fbpx
วิกิพีเดีย

เมฆออร์ต

เมฆออร์ต (อังกฤษ: Oort cloud) คือ ชั้นเมฆในอวกาศที่ล้อมรอบระบบสุริยะอยู่เป็นทรงกลม บริเวณเมฆเหล่านี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ออกไปราว 50,000 - 100,000 หน่วยดาราศาสตร์ จากดวงอาทิตย์ ไกลออกไปจากขอบระบบสุริยะรอบนอก ตำแหน่งของเมฆออร์ตอยู่ในระยะความห่าง 1 ใน 4 ของดาวแคระแดงพร็อกซิมาคนครึ่งม้า ในกลุ่มเมฆออร์ตนี้มีวัตถุพ้นดาวเนปจูน อย่างดาวเคราะห์แคระ 90377 เซดนา ที่ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 อยู่ด้วย

ภาพกราฟิกของนาซ่า แสดงเมฆออร์ตและแถบไคเปอร์
ภาพกราฟิกแสดงเมฆออร์ตและแถบไคเปอร์
ภาพเปรียบเทียบความแตกต่างของระยะทางของเมฆออร์ตเปรียบเทียบกับขนาดของระบบสุริยะ

วัตถุในกลุ่มเมฆออร์ตคือเศษเหลือจากการสร้างดาวเคราะห์ เป็นก้อนน้ำแข็งสกปรก มีส่วนประกอบไปด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย ฝุ่น และหิน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร

นักดาราศาสตร์เชื่อกันว่ากลุ่มเมฆออร์ตเป็นแหล่งต้นกำเนิดของดาวหาง

เมฆออร์ตตั้งชื่อตามนักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ ยัน แฮ็นดริก ออร์ต (Jan Hendrik Oort, 1900 - 1992) ซึ่งเขาได้ทำการวิเคราะห์เส้นทางการโคจรของดาวหาง 19 ดวงพบว่าดาวหางเหล่านี้มาจากแหล่งของดาวหางที่มีรูปร่างเป็นทรงกลมที่มีขนาดใหญ่มาก โดยอยู่ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ตั้งแต่ประมาณ 1.5 - 3.1 ปีแสง ซึ่งเขาได้ประมาณไว้ว่าแหล่งของดาวหางดังกล่าว น่าจะมีดาวหางอยู่ราว 1 แสน 9 หมื่นล้านดวง และได้เสนอว่าช่วงเวลาประมาณทุก ๆ 100,000 – 200,000 ปี แรงโน้มถ่วงจากดาวฤกษ์ดวงอื่นที่เคลื่อนผ่านเข้ามาใกล้ระบบสุริยะ ภายในระยะห่างจากดวงอาทิตย์ราว 3.16 ปีแสง จะรบกวนดาวหางส่วนหนึ่งในแหล่งนี้จนหลุดเข้ามายังระบบสุริยะชั้นใน ซึ่งแหล่งของดาวหางตามสมมติฐานของเขา นี้ถูกตั้งชื่อตามชื่อของเขาว่า “เมฆออร์ต” (Oort cloud)

แต่ภายในช่วงครึ่งศตวรรษล่าสุดนี้ ได้มีจำนวนดาวหางที่ผ่านการตรวจสอบข้อมูลและวิเคราะห์วงโคจรเพิ่มขึ้น ทำให้มีการปรับปรุงแนวคิดเรื่องเมฆออร์ตเสียใหม่ ซึ่งในระยะหลังมานี้ นักดาราศาสตร์พบว่าค่าระยะห่างจากดวงอาทิตย์ของตำแหน่งที่ห่างดวงอาทิตย์มาก ที่สุดในวงโคจร มีค่าประมาณ 0.69 ปีแสง ซึ่งเป็นระยะที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าที่ Oort เคยเสนอไว้ และต่อมาก็มีการปรับค่าระยะห่างจากดวงอาทิตย์ของขอบนอกของเมฆออร์ตใหม่ คือราวๆ 3.1 ปีแสง เนื่องจากนักดาราศาสตร์พบว่าแรงโน้มถ่วงที่ดวงอาทิตย์ดึงดูดดาวหางที่อยู่ห่างกว่าระยะดังกล่าว จะมีค่าค่อนข้างน้อย


วัตถุเมฆออร์ต
หมายเลข ชื่อ เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวศูนย์สูตร
(กม.)
ระยะจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด (หน่วยดาราศาสตร์) ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด (หน่วยดาราศาสตร์) ค้นพบเมื่อ ผู้ค้นพบ Diameter method
90377 เซดนา <1800, >1250 76 (±7) ~850 พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) Michael E. Brown, Chadwick A. Trujillo, David L. Rabinowitz thermal

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Representation, Southwest Research Institute
  • The Kuiper Belt and The Oort Cloud

เมฆออร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, oort, cloud, นเมฆในอวกา. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir emkhxxrt xngkvs Oort cloud khux chnemkhinxwkasthilxmrxbrabbsuriyaxyuepnthrngklm briewnemkhehlanixyuhangcakdwngxathityxxkipraw 50 000 100 000 hnwydarasastr cakdwngxathity iklxxkipcakkhxbrabbsuriyarxbnxk taaehnngkhxngemkhxxrtxyuinrayakhwamhang 1 in 4 khxngdawaekhraaedngphrxksimakhnkhrungma inklumemkhxxrtnimiwtthuphndawenpcun xyangdawekhraahaekhra 90377 esdna thithukkhnphbemuxwnthi 14 phvscikayn ph s 2546 xyudwyphaphkrafikkhxngnasa aesdngemkhxxrtaelaaethbikhepxr phaphkrafikaesdngemkhxxrtaelaaethbikhepxr phaphepriybethiybkhwamaetktangkhxngrayathangkhxngemkhxxrtepriybethiybkbkhnadkhxngrabbsuriya wtthuinklumemkhxxrtkhuxessehluxcakkarsrangdawekhraah epnkxnnaaekhngskprk miswnprakxbipdwynaaekhng kharbxnidxxkisd miethn aexmomeniy fun aelahin mikhnadesnphansunyklangtngaetimkikiolemtripcnthunghlaysibkiolemtrnkdarasastrechuxknwaklumemkhxxrtepnaehlngtnkaenidkhxngdawhangemkhxxrttngchuxtamnkdarasastrchawdtch yn aehndrik xxrt Jan Hendrik Oort 1900 1992 sungekhaidthakarwiekhraahesnthangkarokhcrkhxngdawhang 19 dwngphbwadawhangehlanimacakaehlngkhxngdawhangthimiruprangepnthrngklmthimikhnadihymak odyxyuthirayahangcakdwngxathitytngaetpraman 1 5 3 1 piaesng sungekhaidpramaniwwaaehlngkhxngdawhangdngklaw nacamidawhangxyuraw 1 aesn 9 hmunlandwng aelaidesnxwachwngewlapramanthuk 100 000 200 000 pi aerngonmthwngcakdawvksdwngxunthiekhluxnphanekhamaiklrabbsuriya phayinrayahangcakdwngxathityraw 3 16 piaesng carbkwndawhangswnhnunginaehlngnicnhludekhamayngrabbsuriyachnin sungaehlngkhxngdawhangtamsmmtithankhxngekha nithuktngchuxtamchuxkhxngekhawa emkhxxrt Oort cloud aetphayinchwngkhrungstwrrslasudni idmicanwndawhangthiphankartrwcsxbkhxmulaelawiekhraahwngokhcrephimkhun thaihmikarprbprungaenwkhideruxngemkhxxrtesiyihm sunginrayahlngmani nkdarasastrphbwakharayahangcakdwngxathitykhxngtaaehnngthihangdwngxathitymak thisudinwngokhcr mikhapraman 0 69 piaesng sungepnrayathiikldwngxathitymakkwathi Oort ekhyesnxiw aelatxmakmikarprbkharayahangcakdwngxathitykhxngkhxbnxkkhxngemkhxxrtihm khuxraw 3 1 piaesng enuxngcaknkdarasastrphbwaaerngonmthwngthidwngxathitydungduddawhangthixyuhangkwarayadngklaw camikhakhxnkhangnxy wtthuemkhxxrt hmayelkh chux esnphansunyklangtamaenwsunysutr km rayacudikldwngxathitythisud hnwydarasastr rayacudikldwngxathitythisud hnwydarasastr khnphbemux phukhnphb Diameter method90377 esdna lt 1800 gt 1250 76 7 850 ph s 2546 kh s 2003 Michael E Brown Chadwick A Trujillo David L Rabinowitz thermalaehlngkhxmulxun aekikhRepresentation Southwest Research Institute The Kuiper Belt and The Oort Cloud bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title emkhxxrt amp oldid 8457352, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม