fbpx
วิกิพีเดีย

มักซ์ บอร์น

มักซ์ บอร์น (เยอรมัน: Max Born, 11 ธันวาคม ค.ศ. 1882 - 5 มกราคม ค.ศ. 1970) เป็นนักฟิสิกส์ผู้มีส่วนพัฒนาทฤษฎีด้านกลศาสตร์ควอนตัม และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1954 ร่วมกับวัลเทอร์ โบเทอจากผลงานการคิดค้นสูตรที่ใช้ในการอธิบายฟังก์ชันความน่าจะเป็นในสมการคลื่นของชเรอดิงเงอร์ ในวิชากลศาสตร์ควอนตัม

มักซ์ บอร์น
มักซ์ บอร์น (1882–1970)
เกิด11 ธันวาคม ค.ศ. 1882(1882-12-11)
เบรสเลา, จักรวรรดิเยอรมัน
เสียชีวิต5 มกราคม ค.ศ. 1970 (87 ปี)
เกิททิงเงิน, เยอรมันตะวันตก
สัญชาติเยอรมัน/อังกฤษ
พลเมืองเยอรมัน/อังกฤษ
ศิษย์เก่าUniversity of Göttingen
มีชื่อเสียงจากBorn–Haber cycle
Born rigidity
Born coordinates
Born approximation
Born probability
Born–Infeld theory
Born–Oppenheimer approximation
Born's Rule
Born–Landé equation
Born–Huang approximation
Born–von Karman boundary condition
Born equation
คู่สมรสHedwig (Hedi) Ehrenberg (m. 1913-1970; his death; 3 children)
รางวัลNobel Prize in Physics (1954)
Fellow of the Royal Society (1939)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาฟิสิกส์
สถาบันที่ทำงานUniversity of Frankfurt am Main
University of Göttingen
University of Edinburgh
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกCarl Runge
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆWoldemar Voigt
Karl Schwarzschild
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกVictor Frederick Weisskopf
J. Robert Oppenheimer
Lothar Wolfgang Nordheim
Max Delbrück
Walter Elsasser
Friedrich Hund
Pascual Jordan
Maria Goeppert-Mayer
Herbert S. Green
Cheng Kaijia
Siegfried Flügge
Edgar Krahn
Maurice Pryce
Antonio Rodríguez
Bertha Swirles
Paul Weiss
Peng Huanwu
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆEmil Wolf
ลายมือชื่อ

ประวัติ

มักซ์ บอร์นเกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1882 ในเมืองเบรสเลา จักรวรรดิเยอรมัน (ปัจจุบันคือเมืองวรอตสวัฟ ในประเทศโปแลนด์) มีความชื่นชอบในดนตรีเป็นพิเศษเหมือนกับมารดา เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียน König-Wilhelm-Gymnasium ในขณะนั้นเขามีความคิดที่จะเป็นนักมานุษยวิทยาที่เชี่ยวชาญด้านภาษาละติน กรีก และเยอรมัน แต่เขาต้องกำพร้ามารดาเมื่อเขาอายุ 4 ขวบ และในอีก 4 ต่อมา บิดาจึงได้แต่งงานกับภรรยาใหม่ สำหรับบิดาของเขาประกอบอาชีพแพทย์สาขากายวิภาคศาสตร์และมีชื่อเสียงอย่างมาก บ้านของเขาจึงมีแขกที่มีชื่อเสียงมาเยี่ยมเยือนบ่อยครั้ง เช่น Paul Ehrlich และ Albert Neisser เป็นต้น

ชีวิตนักศึกษา

เมื่อเขาอายุได้ 19 ปี ได้เข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยเบรสเลา และได้เลือกเรียนสาขาวิทยาศาสตร์ตามความต้องการของบิดา ซึ่งในขณะนั้น กูลเยลโม มาร์โกนี ได้ประดิษฐ์วิทยุเป็นผลสำเร็จ และเมื่ออาจารย์ในห้องเรียนสาธิตการส่งคลื่นวิทยุ เขามีความสนใจทางด้านฟิสิกส์ทันที หลังจากนั้นเขาได้เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก และย้ายไปมหาวิทยาลัยซูริก เพราะประเพณีการศึกษาของเยอรมันในขณะนั้นไม่ส่งเสริมให้นักศึกษาเรียนที่เดียวตลอดชีวิตนักศึกษา ที่มหาวิทยาลัยซูริกเขาได้พบครูคณิตศาสตร์ที่เขาประทับใจชื่อ Hurwitz ต่อมาเขาได้ทราบว่านักปราชญ์ทางคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียง คือ Felix Klein, ดาฟิด ฮิลแบร์ท และ Hermann Minkowski สอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน เขาจึงเดินทางไปเกิททิงเงินเพื่อศึกษากับปราชญ์ทางคณิตศาสตร์เหล่านั้นทันที

ชีวิตอาจารย์มหาวิทยาลัย

ขณะที่เขาเรียนอยู่ที่กอตทิงตันนั้น Hilbert รู้สึกประทับใจในความสามารถของเขามาก จึงให้เขาเป็นอาจารย์ผู้ช่วย โดยมอบหมายให้เขาเตรียมคำบรรยาย แต่สำหรับ Klein ไม่ชอบเขาเท่าไหร่นักเพราะเขาขาดเรียนบ่อย ในช่วงเวลานั้นเขาเริ่มสนใจการใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาทางด้านฟิสิกส์ ดังนั้นเขาจึงเลือกทำวิทยานิพนธ์ด้านทฤษฎีดาราศาสตร์กับ คาร์ล สวาซชิลด์ ในหัวข้อ "เสถียรภาพของระบบที่ยืดหยุ่น" เมื่ออายุได้ 25 ปีเขาสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับ พอล ดิแรก, แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก และ โวล์ฟกัง เอิร์นสต์ เพาลี แล้วนับว่าค่อนข้างช้า

ขณะศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยกอตทิงตัน เขาได้รู้จักและติดต่อกับ Richard Courant, Erhard Schmidt และ Constantin Caratheodory และเมื่อสำเร็จการศึกษา เขาได้เดินทางไปอังกฤษ และได้เข้าฟังบรรยายของ Joseph Larmor และ เจ. เจ. ทอมสัน เขาชอบการบรรยายของ Thomson มาก แต่สำหรับการบรรยายของ Larmor เขาไม่ค่อยชอบเพราะฟังไม่ค่อยเข้าใจ เนื่องจาก Larmor ใช้สำเนียงไอริชในการบรรยาย

ค.ศ. 1909 เขาเดินทางกลับเยอรมันและร่วมงานกับ Minkowski (เคยเป็นอาจารย์ของบอร์น) และเมื่อ Minkowski เสียชีวิต เขาจึงรับตำแหน่งอาจารย์ที่ว่างลง และในขณะนั้นเขามีเพื่อนร่วมงานที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น Hermann Weyl และ Richard Courant เป็นต้น

ร่วมวิจัยจลนศาสตร์ของผลึก และแต่งงาน

หลังจากเขาเข้ารับตำแหน่งอาจารย์แล้ว เขาเข้าร่วมวิจัยจลนศาสตร์ของผลึกกับ ฟอน คาร์มัน (Von Karman) ผลการวิจัยพบว่าโครงสร้างของผลึกเป็นตัวกำหนดคุณสมบัติของพลังงานที่ปล่อยออกมา สูตร Born - Karman ที่คนทั้งสองพบจึงสามารถทำให้นักวิทยาศาสตร์ทราบพลังงานของผลึกที่ปล่อยออกมาได้

เมื่อเขาอายุได้ 31 ปี เขาได้เข้าพิธีสมรสกับ เฮ็ดวิก เอห์เรนบูร์ก (Hedwig Ehrenburg) และอีก 1 ปีต่อมา เขาย้ายไปดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ดังนั้นเขาจึงมีโอกาสได้พบกับมักซ์ พลังค์ และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในยามว่างพวกเขาจะร่วมเล่นเปียโน และไวโอลินกัน โดยเขาทำงานอยู่ที่มหาวิทยาลัยเบอร์ลินเป็นเวลา 5 ปี และในปี ค.ศ. 1921 เขาย้ายไปรับตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านฟิสิกส์เชิงทฤษฎีที่มหาวิทยาลัยกอตทิงตัน

ร่วมสร้างทฤษฎีควอนตัม

ค.ศ. 1926 เขาได้ร่วมงานกับ โวล์ฟกัง เพาลี และ แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก เพื่อสร้างทฤษฎีควอนตัม และเขาก็ได้พิสูจน์ให้ไฮเซนแบร์ก เห็นว่าคณิตศาสตร์ที่ไฮเซนแบร์กใช้นั้น คือ สิ่งที่นักคณิตศาสตร์เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix) จากนั้นเขา Pascual Jordan และไฮเซนแบร์กได้ร่วมกันปรับปรุงทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมที่ใช้เมทริกซ์ในการคำนวณให้เป็นระบบยิ่งขึ้น และผลที่ได้จากทฤษฎีนี้คือ ในโลกของอะตอม การทำนายผลต่างๆ จะอยู่ในลักษณะของโอกาสความเป็นไปได้ เช่น โอกาสการพบอิเล็กตรอน ณ ตำแหน่งต่างๆ จะขึ้นกับแอมพลิจูดของฟังก์ชันคลื่นที่ตำแหน่งและเวลานั้นๆ เป็นต้น

ถูกนาซีรุกราน

ค.ศ. 1933 เมื่อกองทัพนาซีของเยอรมันเรืองอำนาจ เขาถูกปลดจากตำแหน่งศาสตราจารย์ ถูกถอดคุณวุฒิปริญญาเอก และถูกไล่ออกจากมหาวิทยาลัย เนื่องจากเขามีเชื้อสายยิว เขาจึงหนีออกจากประเทศเยอรมนีไปอิตาลี และเดินทางต่อไปที่อังกฤษตามคำเชิญของ Lindeman เพื่อไปสอนที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ต่อมาลาออกรับตำแหน่งศาสตราจารย์ฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยเอดินบะระในสกอตแลนด์ เขาสอนอยู่ที่นี่นานถึง 17 ปี โดยทำหน้าที่สอนนักศึกษาในช่วงเช้า และทำงานวิจัยในช่วงบ่าย

เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง เขาจึงเดินทางกลับมาที่เยอรมัน ซึ่งขณะนั้นเขามีอายุได้ 71 ปีแล้ว และได้บ้านที่ Bad Pyrmont คืน รวมทั้งได้รับตำแหน่งเป็นพลเมืองดีเด่นของเมืองเกิททิงเงินด้วย

ได้รับรางวัลโนเบล

ค.ศ. 1954 เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับวัลเทอร์ โบเทอ จากผลงานการสร้างทฤษฎีในกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะจากการให้ความหมายของฟังก์ชันคลื่นในวิชานี้ และเงินรางวัลครึ่งหนึ่งแบ่งกับโบเทอ แม้ว่าจะเชี่ยวชาญด้านอะตอมและควอนตัม แต่เขาก็ไม่ได้เข้าร่วมโครงการแมนฮัตตันในการสร้างระเบิดปรมาณู เพราะเขาไม่เห็นด้วยกับการใช้วิทยาศาสตร์ในสงคราม และในด้านความเป็นครูนั้น เขามีลูกศิษย์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์หลายคน เช่น แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก (ค.ศ. 1932) โวล์ฟกัง เพาลี (ค.ศ. 1945) รวมทั้ง โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ ผู้สร้างระเบิดปรมาณู และ เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ ผู้สร้างระเบิดไฮโดรเจนด้วย เขาจึงเป็นอาจารย์ที่ได้รับรางวัลช้ากว่าศิษย์ และเป็นบุคคลที่ให้กำเนิดกลศาสตร์ควอนตัมคนสุดท้ายที่ได้รับรางวัลโนเบลอันทรงเกียรตินี้ ซึ่งก็ทำให้เขารู้สึกดี เพราะเมื่อ ชเรอดิงเงอร์ ไฮเซนแบร์ก และ ดิแรก ได้รับรางวัลโนเบลนั้น เขารู้สึกผิดหวังมากที่คณะกรรมการรางวัลไม่ได้เห็นความสำคัญของงานที่เขาทำ

เสียชีวิต

 
ป้ายหลุมศพของมักซ์ บอร์นที่มีการจารึกสมการตามคำขอร้องของเขาก่อนเสียชีวิต

เขาเสียชีวิตที่เมืองเกิททิงเงิน ในวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1970 และศพถูกฝังที่นั่น โดยบนหลุมฝังศพมีการจารึกสมการว่า   ตามคำขอร้องของเขา เพราะเขาเป็นนักฟิสิกส์คนแรกที่พบกฎ commutation นี้ เมื่อ p, q เป็นเมทริกซ์ของโมเมนตัม และตำแหน่งของอนุภาคตามลำดับ h คือ ค่าคงตัวของพลังค์ และ i คือ รากที่สองของ -1 สำหรับเกียรติยศและผลงานอื่นๆ ของเขาคือ เป็น F. R. S. เมื่ออายุ 57 ปี ได้รับเหรียญ Hugh ของ Royal Society เมื่ออายุ 68 ปี และได้เขียนตำราหลายเล่ม เช่น Principles of Optics, Atomic Physics และ The Restless Universe เป็นต้น รวมทั้งได้ผลิตงานวิจัยรวม 360 เรื่อง

อ้างอิง

  1. คอลัมน์ Max Born บิดาคนหนึ่งของกลศาสตร์ควอนตัมโดย สุทัศน์ ยกส้าน จากเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ สืบค้นวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2557
  2. Max Born - Biographical from nobelprize.org สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557
  3. The Nobel Prize in Physics 1954 Max Born, Walther Bothe Banquet Speech from nobelprice.org สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557
  4. ประวัติมักซ์ บอร์นจากเว็บไซต์ MyFirstBrian.com สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ มักซ์ บอร์น

กซ, บอร, เยอรม, born, นวาคม, 1882, มกราคม, 1970, เป, นน, กฟ, กส, วนพ, ฒนาทฤษฎ, านกลศาสตร, ควอนต, และได, บรางว, ลโนเบลสาขาฟ, กส, ในป, 1954, วมก, บว, ลเทอร, โบเทอจากผลงานการค, ดค, นส, ตรท, ใช, ในการอธ, บายฟ, งก, นความน, าจะเป, นในสมการคล, นของชเรอด, งเงอร, ในว, . mks bxrn eyxrmn Max Born 11 thnwakhm kh s 1882 5 mkrakhm kh s 1970 epnnkfisiksphumiswnphthnathvsdidanklsastrkhwxntm aelaidrbrangwloneblsakhafisiksinpi kh s 1954 rwmkbwlethxr obethxcakphlngankarkhidkhnsutrthiichinkarxthibayfngkchnkhwamnacaepninsmkarkhlunkhxngcherxdingengxr inwichaklsastrkhwxntmmks bxrnmks bxrn 1882 1970 ekid11 thnwakhm kh s 1882 1882 12 11 ebrsela ckrwrrdieyxrmnesiychiwit5 mkrakhm kh s 1970 87 pi ekiththingengin eyxrmntawntksychatieyxrmn xngkvsphlemuxngeyxrmn xngkvssisyekaUniversity of GottingenmichuxesiyngcakBorn Haber cycleBorn rigidityBorn coordinatesBorn approximationBorn probabilityBorn Infeld theoryBorn Oppenheimer approximation Born s RuleBorn Lande equationBorn Huang approximationBorn von Karman boundary conditionBorn equationkhusmrsHedwig Hedi Ehrenberg m 1913 1970 his death 3 children rangwlNobel Prize in Physics 1954 Fellow of the Royal Society 1939 xachiphthangwithyasastrsakhafisikssthabnthithanganUniversity of Frankfurt am MainUniversity of GottingenUniversity of EdinburghxacarythipruksainradbpriyyaexkCarl Rungexacarythipruksaxun Woldemar VoigtKarl SchwarzschildluksisyinradbpriyyaexkVictor Frederick WeisskopfJ Robert OppenheimerLothar Wolfgang NordheimMax Delbruck Walter ElsasserFriedrich HundPascual JordanMaria Goeppert Mayer Herbert S GreenCheng KaijiaSiegfried Flugge Edgar KrahnMaurice PryceAntonio RodriguezBertha SwirlesPaul WeissPeng Huanwuluksisythimichuxesiyngxun Emil Wolflaymuxchux enuxha 1 prawti 2 chiwitnksuksa 3 chiwitxacarymhawithyaly 4 rwmwicyclnsastrkhxngphluk aelaaetngngan 5 rwmsrangthvsdikhwxntm 6 thuknasirukran 7 idrbrangwlonebl 8 esiychiwit 9 xangxing 10 aehlngkhxmulxunprawti aekikhmks bxrnekidemuxwnthi 11 thnwakhm kh s 1882 inemuxngebrsela ckrwrrdieyxrmn pccubnkhuxemuxngwrxtswf inpraethsopaelnd mikhwamchunchxbindntriepnphiessehmuxnkbmarda erimeriynhnngsuxthiorngeriyn Konig Wilhelm Gymnasium inkhnannekhamikhwamkhidthicaepnnkmanusywithyathiechiywchaydanphasalatin krik aelaeyxrmn aetekhatxngkaphramardaemuxekhaxayu 4 khwb aelainxik 4 txma bidacungidaetngngankbphrryaihm sahrbbidakhxngekhaprakxbxachiphaephthysakhakaywiphakhsastraelamichuxesiyngxyangmak bankhxngekhacungmiaekhkthimichuxesiyngmaeyiymeyuxnbxykhrng echn Paul Ehrlich aela Albert Neisser epntn 1 chiwitnksuksa aekikhemuxekhaxayuid 19 pi idekhaeriynthimhawithyalyebrsela aelaideluxkeriynsakhawithyasastrtamkhwamtxngkarkhxngbida sunginkhnann kuleylom marokni idpradisthwithyuepnphlsaerc aelaemuxxacaryinhxngeriynsathitkarsngkhlunwithyu ekhamikhwamsnicthangdanfisiksthnthi hlngcaknnekhaidekhasuksatxthimhawithyalyihedlebirk aelayayipmhawithyalysurik ephraapraephnikarsuksakhxngeyxrmninkhnannimsngesrimihnksuksaeriynthiediywtlxdchiwitnksuksa thimhawithyalysurikekhaidphbkhrukhnitsastrthiekhaprathbicchux Hurwitz txmaekhaidthrabwankprachythangkhnitsastrthimichuxesiyng khux Felix Klein dafid hilaebrth aela Hermann Minkowski sxnxyuthimhawithyalyekiththingengin ekhacungedinthangipekiththingenginephuxsuksakbprachythangkhnitsastrehlannthnthi 1 2 chiwitxacarymhawithyaly aekikhkhnathiekhaeriynxyuthikxtthingtnnn Hilbert rusukprathbicinkhwamsamarthkhxngekhamak cungihekhaepnxacaryphuchwy odymxbhmayihekhaetriymkhabrryay aetsahrb Klein imchxbekhaethaihrnkephraaekhakhaderiynbxy inchwngewlannekhaerimsnickarichkhnitsastraekpyhathangdanfisiks dngnnekhacungeluxkthawithyaniphnthdanthvsdidarasastrkb kharl swaschild inhwkhx esthiyrphaphkhxngrabbthiyudhyun emuxxayuid 25 piekhasaerckarsuksainradbpriyyaexk aetemuxepriybethiybkb phxl diaerk aewrenxr ihesnaebrk aela owlfkng exirnst ephali aelwnbwakhxnkhangchakhnasuksaxyuthimhawithyalykxtthingtn ekhaidruckaelatidtxkb Richard Courant Erhard Schmidt aela Constantin Caratheodory aelaemuxsaerckarsuksa ekhaidedinthangipxngkvs aelaidekhafngbrryaykhxng Joseph Larmor aela ec ec thxmsn ekhachxbkarbrryaykhxng Thomson mak aetsahrbkarbrryaykhxng Larmor ekhaimkhxychxbephraafngimkhxyekhaic enuxngcak Larmor ichsaeniyngixrichinkarbrryaykh s 1909 ekhaedinthangklbeyxrmnaelarwmngankb Minkowski ekhyepnxacarykhxngbxrn aelaemux Minkowski esiychiwit ekhacungrbtaaehnngxacarythiwanglng aelainkhnannekhamiephuxnrwmnganthimichuxesiynghlaykhn echn Hermann Weyl aela Richard Courant epntn 1 2 rwmwicyclnsastrkhxngphluk aelaaetngngan aekikhhlngcakekhaekharbtaaehnngxacaryaelw ekhaekharwmwicyclnsastrkhxngphlukkb fxn kharmn Von Karman phlkarwicyphbwaokhrngsrangkhxngphlukepntwkahndkhunsmbtikhxngphlngnganthiplxyxxkma sutr Born Karman thikhnthngsxngphbcungsamarththaihnkwithyasastrthrabphlngngankhxngphlukthiplxyxxkmaidemuxekhaxayuid 31 pi ekhaidekhaphithismrskb ehdwik exhernburk Hedwig Ehrenburg aelaxik 1 pitxma ekhayayipdarngtaaehnngrxngsastracarythimhawithyalyebxrlin dngnnekhacungmioxkasidphbkbmks phlngkh aelaxlebirt ixnsitn inyamwangphwkekhacarwmelnepiyon aelaiwoxlinkn odyekhathanganxyuthimhawithyalyebxrlinepnewla 5 pi aelainpi kh s 1921 ekhayayiprbtaaehnngsastracarydanfisiksechingthvsdithimhawithyalykxtthingtn 1 rwmsrangthvsdikhwxntm aekikhkh s 1926 ekhaidrwmngankb owlfkng ephali aela aewrenxr ihesnaebrk ephuxsrangthvsdikhwxntm aelaekhakidphisucnihihesnaebrk ehnwakhnitsastrthiihesnaebrkichnn khux singthinkkhnitsastreriykwa emthriks matrix caknnekha Pascual Jordan aelaihesnaebrkidrwmknprbprungthvsdiklsastrkhwxntmthiichemthriksinkarkhanwnihepnrabbyingkhun aelaphlthiidcakthvsdinikhux inolkkhxngxatxm karthanayphltang caxyuinlksnakhxngoxkaskhwamepnipid echn oxkaskarphbxielktrxn n taaehnngtang cakhunkbaexmphlicudkhxngfngkchnkhlunthitaaehnngaelaewlann epntn 1 thuknasirukran aekikhkh s 1933 emuxkxngthphnasikhxngeyxrmneruxngxanac ekhathukpldcaktaaehnngsastracary thukthxdkhunwuthipriyyaexk aelathukilxxkcakmhawithyaly enuxngcakekhamiechuxsayyiw ekhacunghnixxkcakpraethseyxrmniipxitali aelaedinthangtxipthixngkvstamkhaechiykhxng Lindeman ephuxipsxnthimhawithyalyekhmbridc txmalaxxkrbtaaehnngsastracaryfisiksthimhawithyalyexdinbarainskxtaelnd ekhasxnxyuthininanthung 17 pi odythahnathisxnnksuksainchwngecha aelathanganwicyinchwngbayemuxsngkhramolksinsudlng ekhacungedinthangklbmathieyxrmn sungkhnannekhamixayuid 71 piaelw aelaidbanthi Bad Pyrmont khun rwmthngidrbtaaehnngepnphlemuxngdiednkhxngemuxngekiththingengindwy 1 idrbrangwlonebl aekikhkh s 1954 ekhaidrbrangwloneblsakhafisiksrwmkbwlethxr obethx cakphlngankarsrangthvsdiinklsastrkhwxntm odyechphaacakkarihkhwamhmaykhxngfngkchnkhluninwichani aelaenginrangwlkhrunghnungaebngkbobethx aemwacaechiywchaydanxatxmaelakhwxntm aetekhakimidekharwmokhrngkaraemnhttninkarsrangraebidprmanu ephraaekhaimehndwykbkarichwithyasastrinsngkhram aelaindankhwamepnkhrunn ekhamiluksisythiidrbrangwloneblsakhafisikshlaykhn echn aewrenxr ihesnaebrk kh s 1932 owlfkng ephali kh s 1945 rwmthng orebirt xxphephnihemxr phusrangraebidprmanu aela exdewird ethlelxr phusrangraebidihodrecndwy ekhacungepnxacarythiidrbrangwlchakwasisy aelaepnbukhkhlthiihkaenidklsastrkhwxntmkhnsudthaythiidrbrangwloneblxnthrngekiyrtini sungkthaihekharusukdi ephraaemux cherxdingengxr ihesnaebrk aela diaerk idrbrangwloneblnn ekharusukphidhwngmakthikhnakrrmkarrangwlimidehnkhwamsakhykhxngnganthiekhatha 1 3 esiychiwit aekikh payhlumsphkhxngmks bxrnthimikarcaruksmkartamkhakhxrxngkhxngekhakxnesiychiwit ekhaesiychiwitthiemuxngekiththingengin inwnthi 5 mkrakhm kh s 1970 aelasphthukfngthinn odybnhlumfngsphmikarcaruksmkarwa p q q p h 2 p i I displaystyle pq qp h over 2 pi i I tamkhakhxrxngkhxngekha ephraaekhaepnnkfisikskhnaerkthiphbkd commutation ni emux p q epnemthrikskhxngomemntm aelataaehnngkhxngxnuphakhtamladb h khux khakhngtwkhxngphlngkh aela i khux rakthisxngkhxng 1 sahrbekiyrtiysaelaphlnganxun khxngekhakhux epn F R S emuxxayu 57 pi idrbehriyy Hugh khxng Royal Society emuxxayu 68 pi aelaidekhiyntarahlayelm echn Principles of Optics Atomic Physics aela The Restless Universe epntn rwmthngidphlitnganwicyrwm 360 eruxng 4 xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 khxlmn Max Born bidakhnhnungkhxngklsastrkhwxntmody suthsn yksan cakewbistphucdkarxxniln subkhnwnthi 6 emsayn ph s 2557 2 0 2 1 Max Born Biographical from nobelprize org subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557 The Nobel Prize in Physics 1954 Max Born Walther Bothe Banquet Speech from nobelprice org subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557 prawtimks bxrncakewbist MyFirstBrian com subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb mks bxrnekhathungcak https th wikipedia org w index php title mks bxrn amp oldid 7383558, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม