanfisiksthvsdi sungpccubnniklaymaepn sthabn nils bxr sahrbfisiksthvsdi Niels Bohr Institute for Theoretical Physics inkrungokhepnehekn ekhaepnphubrryaythimhawithyalyhmebirk University of Hamburg rahwangchwngpi ph s 2466 thung 2471 sunginchwngniexng ephaliidepnkliksakhyinkarphthnathvsdiihmkhxngklsastrkhwxntm hakklawihecaacngkkhux ekhaidphthnahlkkarkidknaelathvsdithiimepnsmphththphaphkhxngspin nonrelativistic theory of spin ineduxnphvsphakhm pi ph s 2472 ephaliidxxkcaksasnaormnkhathxlik aelaineduxnthnwakhmpiediywknnn ekhaidaetngngankb ekheth makhaertheth edphenxr karaetngngankhrngniimidrunrmynk ephraacbdwykarhyaranginpi 2473 dwyewlaephiyngimthungpi playpi ph s 2473 thnthihlngcakkarhyarang aelahlngcakkarnaesnxkarmixyukhxngniwtrionimnan ephalilmpwyxyanghnk ekhaippruksakbcitaephthyaelankcitbabdthichux kharl cung phusungxasyiklkbemuxngsurikhehmuxnkbephali cungiderimaeplkhwamfnthiekidkhunsa kn archetypal dreams khxngephaliodythnthi txmaephaliidklayepnhnunginnksuksathidithisudkhxngnkcitwithyainechingluk imnannk ekhaiderimtnwicarnkrabwnkarkhwamru epistemology ekiywkbthvsdikhxngcungtamhlkthangwithyasastr sungsngphlsrangkhwamkracangaecngaekaenwkhwamkhidkhxngekhaexnginphayhlng odyechphaaaenwkhidxnepnhlkkarkhxngprasbkarnehtukarnsxn synchronicity bthsnthnaekiywkberuxngniswnmakbnthukexaiwincdhmayrahwangephalikbcung pccubnidrbkartiphimphepnhnngsux chux Atom and Archetype xatxmaelabribththiekidsa swnkarwiekhraahkhwamfntang khxngephalixyangthwnthikhxngcung makkwa 400 raykaridbnthukepnexksarinchux Psychology and Alchemy citwithyakbkarelnaeraeprthatu 2 inpi ph s 2471 ekhaidrbkaraetngtngihepnsastracarythangfisiksthvsdithi xithiexch surikh sthabnethkhonolyishphnthrthswisaehngsurikh praethsswitesxraelnd thisungekhaidsrangkhwamkawhnathangwithyasastrxnsakhymakmay ekhaidrbtaaehnngsastracaryeyuxnthimhawithyalymichiaekn inpi ph s 2474 aelathisthabnsahrbkarsuksakawhna the Institute for Advanced Study mhawithyalyphrinstn inpi ph s 2478 ekhaidrbehriyylxernthsinpi ph s 2474 ephaliaetngngankbfransiskha ebxrthaerm inpi ph s 2477 karaetngngankhrngniyunyawipcnthungwarasudthaykhxngchiwitekha aetthngsxngimmibutrthidarwmknkarphnwkyudkhrxngdinaednkhxngxxsetriy ekharwmkb eyxrmn inpi 2481 idthaih ephali epnphlemuxngkhxng eyxrmn sungklayepnkhwamyaklabak emuxsngkhramolkkhrngthisxngidprathukhun inpi ph s 2482 ephaliidyayipxyuthi shrthxemrikainpi 2483 thisungekhaidepnsastracarythangdanfisiksthvsdi ihkb prinstn ekhaidaeplngsychatiepnxemrikn inpi ph s 2489 hlngcaksngkhramcblng kxnthica klbipxyuthi esrikh sungepnthithiekhaidphankxyuodymakkxnekhaesiychiwitinpi ph s 2488 ekhaidrbrangwloneblsakhafisiks sahrbkarkhnphbhlkkarkidkn sungthukeriykidxikxyangwa hlkkhxngephali sungphuesnxchuxihrbrangwlkkhuxixnsitninpi ph s 2501 ephaliidrb ehriyy maks phlangkh inpiediywknnnexng ekhaidpwydwyorkhmaerngintb emux charls exns phuchwykhnsudthaykhxngekha idekhaeyiymekhathi orngphyabal rxthekhrxus Rotkreuz hospital inemuxngesrikh ephaliidthamekhawa khunehnhmayelkhkhxnghxnghruxepla mnkhuxhmayelkh 137 tlxdchiwitkhxngekha ephali idichewlaephuxtxbkhathamthiwa thaim khakhngtwokhrngsranglaexiyd fine structure constant sungepn khakhngtwphunthanthiimmimiti thungidmikhaekuxbcaethakb 1 137 ephaliesiychiwitinhxngnn inwnthi 15 thnwakhm ph s 2501nganwicythangwithyasastr aekikhephaliidmiswnrwminkarphthnathisakhymakmayinwichachiphkhxngekhainthanankfisiks hlk aelw kkhux karphthnainwicha klsastrkhwxntm ekhatiphimphphlngannxymak ekhachxbthicaekhiyntxbotkbephuxn khxngekhamakkwa ephuxn khxngekha xyangechn bxr aela ihesnaebrk sungepnphuthiekhamikhwamsnithsnm khwamkhidihm aela phlngan hlay xyangkhxngekha imekhythuktiphimph aela idpraktxyuincdhmaykhxngekhaethann sungbxykhrngthicdhmayehlanncathukphimphsaaelaaeckcaywnewiynxyuinhmuphuthiidrbcdhmaykhxngekha epnthiaecmchdwaephaliimidtrahnkinkarthingankhxngekhaimidrbkarxangxing khanglangniepnphlngansakhyhlk thiekhaidrbkarxangxingthung ph s 2467 ephaliidesnx xngsakhwamxisrathangkhwxntm quantum degree of freedom ihmxnhnung hruxthieriykwa hmayelkhkhwxntm sungidaekpyhakarimlngrxyknrahwang aethbkhwamthicaephaakhxngomelkul molecular spectra thisngektid kbthvsdiklsastrkhwxntmthikalngidrbkarphthna ekhaidsranghlkkarkidknkhxngephalikhun bangthinixaccaepnnganthisakhythisudkhxngekha enuxhakhxngngannimiickhwamwa xielktrxnsxngtwid thimi sthanathangkhwxntm quantum state ediywkn imsamarthxyurwmknid hnungpihlngcaknn aenwkhidihmekiywkbspinidthuxkaenidkhunody ralf khrxnik xuelnebkh aela ekadsmith ephuxrabuxngsakhwamxisrathangkhwxntmniinthanaepnspinkhxngxielktrxn ph s 2469 imnannkhlngcakthiihesnaebrkidtiphimphthvsdiemtrikskhxngklsastrkhwxntmsmyihm ephaliidichmninkarsrangsutrthithanay esnkhwamthicaephaakhxngxatxmkhxngihodrecn thiidrbkarsngektiw phlnganchinniepnswnsakhyinkarkhumkhrxngkhwamnaechuxthuxkhxngthvsdikhxngihesnaebrk ph s 2470 ekhaidesnx emthriksephali ephuxichepnthanhlkkhxngtwkrathathangspin sungepnkaraekpyhathvsdithiimepnsmphththphaphkhxngspin nonrelativistic theory of spin nganchinnibangkhrngidthukklawthungwamixiththiphltx diaerk inkarkhnphbsmkardiaerk sahrbxielktrxnthiepnsmphththphaph aemwadiaerkcaklawwaekhakhidkhnemtriksediywknnidwytwekhaexng odythiimidrbxiththiphlthangkhwamkhidcakephaliely diaerkidkhidkhnemtriks thikhlay kn aetihykwa sahrbichinkaraekpyhaspinaebbefxrmixxn fermionic spin thiepnsmphththphaph ph s 2473 ephali idphicarnapyha karslayihxnuphakhbita beta decay incdhmaykhxngwnthi 4 thnwakhm erimdwypraoykh suphaphstri aela suphaphburus aehngkaraephrngsi thirk sngihkbphurb echn lis imthenxr ekhaidesnxkarmixyukhxngxnuphakhthiepnklangthangiffathiimekhythuksngektidmakxn nbthung n ewlathiekhaekhiyncdhmay dwymwlthinxynid imekinrxyla 1 khxngmwloprtxn ephuxthicaxthibaykhwamthicaephaatxenuxngkhxngkarslayihxnuphakhbita inpi ph s 2477 aefrmi idrwmexaxnuphakhnniwinthvsdikarslayihxnuphakhbitakhxngekha efxrmieriykxnuphakhnnwa niwtrion inpi ph s 2502 niwtrionidthuksngektidepnkhrngaerkinechingkarthdlxng ph s 2483 ekhaidphisucn thvsdibthspinechingsthiti spin statistics theorem sungepnphlmacak thvsdisnamkhwxntm quantum field theory thisakhyyingywd thvsdinimiickhwamwa xnuphakhsungmispinkhrunghnungkhxngcanwnetm epnxnuphakhefxrmixxn inkhnathixnuphakhthimispinepncanwnetm epnxnuphakhobsxnephaliidihkhawicarnsa hlaykhrng sahrbkarwiekhraahsmyihmkhxngchiwwithyaechingwiwthnakar 3 4 aela phusungsnbsnunekhahlaykhnidchiipyng karsubthxdthang exphiecnentiks epigenetic inheritance sungsnbsnunkhxotaeyngkhxngekha 5 bukhlik aela eruxngelalux aekikhpraktkarnephali idrbkartngchux damkhwamsamarthxnaeplkprahladkhxngekhathisamarththaxupkrnkarthdlxngphngephiyngaekhekhaxyuiklethann twkhxngephaliexngktrahnkthungeruxngelaluxeruxngni aela yindiebikban thiemuxihrktamthipraktkarnnibngekidkhuninthangfisiksaelw ephalithuxidwaepnnkyudkhwamsmburnaebbthiodngdng khwampraphvtiniimidephiyngaekhkhrxbkhlumngankhxngekhaethann aetyngkhyaytwipsungankhxngephuxnrwmngandwy dwyehtuni ekhacungklayepnthiruckphayinchumchnfisiksinthana khwamtuntwkhxngfisiks nktietiynsahrbphuthiephuxnrwmngankhxngekhatxngidrbphidchxbdwy ekhaxaccawicarnxyangesiy hay inkarkhbilthvsdiid ktamthiekhaphbwaimsmburn aela bxykhrngthiprakaswa mn ganz falsch hrux phidxyangsmburnxyangirkdi niimidepnkarwicarnthielwraythisudkhxngekha ekhaekbmniwsahrb thvsdi hrux withyaniphnth thithuknaesnxxyangimaecmchdinthanathiwamnimsamarththdsxb hrux imsamarthpraeminduid aela dngnnimkhwrcaxasyxyuphayinxanackrkhxngwithyasastr aemwacanaesnxinthanxngnn singehlannaeyyingkwaphidesiyxik ephraa phwkmnimsamarthcathukphisucnidwaphid khaphudpraoykhhnungthimichuxesiyng sungekhaphudtxphlnganchinhnungthiimkracangchdechnnn khux mnimaemaetcaphid ehtukarnhnungthiidrbkarraynganwaidekhyekidkhun 6 khux ekidkb phxl exhernefsth nkfisikschnnainkhnann phusungaesdng khaeluxngluxkhwamyos khxng ephalini ekhathngsxngidphbknepnkhrngaerkinkarprachumkhrnghnung aemwa exhernefsth caimekhyphb ephali makxn aetekhakmikhwamkhunekhykbngankhxngephali aela khxnkhangthicaprathbickbmn hlngcakephiyngimkinathikhxngkarsnthna exhernefsth idklawkhunwa phmkhidwaphmchxbngankhxngkhunmakkwatwkhunna sung ephali ktxbklbwa phmkhidwaphmchxbkhunmakkwangankhxngkhun thngsxngidklayepnephuxnthiditxkntngaetnnmaeruxngtlkkhbkhnthiepnthiruckkndixnhnunginchumchnfisiksdaeninipxyangni hlngcakkartaykhxngekha ephali idrbxnuyatihekhaipkhuykbphraecaid ephalithamphraecawa thaim khakhngtwkhxngokhrngsranglaexiydcungmikha 1 137 036 phraecaphykhna aelwipthikradanda aela erimthicaekhiynsmkardwykhwamrwderwpansayfapha ephaliidduekhaaelathubotadwykhwamphxicxyangying aet imnannkiderimsayhwxyangaerng Das ist ganz falsch mnphidxyangsmburn phaphxyanghnungthiducaxbxunkwamacakeruxngkhanglangnithipraktinbthkhwamekiywkb diaerk aewrenxr ihesnaebrk in Physics and Beyond pi ph s 2514 caidthungkarsnthnaxyangchnthmitrxnhnungrahwangphuekharwmprachumhnum thi karprachum oslewy pi ph s 2470 ekiywkb thsnkhtikhxngixsitn aela phlangkh ineruxngsasna wxlfkng ephali ihesnaebrk aela diaerk idmiswnrwminkarsnthnadwy khwamehninswnkhxng diaerk nnepnkarwicarnthi khmkrib aela chdecn ekiywkbkarbngkhbkhwbkhumsasnainthangkaremuxng bxhr idchunchminkhwamchdecnnnepnxnmak hlngcakihesnaebrk idrayngankhwamehnnnihekhafng inthamklangsingehlaxun diaerk idphudwa phmimsamarththicaekhaicwathaimphwkeracungplxyewlaihlwngelyipdwykarmathkethiyngkneruxngsasna thaerasuxsty aela inthanathiepnnkwithyasastr khwamsuxsty epnhnathixnethiyngtrngkhxngphwkera erachwyimid ewnaetcayxmrbwasasnaid ktam tangkepnhibhxxnhnungkhxngkhaklawthiphid prascakphunthanthiepncringxnid khwamehnxneyiymkhxngphraecaepnphlphlitkhxngcintnakarkhxngmnusy phmimidcaeruxngluklbthangsasnaeruxngihnely xyangnxykephraamnkhdaeyngknexng khwamehnkhxngihesnaebrknnphxthnid swn ephaliidningengiybxyu hlngcakesnxkhxsngektbangxyangintxntn aetthayaelw emuxekhathuktham sahrbkhwamehnkhxngekha ekhaphuddwykhwamkhbkhnwa di phmkhwrcaphuddwywaephuxnkhxngera diaerk idmisasnaaelw aela khasngkhxaerkkhxngsasnanikhux phraecaimmixyucring aela phxl diaerk epn phuphyakrnkhxngekha thukkhntangraebidxxkmaepnesiynghweraa rwmthng diaerk dwybrrnanukrm aekikhcaknganekhiynkhxngephaliPauli Wolfgang 1955 The Interpretation of Nature and the Psyche Random House Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Pauli Wolfgang 1981 Theory of Relativity New York Dover ISBN 048664152X Pauli Wolfgang 2001 ed C A Meier b k Atom and Archetype The Pauli Jung Letters 1932 1958 Princeton New Jersey Princeton University Press Unknown parameter coauthors ignored author suggested help CS1 maint extra text editors list link nganekhiynxunekiywkbephaliEnz Charles P 2002 No Time to be Brief A scientific biography of Wolfgang Pauli Oxford Univ Press Enz Charles P 1995 Rationales und Irrationales im Leben Wolfgang Paulis in ed H Atmanspacher aelakhna b k Der Pauli Jung Dialog Berlin Springer Verlag Explicit use of et al in editor help CS1 maint extra text editors list link Gieser Suzanne 2005 The Innermost Kernel Depth Psychology and Quantum Physics Wolfgang Pauli s Dialogue with C G Jung Springer Verlag Jung C G 1980 Psychology and Alchemy Princeton New Jersey Princeton Univ Press Keve Tom 2000 Triad the physicists the analysts the kabbalists London Rosenberger amp Krausz Lindorff David 1994 Pauli and Jung The Meeting of Two Great Minds Quest Books Pais Abraham 2000 The Genius of Science Oxford Oxford University Press Enz P von Meyenn Karl editors Schlapp Robert translator 1994 Wolfgang Pauli Writings on physics and philosophy Berlin Springer Verlag ISBN 978 354 05685 99 CS1 maint extra text authors list link Laurikainen K V 1988 Beyond the Atom The Philosophical Thought of Wolfgang Pauli Berlin Springer Verlag ISBN 0387194568 Casimir H B G 1983 Haphazard Reality Half a Century of Science New York Harper amp Row ISBN 0 060 15028 9 Casimir H B G 1992 Het toeval van de werkelijkheid Een halve eeuw natuurkunde Amsterdam Meulenhof ISBN 9 029 09709 4 Miller Arthur I 2009 Deciphering the Cosmic Number The Strange Friendship of Wolfgang Pauli and Carl Jung New York W W Norton amp Co ISBN 978 039 30653 29 xangxing aekikh Jewish Physicists Unknown parameter access date ignored help Jung C G 1980 Psychology and Alchemy Princeton New Jersey Princeton Univ Press Pauli W 1954 Naturwissenschaftliche und erkenntnistheoretische Aspekte der Ideen vom Unbewussten Dialectica 8 283 301 Atmanspacher H and Primas H 2006 Pauli s ideas on mind and matter in the context of contemporary science Journal of Consciousness Studies 13 3 5 50 karprachumeruxng Wolfgang Pauli s Philosophical Ideas and Contemporary Science cdody ETH 20 25 phvsphakhm 2550 bthkhdyxkhxngphlnganthithkekiywkberuxngniody richard cxreknesn Richard Jorgensen xyuthi ni imidrbkaryunyn txngkarkarxangxingaehlngkhxmulxun aekikh wikikhakhmmikhakhmekiywkb wxlfkng ephali khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb wxlfkng ephaliwxlfkng ephali cakewbistthangkarkhxngrangwlonebl chiwprawti ephali thimhawithyalyesntaexndruws The University of St Andrews skxtaelnd chiwprawtiwxlfkng ephali cakewbist nobel winners com Wolfgang Pauli Carl Jung and Marie Louise von Franz rupkhxngephali thisthabnfisiksxemrikn karcdaesdngesmuxncringsahrbchmchiwitaelachwngewlatang khxngephali hmayehtuprakxbchiwprawtisahrb wxlfkng ephali cak the Alsos Digital Library for Nuclear Issues thiekbrwbrwmkhxmulekiywkbephali thi CERN Document Server karcdaesdngesmuxncring thi ETH Bibliothek Zurichekhathungcak https th wikipedia org w index php title wxlfkng ephali amp oldid 8263380, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม