fbpx
วิกิพีเดีย

เลปตอน

เลปตอน (อังกฤษ: Lepton) เป็นอนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งที่มีสปิน (ฟิสิกส์)ครึ่งจำนวนเต็ม (สปิน 1/2) และไม่ประสพกับอันตรกิริยาอย่างเข้ม เลปตอนแบ่งออกเป็นสองชั้นหลัก ได้แก่ เลปตอนที่มีประจุไฟฟ้า (หรือที่เรียกว่า เลปตอนที่เหมือนอิเล็กตรอน) และเล็ปตอนนิวทรัล (เล็ปตอนเป็นกลาง) (หรือที่เรียกว่า นิวทรืโน) เลปตอนที่มีประจุสามารถรวมกับอนุภาคอื่นกลายเป็น อนุภาคผสมหลายอย่าง เช่นอะตอมและโพซิโทรเนียม ในขณะที่นิวทริโนยากที่จะปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ดังนั้นมันจึงยากที่จะถูกพบเห็น พวกเลปตอนที่รู้จักกันดีคือ อิเล็กตรอน

เลปตอน
เลปตอนเข้าไปเกี่ยวข้องในหลายกระบวนการ เช่น การสลายให้อนุภาคบีตา.
ส่วนประกอบอนุภาคมูลฐาน
สถิติ (อนุภาค)Fermionic
ชั่วรุ่นที่ 1, ที่ 2, ที่ 3
อันตรกิริยาพื้นฐานแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงโน้มถ่วง, อย่างอ่อน
สัญญลักษณ์l
ปฏิยานุภาคปฏิเลปตอน (l)
จำนวนชนิด6 (อิเล็กตรอน, อิเล็กตรอนนิวทริโน, มิวออน, มิวออนนิวทริโน, เทา (อนุภาค), เทานิวทริโน)
ประจุไฟฟ้า+1 e, 0 e, −1 e
ประจุสีไม่มี
สปิน1/2
อนุภาคต่างๆ ใน แบบจำลองมาตรฐาน

มีเลปตอนอยู่ทั้งสิ้น 6 ชนิด (flavour) แยกเป็น 3 ชั่วรุ่น (อังกฤษ: generation) ชั่วรุ่นที่หนึ่งเรียกว่า เลปตอนอิเล็กตรอน ประกอบด้วยอิเล็กตรอน (e-) และอิเล็กตรอนนิวตริโน (Ve) ชั่วรุ่นที่สองคือ เลปตอนมิวออน ประกอบด้วย มิวออน (μ-) และ มิวออนนิวตริโน (Vμ) ชั่วรุ่นที่สามคือ เลปตอนเทา ประกอบด้วย เทา (อนุภาค) (T-) และ เทานิวตริโน (VT) อิเล็กตรอนมีมวลน้อยที่สุดในหมู่เลปตอนที่มีประจุทั้งหมด มิวออนและเทาที่หนักที่สุดจะเปลี่ยนอย่างรวดเร็วไปเป็นอิเล็กตรอนผ่านทางกระบวนการของการสลายอนุภาค ซึ่งเป็นการแปลงจากสถานะมวลมากไปเป็นสถานะมวลน้อย ดังนั้นอิเล็กตรอนจึงเสถียรและเป็นเลปตอนแบบมีประจุที่พบมากที่สุดในจักรวาล ในขณะที่มิวออนและเทาสามารถถูกสร้างขึ้นมาได้เพียงแต่ในการชนกันที่พลังงานฟิสิกส์ที่สูงเท่านั้น (เช่นพวกที่เกี่ยวกับรังสีคอสมิกและพวกที่เกิดขึ้นในเครื่องเร่งอนุภาค

เลปตอนมีคุณสมบัติที่เป็นเนื้อแท้หลายอย่าง รวมทั้ง ประจุไฟฟ้า สปิน และ มวล อย่างไรก็ตาม มันแตกต่างจากควาร์ก เพราะไม่อยู่ภายใต้ อันตรกิริยาอย่างเข้ม แต่อาจอยู่ภายใต้อันตรกิริยาพื้นฐานอื่นอีกสามอย่าง ซึ่งได้แก่ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า (ไม่รวมพวกนิวทริโนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า) และ อันตรกิริยาอย่างอ่อน สำหรับทุกเฟลเวอร์ของเลปตอน พวกมันมี ปฏิยานุภาค เรียกว่า ปฏิเลปตอน ที่แตกต่างกันเฉพาะบางส่วนของคุณสมบัติ ซึ่งปฏิเลปตอนจะมี 'ขนาดเท่ากันแต่เครื่องหมายตรงข้าม' และบางทฤษฎีกล่าวว่านิวทริโนอาจเป็นตัวปฏิปักษ์ของมันเอง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีใครรู้ว่าเป็นเช่นนั้นจริงหรือไม่

เลปตอนที่มีประจุตัวแรกคือ อิเล็กตรอน ถูกตั้งทฤษฎีในกลางศตวรรษที่ 19 โดยนักวิทยาศาสตร์หลายคน และถูกค้นพบในปี 1897 โดย J. J. Thomson. เลปตอนตัวต่อมาที่ถูกค้นพบคือมิวออน โดย Carl D. Anderson ในปี 1936 ซึ่งในขณะนั้นถูกระบุว่าเป็นมีซอน การศึกษาต่อมาพบว่า มิวออนไม่มีคุณสมบัติของมีซอนอย่างที่คาดไว้ แต่ประพฤฒิตัวเหมือนอิเล็กตรอน เพียงแต่มีมวลมากกว่า ต้องใช้เวลาถึงปี 1947 เพื่อให้ได้หลักการของ "เลปตอน" ว่าเป็นครอบครัวหนึ่งของอนุภาคที่จะถูกนำเสนอ นิวทริโน และ อิเล็กตรอนนิวทริโน ถูกนำเสนอโดย Wolfgang Pauli ในปี 1930 เพื่ออธิบายลักษณะที่แน่นอนของ การสลายให้อนุภาคบีตา มันถูกสังเกตเห็นในการทดลองของ Cowan–Reines ที่ดำเนินการโดย Clyde Cowan และ Frederick Reines ในปี 1956. มิวออนนิวทริโน ถูกค้นพบในปี 1962 โดย Leon M. Lederman, Melvin Schwartz และ Jack Steinberger, และ เทา ถูกค้นพบระหว่างปี 1974 ถีงปี 1977 โดย Martin Lewis Perl และเพื่อนร่วมงานจาก Stanford Linear Accelerator Center และ Lawrence Berkeley National Laboratory. ขณะที่ เทานิวทริโน เพิ่งถูกประกาศการค้นพบ เมื่อ กรกฎาคม 2000 โดย DONUT collaboration จาก Fermilab

เลปตอนเป็นชิ้นส่วนสำคัญใน แบบจำลองมาตรฐาน อิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบของอะตอม เคียงข้างกับ โปรตอน และ นิวตรอน ขณะที่ อะตอมแปลก ซึ่งมีมิวออนและเทา แทนที่จะเป็นอิเล็กตรอน สามารถถูกสังเคราะห์ขึ้นได้ เช่นเดียวกับอนุภาค เลปตอน-ปฏิเลปตอน เช่น โพซิโทรเนียม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • The Particle Data Group who compile authoritative information on particle properties.
  • Leptons a summary of leptons from the Georgia State University.

อ้างอิง

  1. "Lepton (physics)". Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 2010-09-29.
  2. R. Nave. "Leptons". HyperPhysics. Georgia State University, Department of Physics and Astronomy. สืบค้นเมื่อ 2010-09-29.
  3. W.V. Farrar (1969). "Richard Laming and the Coal-Gas Industry, with His Views on the Structure of Matter". Annals of Science. 25 (3): 243–254. doi:10.1080/00033796900200141.
  4. T. Arabatzis (2006). Representing Electrons: A Biographical Approach to Theoretical Entities. University of Chicago Press. pp. 70–74. ISBN 0-226-02421-0.
  5. J.Z. Buchwald, A. Warwick (2001). Histories of the Electron: The Birth of Microphysics. MIT Press. pp. 195–203. ISBN 0-262-52424-4.
  6. J.J. Thomson (1897). "Cathode Rays". Philosophical Magazine. 44 (269): 293. doi:10.1080/14786449708621070.
  7. S.H. Neddermeyer, C.D. Anderson; Anderson (1937). "Note on the Nature of Cosmic-Ray Particles". Physical Review. 51 (10): 884–886. Bibcode:1937PhRv...51..884N. doi:10.1103/PhysRev.51.884.
  8. "The Reines-Cowan Experiments: Detecting the Poltergeist" (PDF). Los Alamos Science. 25: 3. 1997. สืบค้นเมื่อ 2010-02-10.
  9. F. Reines, C.L. Cowan, Jr.; Cowan (1956). "The Neutrino". Nature. 178 (4531): 446. Bibcode:1956Natur.178..446R. doi:10.1038/178446a0.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  10. G. Danby; Gaillard, J-M.; Goulianos, K.; Lederman, L.; Mistry, N.; Schwartz, M.; Steinberger, J.; และคณะ (1962). "Observation of high-energy neutrino reactions and the existence of two kinds of neutrinos". Physical Review Letters. 9: 36. Bibcode:1962PhRvL...9...36D. doi:10.1103/PhysRevLett.9.36. Explicit use of et al. in: |author= (help)
  11. M.L. Perl; Abrams, G.; Boyarski, A.; Breidenbach, M.; Briggs, D.; Bulos, F.; Chinowsky, W.; Dakin, J.; Feldman, G.; Friedberg, C.; Fryberger, D.; Goldhaber, G.; Hanson, G.; Heile, F.; Jean-Marie, B.; Kadyk, J.; Larsen, R.; Litke, A.; Lüke, D.; Lulu, B.; Lüth, V.; Lyon, D.; Morehouse, C.; Paterson, J.; Pierre, F.; Pun, T.; Rapidis, P.; Richter, B.; Sadoulet, B.; และคณะ (1975). "Evidence for Anomalous Lepton Production in ผิดพลาด สัญลักษณ์ไม่มีนิยามผิดพลาด สัญลักษณ์ไม่มีนิยาม Annihilation". Physical Review Letters. 35 (22): 1489. Bibcode:1975PhRvL..35.1489P. doi:10.1103/PhysRevLett.35.1489. Explicit use of et al. in: |author= (help)
  12. "Physicists Find First Direct Evidence for Tau Neutrino at Fermilab" (Press release). Fermilab. 20 July 2000.
  13. K. Kodama et al. (DONUT Collaboration); Kodama; Ushida; Andreopoulos; Saoulidou; Tzanakos; Yager; Baller; Boehnlein; Freeman; Lundberg; Morfin; Rameika; Yun; Song; Yoon; Chung; Berghaus; Kubantsev; Reay; Sidwell; Stanton; Yoshida; Aoki; Hara; Rhee; Ciampa; Erickson; Graham; และคณะ (2001). "Observation of tau neutrino interactions". Physics Letters B. 504 (3): 218. arXiv:hep-ex/0012035. Bibcode:2001PhLB..504..218D. doi:10.1016/S0370-2693(01)00307-0.

เลปตอน, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, lepton, เป, นอน, ภาคม, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir elptxn xngkvs Lepton epnxnuphakhmulthanchnidhnungthimispin fisiks khrungcanwnetm spin 1 2 aelaimprasphkbxntrkiriyaxyangekhm 1 elptxnaebngxxkepnsxngchnhlk idaek elptxnthimipracuiffa hruxthieriykwa elptxnthiehmuxnxielktrxn aelaelptxnniwthrl elptxnepnklang hruxthieriykwa niwthruon elptxnthimipracusamarthrwmkbxnuphakhxunklayepn xnuphakhphsmhlayxyang echnxatxmaelaophsiothreniym inkhnathiniwthrionyakthicaptismphnthkbphuxun dngnnmncungyakthicathukphbehn phwkelptxnthiruckkndikhux xielktrxnelptxnelptxnekhaipekiywkhxnginhlaykrabwnkar echn karslayihxnuphakhbita swnprakxbxnuphakhmulthansthiti xnuphakh Fermionicchwrunthi 1 thi 2 thi 3xntrkiriyaphunthanaemehlkiffa aerngonmthwng xyangxxnsyylksnlptiyanuphakhptielptxn l canwnchnid6 xielktrxn xielktrxnniwthrion miwxxn miwxxnniwthrion etha xnuphakh ethaniwthrion pracuiffa 1 e 0 e 1 epracusiimmispin1 2xnuphakhtang in aebbcalxngmatrthan mielptxnxyuthngsin 6 chnid flavour aeykepn 3 chwrun xngkvs generation 2 chwrunthihnungeriykwa elptxnxielktrxn prakxbdwyxielktrxn e aelaxielktrxnniwtrion Ve chwrunthisxngkhux elptxnmiwxxn prakxbdwy miwxxn m aela miwxxnniwtrion Vm chwrunthisamkhux elptxnetha prakxbdwy etha xnuphakh T aela ethaniwtrion VT xielktrxnmimwlnxythisudinhmuelptxnthimipracuthnghmd miwxxnaelaethathihnkthisudcaepliynxyangrwderwipepnxielktrxnphanthangkrabwnkarkhxngkarslayxnuphakh sungepnkaraeplngcaksthanamwlmakipepnsthanamwlnxy dngnnxielktrxncungesthiyraelaepnelptxnaebbmipracuthiphbmakthisudinckrwal inkhnathimiwxxnaelaethasamarththuksrangkhunmaidephiyngaetinkarchnknthiphlngnganfisiksthisungethann echnphwkthiekiywkbrngsikhxsmikaelaphwkthiekidkhuninekhruxngerngxnuphakhelptxnmikhunsmbtithiepnenuxaethhlayxyang rwmthng pracuiffa spin aela mwl xyangirktam mnaetktangcakkhwark ephraaimxyuphayit xntrkiriyaxyangekhm aetxacxyuphayitxntrkiriyaphunthanxunxiksamxyang sungidaek aerngonmthwng aerngaemehlkiffa imrwmphwkniwthrionsungepnklangthangiffa aela xntrkiriyaxyangxxn sahrbthukeflewxrkhxngelptxn phwkmnmi ptiyanuphakh eriykwa ptielptxn thiaetktangknechphaabangswnkhxngkhunsmbti sungptielptxncami khnadethaknaetekhruxnghmaytrngkham aelabangthvsdiklawwaniwthrionxacepntwptipkskhxngmnexng sungpccubnyngimmiikhrruwaepnechnnncringhruximelptxnthimipracutwaerkkhux xielktrxn thuktngthvsdiinklangstwrrsthi 19 odynkwithyasastrhlaykhn 3 4 5 aelathukkhnphbinpi 1897 ody J J Thomson 6 elptxntwtxmathithukkhnphbkhuxmiwxxn ody Carl D Anderson inpi 1936 sunginkhnannthukrabuwaepnmisxn 7 karsuksatxmaphbwa miwxxnimmikhunsmbtikhxngmisxnxyangthikhadiw aetpraphvthitwehmuxnxielktrxn ephiyngaetmimwlmakkwa txngichewlathungpi 1947 ephuxihidhlkkarkhxng elptxn waepnkhrxbkhrwhnungkhxngxnuphakhthicathuknaesnx 8 niwthrion aela xielktrxnniwthrion thuknaesnxody Wolfgang Pauli inpi 1930 ephuxxthibaylksnathiaennxnkhxng karslayihxnuphakhbita 8 mnthuksngektehninkarthdlxngkhxng Cowan Reines thidaeninkarody Clyde Cowan aela Frederick Reines inpi 1956 8 9 miwxxnniwthrion thukkhnphbinpi 1962 ody Leon M Lederman Melvin Schwartz aela Jack Steinberger 10 aela etha thukkhnphbrahwangpi 1974 thingpi 1977 ody Martin Lewis Perl aelaephuxnrwmngancak Stanford Linear Accelerator Center aela Lawrence Berkeley National Laboratory 11 khnathi ethaniwthrion ephingthukprakaskarkhnphb emux krkdakhm 2000 ody DONUT collaboration cak Fermilab 12 13 elptxnepnchinswnsakhyin aebbcalxngmatrthan xielktrxnepnxngkhprakxbkhxngxatxm ekhiyngkhangkb oprtxn aela niwtrxn khnathi xatxmaeplk sungmimiwxxnaelaetha aethnthicaepnxielktrxn samarththuksngekhraahkhunid echnediywkbxnuphakh elptxn ptielptxn echn ophsiothreniymaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb LeptonsThe Particle Data Group who compile authoritative information on particle properties Leptons a summary of leptons from the Georgia State University xangxing aekikh Lepton physics Encyclopaedia Britannica subkhnemux 2010 09 29 R Nave Leptons HyperPhysics Georgia State University Department of Physics and Astronomy subkhnemux 2010 09 29 W V Farrar 1969 Richard Laming and the Coal Gas Industry with His Views on the Structure of Matter Annals of Science 25 3 243 254 doi 10 1080 00033796900200141 T Arabatzis 2006 Representing Electrons A Biographical Approach to Theoretical Entities University of Chicago Press pp 70 74 ISBN 0 226 02421 0 J Z Buchwald A Warwick 2001 Histories of the Electron The Birth of Microphysics MIT Press pp 195 203 ISBN 0 262 52424 4 J J Thomson 1897 Cathode Rays Philosophical Magazine 44 269 293 doi 10 1080 14786449708621070 S H Neddermeyer C D Anderson Anderson 1937 Note on the Nature of Cosmic Ray Particles Physical Review 51 10 884 886 Bibcode 1937PhRv 51 884N doi 10 1103 PhysRev 51 884 8 0 8 1 8 2 The Reines Cowan Experiments Detecting the Poltergeist PDF Los Alamos Science 25 3 1997 subkhnemux 2010 02 10 F Reines C L Cowan Jr Cowan 1956 The Neutrino Nature 178 4531 446 Bibcode 1956Natur 178 446R doi 10 1038 178446a0 CS1 maint multiple names authors list link G Danby Gaillard J M Goulianos K Lederman L Mistry N Schwartz M Steinberger J aelakhna 1962 Observation of high energy neutrino reactions and the existence of two kinds of neutrinos Physical Review Letters 9 36 Bibcode 1962PhRvL 9 36D doi 10 1103 PhysRevLett 9 36 Explicit use of et al in author help M L Perl Abrams G Boyarski A Breidenbach M Briggs D Bulos F Chinowsky W Dakin J Feldman G Friedberg C Fryberger D Goldhaber G Hanson G Heile F Jean Marie B Kadyk J Larsen R Litke A Luke D Lulu B Luth V Lyon D Morehouse C Paterson J Pierre F Pun T Rapidis P Richter B Sadoulet B aelakhna 1975 Evidence for Anomalous Lepton Production in phidphlad sylksnimminiyamphidphlad sylksnimminiyam Annihilation Physical Review Letters 35 22 1489 Bibcode 1975PhRvL 35 1489P doi 10 1103 PhysRevLett 35 1489 Explicit use of et al in author help Physicists Find First Direct Evidence for Tau Neutrino at Fermilab Press release Fermilab 20 July 2000 K Kodama et al DONUT Collaboration Kodama Ushida Andreopoulos Saoulidou Tzanakos Yager Baller Boehnlein Freeman Lundberg Morfin Rameika Yun Song Yoon Chung Berghaus Kubantsev Reay Sidwell Stanton Yoshida Aoki Hara Rhee Ciampa Erickson Graham aelakhna 2001 Observation of tau neutrino interactions Physics Letters B 504 3 218 arXiv hep ex 0012035 Bibcode 2001PhLB 504 218D doi 10 1016 S0370 2693 01 00307 0 bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title elptxn amp oldid 8011749, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม