fbpx
วิกิพีเดีย

นิวทริโน

นิวทริโน (อังกฤษ: Neutrino) เป็นอนุภาคมูลฐาน ที่เป็นกลางทางไฟฟ้า และมีค่าสปิน (ฟิสิกส์)เท่ากับครึ่งจำนวนเต็ม นิวทริโน (ภาษาอิตาลีหมายถึง "สิ่งเป็นกลางตัวน้อย") ใช้สัญลักษณ์แทนด้วยอักษรกรีกว่า (นิว) มวลของนิวทริโนมีขนาดเล็กมากเมื่อเปรียบเทียบกับอนุภาคย่อยอื่นๆ และเป็นอนุภาคเพียงชนิดเดียวที่รู้จักในขณะนี้ที่มีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นสสารมืด โดยเฉพาะอย่างยิ่งสสารมืดร้อน

นิวทริโน/ปฏินิวทริโน
การใช้ห้องฟองไฮโดรเจน (อังกฤษ: hydrogen bubble chamber) ตรวจจับนิวทริโนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 1970 ที่ห้องทดลองแห่งชาติที่ Argonne นิวทริโนเข้าชนโปรตอนในอะตอมของไฮโดรเจน การปะทะกันเกิดขึ้นที่จุดที่เห็นได้เป็นสามรอยกระจายออกมาทางด้านขวาของภาพ
ส่วนประกอบอนุภาคมูลฐาน
สถิติ (อนุภาค)Fermionic
ชั่วรุ่นที่ 1, ที่ 2 และ ที่ 3
อันตรกิริยาพื้นฐานอันตรกิริยาอย่างอ่อน และ แรงโน้มถ่วง
สัญญลักษณ์Ve, Vμ, VT, Ve, Vμ, VT
ปฏิยานุภาคปฏินิวทริโนมีความเป็นไปได้ที่จะเหมือนนิวทริโน (ดู Majorana fermion).
ทฤษฎีโดยVe (Electron neutrino): Wolfgang Pauli (1930)
Vμ (Muon neutrino): ปลายปี 1940s VT (Tau neutrino): กลางปี 1970s
ค้นพบโดยVe: Clyde Cowan, Frederick Reines (1956)
Vμ: Leon Lederman, Melvin Schwartz และ Jack Steinberger (1962)
VT: DONUT collaboration (2000)
จำนวนชนิด3 ชนิด – อิเล็กตรอนนิวทริโน, มิวออนนิวทริโน และเทานิวทริโน
มวลน้อย, แต่ไม่เป็นศูนย์
ประจุไฟฟ้า0 e
สปิน1/2
Weak hypercharge−1
BL−1
X−3

นิวทริโนเป็นเลปตอน กลุ่มเดียวกับอิเล็กตรอน มิวออน และเทา (อนุภาค) แต่ไม่มีประจุไฟฟ้า แบ่งเป็น 3 ชนิด (หรือ flavour) ได้แก่ อิเล็กตรอนนิวทริโน (Ve) มิวออนนิวทริโน (Vμ) และเทานิวทริโน (VT) แต่ละเฟลเวอร์มีคู่ปฏิปักษ์ (ปฏิยานุภาค) ของมันเรียกว่า "ปฏินิวทริโน" ซึ่งไม่มีประจุไฟฟ้าและมีสปินเป็นครึ่งเช่นกัน นิวทริโนถูกสร้างขึ้นในวิธีที่อนุรักษ์ เลขเลปตอน นั่นคือ เมื่อมี อิเล็กตรอนนิวทริโน ถูกสร้างขึ้น หนึ่งตัว จะมี โพซิตรอน (ปฏิอิเล็กตรอน) หนึ่งตัวถูกสร้างขึ้นด้วย และเมื่อมี อิเล็กตรอนปฏินิวทริโนหนึ่งตัวถูกสร้างขึ้น ก็จะมีอิเล็กตรอนหนึ่งตัวถูกสร้างขึ้นเช่นกัน

นิวทริโนไม่มีประจุไฟฟ้า จึงไม่ถูกกระทบโดยแรงแม่เหล็กไฟฟ้าที่จะกระทำต่อทุกอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า และเนื่องจากมันเป็นเลปตอน จึงไม่ถูกกระทบโดยอันตรกิริยาอย่างเข้มที่จะกระทำต่อทุกอนุภาคที่ประกอบเป็นนิวเคลียสของอะตอม นิวทริโนจึงถูกกระทบโดย อันตรกิริยาอย่างอ่อน และ แรงโน้มถ่วง เท่านั้น แรงอย่างอ่อนเป็นปฏิสัมพันธ์ที่มีระยะทำการสั้นมาก และแรงโน้มถ่วงก็อ่อนแออย่างสุดขั้วในระยะทางระดับอนุภาค ดังนั้นนิวทริโนโดยทั่วไปจึงสามารถเคลื่อนผ่านสสารทั่วไปได้โดยไม่ถูกขวางกั้นและไม่สามารถตรวจจับได้

นิวทริโนสามารถสร้างขึ้นได้ในหลายวิธี รวมทั้งในหลายชนิดที่แน่นอนของการสลายให้กัมมันตรังสี, ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ เช่นพวกที่เกิดขึ้นในดวงอาทิตย์, ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, เมื่อรังสีคอสมิกชนกับอะตอมและในซูเปอร์โนวา ส่วนใหญ่ของนิวทริโนในบริเวณใกล้โลกเกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในดวงอาทิตย์ ในความเป็นจริง นิวทรืโนจากดวงอาทิตย์ประมาณ 65 พันล้านตัว (6.5×1010) ต่อวินาทีเคลื่อนที่ผ่านทุก ๆ ตารางเซนติเมตรที่ตั้งฉากกับทิศทางของดวงอาทิตย์ในภูมิภาคของโลก

นิวทริโนมีการ แกว่ง (อังกฤษ: oscillate) ไปมาระหว่างฟเลเวอร์ที่แตกต่างกันเมื่อมีการเคลื่อนที่ นั่นคิอ อิเล็กตรอนนิวทริโนตัวหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นในปฏิกิริยาการสลายให้อนุภาคบีตา อาจกลายเป็นมิวออนนิวทริโนหรือเทานิวทริโนหนึ่งตัวเมื่อมาถึงเครื่องตรวจจับ ซึ่งนิวทริโนแต่ละชนิดจะมีมวลไม่เท่ากัน ถึงแม้ว่ามวลเหล่านี้มีขนาดที่เล็กมาก จากการวัดทางจักรวาลวิทยา ได้มีการคำนวณว่าผลรวมของมวลนิวทริโนสามตัวน้อยกว่าหนึ่งในล้านส่วนของมวลอิเล็กตรอน


ประวัติ

ข้อเสนอของเพาลี

นิวทริโน ถูกตั้งสมมติฐานครั้งแรกโดย โวล์ฟกัง เพาลี (Wolfgang Pauli) ในปี 1930 เพื่ออธิบาย การสลายให้อนุภาคบีตา ตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน, โมเมนตัม, และโมเมนตัมเชิงมุม (สปิน) ในทางตรงกันข้ามกับ นีลส์ บอร์ ผู้เสนอเวอร์ชันทางสถิติของกฎการอนุรักษ์ที่จะอธิบายถึงปรากฏการณ์ เพาลีตั้งสมมติฐานถึงอนุภาคที่ไม่สามารถตรวจพบได้และเรียกมันว่า "นิวตรอน" ซึ่งเป็นผลิตผลจากการสลายให้อนุภาคอัลฟาและบีตา อย่างไรก็ตาม เพาลี ไม่ได้เผยแพร่สมมุติฐานและชื่อนี้

      +   +  e

ในปี 1932 เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้ประกาศการค้นพบอนุภาคนิวเคลียร์ชนิดใหม่ที่มีมวลมาก และตั้งชื่อว่า นิวตรอน ซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน ต่อมา เอนรีโก แฟร์มี ผู้พัฒนาทฤษฎีของการสลายให้อนุภาคบีตา เป็นผู้บัญญัติศัพท์คำว่า นิวทริโน (neutrino) ให้กับอนุภาคตามสมมุติฐานของเพาลี มีความหมายว่าอนุภาคที่เป็นกลางคือไม่มีประจุไฟฟ้า

หมายเหตุ

  1. More specifically, the electron neutrino.
  2. Niels Bohr was notably opposed to this interpretation of beta decay and was ready to accept that energy, momentum and angular momentum were not conserved quantities.

อ้างอิง

  1. "Neutrino". Glossary for the Research Perspectives of the Max Planck Society. Max Planck Gesellschaft. สืบค้นเมื่อ 2012-03-27.
  2. Dodelson, Scott; Widrow, Lawrence M. (1994). "Sterile neutrinos as dark matter". 72 (17). Cite journal requires |journal= (help)
  3. Bahcall, John N.; Serenelli, Aldo M.; Basu, Sarbani (2005). "New Solar Opacities, Abundances, Helioseismology, and Neutrino Fluxes". The Astrophysical Journal. 621 (1): L85–8. arXiv:astro-ph/0412440. Bibcode:2005ApJ...621L..85B. doi:10.1086/428929.
  4. Olive, K. A. "Sum of Neutrino Masses" (PDF). Chinese Physics C.
  5. The idea of the neutrino Laurie M Brown Physics Today September 1978 pp 23–28
  6. Improved understanding between 1930 and 1932 led Viktor Ambartsumian and Dmitri Ivanenko to propose the existence of the more massive neutron as it is now known, subsequently demonstrated by James Chadwick in 1932. These events necessitated renaming Pauli's less massive, momentum-conserving particle. Enrico Fermi coined "neutrino" in 1933 to distinguish between the neutron and the much lighter neutrino. K. Riesselmann (2007). "Logbook: Neutrino Invention". Symmetry Magazine. 4 (2).

แหล่งข้อมูลอื่น

  • NEUTRINO UNBOUND: On-line review and e-archive on Neutrino Physics and Astrophysics
  • Nova: The Ghost Particle: Documentary on US public television from WGBH

วทร, โน, งกฤษ, neutrino, เป, นอน, ภาคม, ลฐาน, เป, นกลางทางไฟฟ, และม, าสป, กส, เท, าก, บคร, งจำนวนเต, ภาษาอ, ตาล, หมายถ, งเป, นกลางต, วน, อย, ใช, ญล, กษณ, แทนด, วยอ, กษรกร, กว, displaystyle, มวลของม, ขนาดเล, กมากเม, อเปร, ยบเท, ยบก, บอน, ภาคย, อยอ, นๆ, และเป, น. niwthrion xngkvs Neutrino epnxnuphakhmulthan thiepnklangthangiffa 1 aelamikhaspin fisiks ethakbkhrungcanwnetm niwthrion phasaxitalihmaythung singepnklangtwnxy ichsylksnaethndwyxksrkrikwa n displaystyle nu niw mwlkhxngniwthrionmikhnadelkmakemuxepriybethiybkbxnuphakhyxyxun aelaepnxnuphakhephiyngchnidediywthiruckinkhnanithimikhwamepnipidwacaepnssarmud odyechphaaxyangyingssarmudrxn 2 niwthrion ptiniwthrionkarichhxngfxngihodrecn xngkvs hydrogen bubble chamber trwccbniwthrionepnkhrngaerkemuxwnthi 13 phvscikayn 1970 thihxngthdlxngaehngchatithi Argonne niwthrionekhachnoprtxninxatxmkhxngihodrecn karpathaknekidkhunthicudthiehnidepnsamrxykracayxxkmathangdankhwakhxngphaphswnprakxbxnuphakhmulthansthiti xnuphakh Fermionicchwrunthi 1 thi 2 aela thi 3xntrkiriyaphunthanxntrkiriyaxyangxxn aela aerngonmthwngsyylksnVe Vm VT V e V m V Tptiyanuphakhptiniwthrionmikhwamepnipidthicaehmuxnniwthrion du Majorana fermion thvsdiodyVe Electron neutrino Wolfgang Pauli 1930 Vm Muon neutrino playpi 1940s VT Tau neutrino klangpi 1970skhnphbodyVe Clyde Cowan Frederick Reines 1956 Vm Leon Lederman Melvin Schwartz aela Jack Steinberger 1962 VT DONUT collaboration 2000 canwnchnid3 chnid xielktrxnniwthrion miwxxnniwthrion aelaethaniwthrionmwlnxy aetimepnsunypracuiffa0 espin1 2Weak hypercharge 1B L 1X 3niwthrionepnelptxn klumediywkbxielktrxn miwxxn aelaetha xnuphakh aetimmipracuiffa aebngepn 3 chnid hrux flavour idaek xielktrxnniwthrion Ve miwxxnniwthrion Vm aelaethaniwthrion VT aetlaeflewxrmikhuptipks ptiyanuphakh khxngmneriykwa ptiniwthrion sungimmipracuiffaaelamispinepnkhrungechnkn niwthrionthuksrangkhuninwithithixnurks elkhelptxn nnkhux emuxmi xielktrxnniwthrion thuksrangkhun hnungtw cami ophsitrxn ptixielktrxn hnungtwthuksrangkhundwy aelaemuxmi xielktrxnptiniwthrionhnungtwthuksrangkhun kcamixielktrxnhnungtwthuksrangkhunechnknniwthrionimmipracuiffa cungimthukkrathbodyaerngaemehlkiffathicakrathatxthukxnuphakhthimipracuiffa aelaenuxngcakmnepnelptxn cungimthukkrathbodyxntrkiriyaxyangekhmthicakrathatxthukxnuphakhthiprakxbepnniwekhliyskhxngxatxm niwthrioncungthukkrathbody xntrkiriyaxyangxxn aela aerngonmthwng ethann aerngxyangxxnepnptismphnththimirayathakarsnmak aelaaerngonmthwngkxxnaexxyangsudkhwinrayathangradbxnuphakh dngnnniwthrionodythwipcungsamarthekhluxnphanssarthwipidodyimthukkhwangknaelaimsamarthtrwccbidniwthrionsamarthsrangkhunidinhlaywithi rwmthnginhlaychnidthiaennxnkhxngkarslayihkmmntrngsi inptikiriyaniwekhliyr echnphwkthiekidkhunindwngxathity inekhruxngptikrnniwekhliyr emuxrngsikhxsmikchnkbxatxmaelainsuepxronwa swnihykhxngniwthrioninbriewniklolkekidcakptikiriyaniwekhliyrindwngxathity inkhwamepncring niwthruoncakdwngxathitypraman 65 phnlantw 6 5 1010 txwinathiekhluxnthiphanthuk tarangesntiemtrthitngchakkbthisthangkhxngdwngxathityinphumiphakhkhxngolk 3 niwthrionmikar aekwng xngkvs oscillate ipmarahwangfelewxrthiaetktangknemuxmikarekhluxnthi nnkhix xielktrxnniwthriontwhnungthithuksrangkhuninptikiriyakarslayihxnuphakhbita xacklayepnmiwxxnniwthrionhruxethaniwthrionhnungtwemuxmathungekhruxngtrwccb sungniwthrionaetlachnidcamimwlimethakn thungaemwamwlehlanimikhnadthielkmak cakkarwdthangckrwalwithya idmikarkhanwnwaphlrwmkhxngmwlniwthrionsamtwnxykwahnunginlanswnkhxngmwlxielktrxn 4 enuxha 1 prawti 1 1 khxesnxkhxngephali 2 hmayehtu 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunprawti aekikhkhxesnxkhxngephali aekikh niwthrion nb 1 thuktngsmmtithankhrngaerkody owlfkng ephali Wolfgang Pauli inpi 1930 ephuxxthibay karslayihxnuphakhbita tamkdkarxnurksphlngngan omemntm aelaomemntmechingmum spin inthangtrngknkhamkb nils bxr phuesnxewxrchnthangsthitikhxngkdkarxnurksthicaxthibaythungpraktkarn ephalitngsmmtithanthungxnuphakhthiimsamarthtrwcphbidaelaeriykmnwa niwtrxn sungepnphlitphlcakkarslayihxnuphakhxlfaaelabita 5 6 nb 2 xyangirktam ephali imidephyaephrsmmutithanaelachuxni n 0 displaystyle n 0 displaystyle longrightarrow p displaystyle p e displaystyle e v displaystyle bar v einpi 1932 ecms aechdwik James Chadwick idprakaskarkhnphbxnuphakhniwekhliyrchnidihmthimimwlmak aelatngchuxwa niwtrxn sungichmacnthungpccubn txma exnriok aefrmi phuphthnathvsdikhxngkarslayihxnuphakhbita epnphubyytisphthkhawa niwthrion neutrino ihkbxnuphakhtamsmmutithankhxngephali mikhwamhmaywaxnuphakhthiepnklangkhuximmipracuiffahmayehtu aekikh More specifically the electron neutrino Niels Bohr was notably opposed to this interpretation of beta decay and was ready to accept that energy momentum and angular momentum were not conserved quantities xangxing aekikh Neutrino Glossary for the Research Perspectives of the Max Planck Society Max Planck Gesellschaft subkhnemux 2012 03 27 Dodelson Scott Widrow Lawrence M 1994 Sterile neutrinos as dark matter 72 17 Cite journal requires journal help Bahcall John N Serenelli Aldo M Basu Sarbani 2005 New Solar Opacities Abundances Helioseismology and Neutrino Fluxes The Astrophysical Journal 621 1 L85 8 arXiv astro ph 0412440 Bibcode 2005ApJ 621L 85B doi 10 1086 428929 Olive K A Sum of Neutrino Masses PDF Chinese Physics C The idea of the neutrino Laurie M Brown Physics Today September 1978 pp 23 28 Improved understanding between 1930 and 1932 led Viktor Ambartsumian and Dmitri Ivanenko to propose the existence of the more massive neutron as it is now known subsequently demonstrated by James Chadwick in 1932 These events necessitated renaming Pauli s less massive momentum conserving particle Enrico Fermi coined neutrino in 1933 to distinguish between the neutron and the much lighter neutrino K Riesselmann 2007 Logbook Neutrino Invention Symmetry Magazine 4 2 aehlngkhxmulxun aekikhNEUTRINO UNBOUND On line review and e archive on Neutrino Physics and Astrophysics Nova The Ghost Particle Documentary on US public television from WGBH bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title niwthrion amp oldid 7296620, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม