fbpx
วิกิพีเดีย

โรคฉี่หนู

โรคฉี่หนู, ไข้ฉี่หนูหรือโรคเล็ปโตสไปโรซิส (อังกฤษ: leptospirosis) เป็นโรคติดเชื้อในเลือดชนิดรับจากสัตว์ชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Leptospira ผู้ป่วยอาจมีอาการเพียงเล็กน้อย เช่น ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ มีไข้ ไปจนถึงมีอาการรุนแรง เช่น เลือดออกในเนื้อปอด หรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นต้น โรคฉี่หนูชนิดเฉียบพลันรุนแรงมีชื่อเรียกอีกชื่อว่ากลุ่มอาการเวล (อังกฤษ: Weil's syndrome) สามารถทำให้ผู้ป่วยมีตับวาย ตัวเหลือง ไตวาย และเลือดออกในหลายอวัยวะได้ หากทำให้มีเลือดออกในเนื้อปอดจะมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า "กลุ่มอาการเลือดออกในปอดรุนแรง" (อังกฤษ: severe pulmonary haemorrhage syndrome)

โรคฉี่หนู
(Leptospirosis)
ชื่ออื่นField fever, rat catcher's yellows, pretibial fever
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์แบบดาร์คฟิลด์กำลังขยาย 200 เท่า แสดงให้เห็นเชื้อแบคทีเรีย Leptospira
สาขาวิชาโรคติดเชื้อ
อาการไม่มีอาการ, ปวดศีรษะ, ปวดกล้ามเนื้อ, มีไข้
ภาวะแทรกซ้อนตกเลือดในปอด, เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, ไตวาย
สาเหตุเชื้อ Leptospira มีหนูเป็นพาหะ
วิธีวินิจฉัยตรวจเลือดหาแอนติบอดีต่อเชื้อหรือดีเอ็นเอของเชื้อ
โรคอื่นที่คล้ายกันมาลาเรีย, ไข้รากสาดน้อย, ไข้รากสาดใหญ่, ไข้เลือดออกเดงกี
การรักษาด็อกซีซัยคลิน, เพนิซิลลิน, เซฟไตรอะโซน
ความชุกผู้ป่วยประมาณ 8.5 ล้านคนต่อปี
การเสียชีวิตไม่มีข้อมูล

เชื้อ Leptospira มีอยู่หลายชนิด เฉพาะชนิดที่ทำให้เกิดโรคในมนุษย์ได้มีมากกว่า 10 ชนิด สามารถติดโรคได้ในสัตว์หลายชนิดทั้งที่เป็นสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข หนู โค กระบือ สุกร แพะ แกะ เป็นต้น แต่พบมากในสัตว์กลุ่มหนู ซึ่งเป็นแหล่งรังโรค เชื้อจะถูกปล่อยออกมาจากร่างกายสัตว์พร้อมกับปัสสาวะ มนุษย์อาจรับโรคผ่านการสัมผัสปัสสาวะโดยตรง หรือสัมผัสผ่านน้ำหรือดินที่ปนเปื้อนปัสสาวะสัตว์ เข้ากับเนื้อเยื่อตา ปาก จมูก หรือบาดแผลที่ผิวหนัง ในประเทศที่กำลังพัฒนามักพบโรคนี้ในเกษตรกรหรือผู้มีรายได้น้อยที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่มีสุขลักษณะไม่ดี ส่วนในประเทศที่พัฒนาแล้วมักพบในช่วงที่มีฝนตกหนัก อาจพบได้ในผู้ที่ทำงานกับน้ำเสียและผู้ที่ทำกิจกรรมกลางแจ้งในที่ร้อนชื้น การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำได้โดยดูจากการตรวจพบแอนติบอดีต่อเชื้อนี้หรือพบสารพันธุกรรมของเชื้อนี้ในเลือดของผู้ป่วย

การป้องกันโรคทำได้โดยการใส่อุปกรณ์ป้องกันเมื่อต้องทำงานสัมผัสกับสัตว์ที่อาจเป็นแหล่งเชื้อ ล้างมือหลังสัมผัสสัตว์ และลดปริมาณหนูในที่ที่มีคนอยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์อื่น ยาปฏิชีวนะอย่างดอกซีซัยคลินสามารถป้องกันโรคได้ วัคซีนมีประโยชน์น้อยในมนุษย์ แต่มีใช้ทั่วไปกับสัตว์ การรักษาทำได้โดยใช้ยาปฏิชีวนะ เช่น ดอกซีซัยคลิน เพนิซิลลิน หรือเซฟไตรอะโซน ผู้ป่วยโรคนี้มีอัตราเสียชีวิตประมาณ 5-10% แต่หากมีอาการทางปอดร่วมด้วยอัตราเสียชีวิตจะเพิ่มเป็น 50-70%

ในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยโรคฉี่หนูแบบรุนแรงประมาณ 1 ล้านคน เสียชีวิตปีละประมาณ 58,900 คน พบได้มากในประเทศเขตร้อนแต่ก็พบในประเทศนอกเขตร้อนได้เช่นกัน หลังเกิดฝนตกหนักอาจเกิดการระบาดใหญ่เป็นครั้งๆ โรคนี้ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1886 โดยแพทย์ชาวเยอรมัน Adolf Weil

ส่วนมากสัตว์ที่ไวต่อการรับเชื้อมักจะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีอายุน้อย หรือลูกสัตว์ที่ไม่เคยได้รับภูมิคุ้มกันจากแม่มาก่อน มักจะพบการระบาดในเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน เนื่องจากเป็นฤดูฝนต่อหนาว มีน้ำขัง​​

สาเหตุ

โรคเล็ปโตสไปโรซิส มีสาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรียรูปเกลียว (spirochete) ชื่อ เล็บโตสไปร่า อินเทอโรแกนส์ (Leptospira interrogans) ซึ่งมีความหลากหลายทางซีโรวิทยามากกว่า 200 ซีโรวาร์ (serovars) เชื้อชนิดนี้อาศัยอยู่ในท่อหลอดไตของสัตว์ได้หลายชนิด โดยมีหนูเป็นแหล่งรังโรคที่สำคัญที่สุด บางซีโรวาร์มีความจำเพาะกับสัตว์บางชนิด เชื้อสามารถมีชีวิตได้นานหลายเดือนหลังจากถูกขับออกทางปัสสาวะจากสัตว์ที่มีเชื้อ สัตว์อื่นๆที่เป็นแหล่งรังโรค ได้แก่ สุกร โค กระบือ สุนัข แรคคูณ โดยที่สัตว์อาจจะไม่มีอาการแต่สามารถปล่อยเชื้อได้เป็นเวลาหลายสัปดาห์หรืออาจจะตลอดชีวิตสัตว์ จากการสำรวจเมื่อปีพ.ศ. 2540 โดยสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ พบภูมิคุ้มกันใน ควาย 31% โค 28.25% แพะแกะ 27.35% สุกร 2.15%

การติดต่อ

โรคเล็ปโตสไปโรซิส ติดต่อจากคนสู่คนได้น้อยมาก ส่วนใหญ่ติดต่อกันโดยการสัมผัสกับปัสสาวะ เลือด หรือเนื้อเยื่อของสัตว์ที่มีการติดเชื้อโดยตรง หรือสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ เช่น

  • การกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้ออหิวาต์* การหายใจเอาไอละอองของปัสสาวะ หรือ ของเหลวที่ปนเปื้อนเชื้อเข้าไป
  • เข้าผ่านเยื่อบุต่างๆ เช่น ตา และปาก
  • ไชเข้าทางผิวหนังตามรอยแผลและรอยขีดข่วน
  • ไชเข้าทางผิวหนังปกติที่เปียกชุ่มจากการแช่น้ำนานๆ

ระยะฟักตัวของโรคใช้เวลา1 วันแต่อาจนานได้ถึง 3วัน แบ่งเป็นระยะมีเชื้อในเลือด (leptospiremic phase) ซึ่งจะเริ่มแสดงอาการและส่วนใหญ่จะหายไปเองใน 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นอีก 1-3 วันจะเข้าสู่ระยะมีเชื้อในปัสสาวะ (leptospiruric phase) ผู้ป่วยบางส่วนจะแสดงอาการอีกครั้ง ประมาณ80-90% ของผู้ติดเชื้อจะมีอาการของโรคเล็ปโตสไปโรซิสรุนแรง

โรคเล็ปโตสไปโรซิสแพร่กระจายและเกิดขึ้นได้ง่ายในช่วงปลายฤดูฝน พบบ่อยในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน เพราะช่วงนี้พื้นดินแฉะ มีน้ำขัง เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและสะสมของเชื้อในธรรมชาติ พบโรคนี้ได้มากตามจังหวัดที่ทำการปลูกข้าว บริเวณที่ต้องย่ำน้ำ หรือแหล่งน้ำขังที่มีพาหะนำโรคชุกชุม อาจรวมถึงบ่อน้ำขนาดใหญ่ด้วย

อาการ

อาการและอาการแสดงของโรคเล็ปโตสไปโรซิสนั้นมีได้ตั้งแต่มีอาการเล็กน้อยจนถึงมีอาการรุนแรงถึงแก่ชีวิต กว่า 90% ของผู้มีอาการจะมีอาการเล็กน้อยและมักเป็นแบบไม่เหลือง ส่วนเล็ปโตสไปโรซิสที่มีอาการรุนแรงนั้น พบได้ 5-10% ของผู้ติดเชื้อ

โรคเล็ปโตสไปโรซิสแบบไม่เหลือง (anicteric leptospirosis) แบ่งเป็น 2 ระยะ

ระยะมีเชื้อในเลือด (leptospiremic phase) ระยะนี้มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้หนาวสั่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งในโรคเล็ปโตสไปโรซิสจะมีลักษณะเฉพาะคือ ปวดบริเวณน่อง หลัง และหน้าท้อง ผู้ป่วยส่วนมากมักมีอาการปวดศีรษะมาก โดยเฉพาะบริเวณด้านหน้าหรือหลังเบ้าตา อาการอื่นๆที่อาจพบได้ ได้แก่ เจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก ผื่น สับสน ไอเป็นเลือด อาการแสดงที่อาจตรวจพบ ได้แก่ เยื่อบุตาแดง ต่อมน้ำเหลืองโต คอแดง กดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ ตับม้ามโต อาจพบอาการดีซ่านได้เล็กน้อย อาการในระยะนี้จะหายไปได้เองภายใน 1 สัปดาห์ ช่วงที่ไม่มีอาการจะนาน 1-3 วัน ก่อนจะเข้าสู่ระยะที่สอง

ระยะมีเชื้อในปัสสาวะ (leptospiruric phase) ระยะนี้เป็นผลมาจากปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย อาการและอาการแสดงมีความจำเพาะและความรุนแรงน้อยกว่าในระยะแรก ลักษณะที่สำคัญของโรคในระยะนี้คือ กว่า 15% ของผู้ป่วยจะมีอาการและอาการแสดงของภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบแบบไร้เชื้อ (aseptic meningitis) ส่วนใหญ่พบในเด็ก ซึ่งอาจหายได้เองภายในเวลาไม่กี่วันหรืออาจคงอยู่นานเป็นสัปดาห์ สำหรับภาวะแทรกซ้อนอื่น เช่น ม่านตาอักเสบ จอตาอักเสบ มักเกิดตามหลังอาการเริ่มแรกของโรคนานหลายเดือน และคงอยู่ได้นานเป็นปี

โรคเล็ปโตสไปโรซิสรุนแรง (severe leptospirosis)

โรคเล็ปโตสไปโรซิสรุนแรง หรือกลุ่มอาการเวล (Weil's Syndrome) กลุ่มอาการนี้มีอัตราการตายอยู่ที่ประมาณ 5-15% พบได้เป็นพิเศษในการติดเชื้อในซีโรวาร์ อิกเทอโรฮีมอราเจียอี/โคเปนเฮเกไน (icterohaemorrhagiae/copenhageni) อาการในระยะเริ่มแรกไม่ต่างจากโรคเล็ปโตสไปโรซิสแบบไม่เหลือง แต่ไม่มีลักษณะที่แบ่งออกเป็นสองระยะชัดเจน มักแสดงอาการรุนแรงใน 4-9 วันหลังจากเริ่มมีอาการ ประกอบด้วย

  • อาการดีซ่าน ที่พบในกลุ่มอาการเวล จะมีลักษณะเหลืองมากจนแทบเป็นสีส้มเมื่อสังเกตทางผิวหนัง มักพบตับโตร่วมกับกดเจ็บ ประมาณ 20% ของผู้ติดเชื้อมีอาการม้ามโตร่วมด้วย มีไม่มากนักที่เสียชีวิตจากภาวะตับวาย
  • ไตวายเฉียบพลัน
  • อาการทางปอด เช่น ไอ มีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย จนถึงระบบหายใจล้มเหลว
  • ความผิดปกติทางระบบการแข็งตัวของเลือด มีตั้งแต่อาการเพียงเล็กน้อย เช่น เลือดกำเดา จ้ำเลือดตามผิวหนัง ไปจนถึงอาการรุนแรง เช่น เลือดออกในทางเดินอาหาร เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมอง เป็นต้น
  • อาการอื่นๆ ได้แก่ กล้ามเนื้อลายสลายตัว เม็ดเลือดแดงแตก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ตับอ่อนอักเสบรุนแรง ภาวะการทำงานของอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ เป็นต้น

อ้างอิง

  1. (9 ed.). Elsevier Health Sciences. 2013. p. 697. ISBN 9780323112581. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 8 กันยายน 2017. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  2. McKay, James E. (2001). Comprehensive health care for dogs. Minnetonka, MN.: Creative Pub. International. p. 97. ISBN 9781559717830.
  3. James, William D.; Berger, Timothy G.; และคณะ (2006). Andrews' Diseases of the Skin: clinical Dermatology. Saunders Elsevier. ISBN 0-7216-2921-0.:290
  4. Slack A (July 2010). "Leptospirosis". Australian Family Physician. 39 (7): 495–8. PMID 20628664.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ McB2005
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Was2013
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Picardeau2013
  8. Farrar, Jeremy; Hotez, Peter; Junghanss, Thomas; Kang, Gagandeep; Lalloo, David; White, Nicholas J. (2013). (ภาษาอังกฤษ). Elsevier Health Sciences. p. 438. ISBN 9780702053061. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 8 กันยายน 2017. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NHS2012
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Lane 2016
  11. Soo ZM, Khan NA, Siddiqui R (January 2020). "Leptospirosis: Increasing importance in developing countries". Acta Tropica. 201: 105183. doi:10.1016/j.actatropica.2019.105183. PMID 31542372.
  12. Picardeau M (May 2017). "Virulence of the zoonotic agent of leptospirosis: still terra incognita?". Nature Reviews. Microbiology. 15 (5): 297–307. doi:10.1038/nrmicro.2017.5. PMID 28260786. S2CID 11626842.
  13. Chan, O. Y.; Chia, S. E.; Nadarajah, N.; Sng, E. H. (16 October 1987). "Leptospirosis Risk in Public Cleansing and Sewer Workers". Annals of the Academy of Medicine, Singapore. 16 (4): 586–90. PMID 3446001.
  14. Karpagam KB, Ganesh B (January 2020). "Leptospirosis: a neglected tropical zoonotic infection of public health importance-an updated review". European Journal of Clinical Microbiology & Infectious Diseases. 39 (5): 835–846. doi:10.1007/s10096-019-03797-4. PMID 31898795. S2CID 209669669.
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Teixeira2019
  16. Ellis WA (2015). "Animal leptospirosis". Current Topics in Microbiology and Immunology. 387: 99–137. doi:10.1007/978-3-662-45059-8_6. ISBN 978-3-662-45058-1. PMID 25388134.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Evangelista2010
  18. Costa F, Hagan JE, Calcagno J, Kane M, Torgerson P, Martinez-Silveira MS, และคณะ (2015). "Global Morbidity and Mortality of Leptospirosis: A Systematic Review". PLOS Neglected Tropical Diseases. 9 (9): e0003898. doi:10.1371/journal.pntd.0003898. PMC 4574773. PMID 26379143.
  19. Weil A (1886). "Über eine eigenthümliche, mit Milztumor, Icterus und Nephritis einhergehende, acute Infektionskrankheit" [On a strange, acute infectious disease, accompanied by swelling of the spleen, icterus, and nephritis]. Deutsches Archiv für Klinische Medizin (ภาษาเยอรมัน). 39: 209–232.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: A27
  • ICD-9-CM: 100
  • OMIM: 607948
  • DiseasesDB: 7403
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 001376
  • eMedicine: article/220563 article/96569 article/788751
  • Patient UK: โรคฉี่หนู

โรคฉ, หน, ไข, หน, หร, อโรคเล, ปโตสไปโรซ, งกฤษ, leptospirosis, เป, นโรคต, ดเช, อในเล, อดชน, ดร, บจากส, ตว, ชน, ดหน, เก, ดจากการต, ดเช, อแบคท, เร, leptospira, วยอาจม, อาการเพ, ยงเล, กน, อย, เช, ปวดศ, รษะ, ปวดกล, ามเน, ไข, ไปจนถ, งม, อาการร, นแรง, เช, เล, อดออกใน. orkhchihnu ikhchihnuhruxorkhelpotsiporsis xngkvs leptospirosis epnorkhtidechuxineluxdchnidrbcakstwchnidhnung ekidcakkartidechuxaebkhthieriy Leptospira 10 phupwyxacmixakarephiyngelknxy echn pwdsirsa pwdklamenux miikh ipcnthungmixakarrunaerng echn eluxdxxkinenuxpxd hruxeyuxhumsmxngxkesb epntn 11 orkhchihnuchnidechiybphlnrunaerngmichuxeriykxikchuxwaklumxakarewl xngkvs Weil s syndrome samarththaihphupwymitbway twehluxng itway aelaeluxdxxkinhlayxwywaid 5 hakthaihmieluxdxxkinenuxpxdcamichuxeriykxikchuxwa klumxakareluxdxxkinpxdrunaerng xngkvs severe pulmonary haemorrhage syndrome 11 orkhchihnu Leptospirosis chuxxunField fever 1 rat catcher s yellows 2 pretibial fever 3 phaphcakklxngculthrrsnaebbdarkhfildkalngkhyay 200 etha aesdngihehnechuxaebkhthieriy Leptospirasakhawichaorkhtidechuxxakarimmixakar pwdsirsa pwdklamenux miikh 4 phawaaethrksxntkeluxdinpxd eyuxhumsmxngxkesb itway 4 5 saehtuechux Leptospira mihnuepnphaha 4 6 withiwinicchytrwceluxdhaaexntibxditxechuxhruxdiexnexkhxngechux 7 orkhxunthikhlayknmalaeriy ikhraksadnxy ikhraksadihy ikheluxdxxkedngki 8 karrksadxksisykhlin ephnisillin esfitrxaosn 4 khwamchukphupwypraman 8 5 lankhntxpi 9 karesiychiwitimmikhxmul 9 echux Leptospira mixyuhlaychnid echphaachnidthithaihekidorkhinmnusyidmimakkwa 10 chnid 12 samarthtidorkhidinstwhlaychnidthngthiepnstwpaaelastweliyng echn sunkh hnu okh krabux sukr aepha aeka epntn aetphbmakinstwklumhnu 10 sungepnaehlngrngorkh echuxcathukplxyxxkmacakrangkaystwphrxmkbpssawa mnusyxacrborkhphankarsmphspssawaodytrng hruxsmphsphannahruxdinthipnepuxnpssawastw ekhakbenuxeyuxta pak cmuk hruxbadaephlthiphiwhnng 10 inpraethsthikalngphthnamkphborkhniinekstrkrhruxphumirayidnxythixasyxyuinbriewnthimisukhlksnaimdi 11 swninpraethsthiphthnaaelwmkphbinchwngthimifntkhnk xacphbidinphuthithangankbnaesiy 13 aelaphuthithakickrrmklangaecnginthirxnchun 11 karwinicchyswnihythaidodyducakkartrwcphbaexntibxditxechuxnihruxphbsarphnthukrrmkhxngechuxniineluxdkhxngphupwy 11 karpxngknorkhthaidodykarisxupkrnpxngknemuxtxngthangansmphskbstwthixacepnaehlngechux langmuxhlngsmphsstw aelaldprimanhnuinthithimikhnxyuxasyhruxichpraoychnxun 14 yaptichiwnaxyangdxksisykhlinsamarthpxngknorkhid 14 wkhsinmipraoychnnxyinmnusy 15 aetmiichthwipkbstw 16 karrksathaidodyichyaptichiwna echn dxksisykhlin ephnisillin hruxesfitrxaosn 10 phupwyorkhnimixtraesiychiwitpraman 5 10 17 aethakmixakarthangpxdrwmdwyxtraesiychiwitcaephimepn 50 70 10 inaetlapicamiphupwyorkhchihnuaebbrunaerngpraman 1 lankhn esiychiwitpilapraman 58 900 khn 18 phbidmakinpraethsekhtrxnaetkphbinpraethsnxkekhtrxnidechnkn 14 hlngekidfntkhnkxacekidkarrabadihyepnkhrng 14 orkhnithukbrryayiwkhrngaerkemux kh s 1886 odyaephthychaweyxrmn Adolf Weil 4 19 swnmakstwthiiwtxkarrbechuxmkcaepnstweliynglukdwynmthimixayunxy hruxlukstwthiimekhyidrbphumikhumkncakaemmakxn mkcaphbkarrabadineduxntulakhm aelaphvscikayn enuxngcakepnvdufntxhnaw minakhng enuxha 1 saehtu 1 1 kartidtx 2 xakar 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunsaehtu aekikhorkhelpotsiporsis misaehtucakkartidechuxaebkhthieriyrupekliyw spirochete chux elbotsipra xinethxoraekns Leptospira interrogans sungmikhwamhlakhlaythangsiorwithyamakkwa 200 siorwar serovars echuxchnidnixasyxyuinthxhlxditkhxngstwidhlaychnid odymihnuepnaehlngrngorkhthisakhythisud bangsiorwarmikhwamcaephaakbstwbangchnid echuxsamarthmichiwitidnanhlayeduxnhlngcakthukkhbxxkthangpssawacakstwthimiechux stwxunthiepnaehlngrngorkh idaek sukr okh krabux sunkh aerkhkhun odythistwxaccaimmixakaraetsamarthplxyechuxidepnewlahlayspdahhruxxaccatlxdchiwitstw cakkarsarwcemuxpiph s 2540 odysthabnsukhphaphstwaehngchati phbphumikhumknin khway 31 okh 28 25 aephaaeka 27 35 sukr 2 15 kartidtx aekikh orkhelpotsiporsis tidtxcakkhnsukhnidnxymak swnihytidtxknodykarsmphskbpssawa eluxd hruxenuxeyuxkhxngstwthimikartidechuxodytrng hruxsmphskbsingaewdlxmthimikarpnepuxnkhxngechux echn karkinxaharhruxnathipnepuxnechuxxhiwat karhayicexaixlaxxngkhxngpssawa hrux khxngehlwthipnepuxnechuxekhaip ekhaphaneyuxbutang echn ta aelapak ichekhathangphiwhnngtamrxyaephlaelarxykhidkhwn ichekhathangphiwhnngpktithiepiykchumcakkaraechnananrayafktwkhxngorkhichewla1 wnaetxacnanidthung 3wn aebngepnrayamiechuxineluxd leptospiremic phase sungcaerimaesdngxakaraelaswnihycahayipexngin 1 spdah hlngcaknnxik 1 3 wncaekhasurayamiechuxinpssawa leptospiruric phase phupwybangswncaaesdngxakarxikkhrng praman80 90 khxngphutidechuxcamixakarkhxngorkhelpotsiporsisrunaerngorkhelpotsiporsisaephrkracayaelaekidkhunidngayinchwngplayvdufn phbbxyinchwngeduxnminakhm emsayn ephraachwngniphundinaecha minakhng exuxxanwytxkarecriyetibotaelasasmkhxngechuxinthrrmchati phborkhniidmaktamcnghwdthithakarplukkhaw briewnthitxngyana hruxaehlngnakhngthimiphahanaorkhchukchum xacrwmthungbxnakhnadihydwyxakar aekikhxakaraelaxakaraesdngkhxngorkhelpotsiporsisnnmiidtngaetmixakarelknxycnthungmixakarrunaerngthungaekchiwit kwa 90 khxngphumixakarcamixakarelknxyaelamkepnaebbimehluxng swnelpotsiporsisthimixakarrunaerngnn phbid 5 10 khxngphutidechux orkhelpotsiporsisaebbimehluxng anicteric leptospirosis aebngepn 2 rayarayamiechuxineluxd leptospiremic phase rayanimixakarkhlayikhhwdihy khux miikhhnawsn pwdsirsa khlunis xaeciyn aelapwdklamenux sunginorkhelpotsiporsiscamilksnaechphaakhux pwdbriewnnxng hlng aelahnathxng phupwyswnmakmkmixakarpwdsirsamak odyechphaabriewndanhnahruxhlngebata xakarxunthixacphbid idaek ecbkhx ix ecbhnaxk phun sbsn ixepneluxd xakaraesdngthixactrwcphb idaek eyuxbutaaedng txmnaehluxngot khxaedng kdecbbriewnklamenux tbmamot xacphbxakardisanidelknxy xakarinrayanicahayipidexngphayin 1 spdah chwngthiimmixakarcanan 1 3 wn kxncaekhasurayathisxngrayamiechuxinpssawa leptospiruric phase rayaniepnphlmacakptikiriyathangphumikhumknkhxngrangkay xakaraelaxakaraesdngmikhwamcaephaaaelakhwamrunaerngnxykwainrayaaerk lksnathisakhykhxngorkhinrayanikhux kwa 15 khxngphupwycamixakaraelaxakaraesdngkhxngphawaeyuxhumsmxngxkesbaebbirechux aseptic meningitis swnihyphbinedk sungxachayidexngphayinewlaimkiwnhruxxackhngxyunanepnspdah sahrbphawaaethrksxnxun echn mantaxkesb cxtaxkesb mkekidtamhlngxakarerimaerkkhxngorkhnanhlayeduxn aelakhngxyuidnanepnpi orkhelpotsiporsisrunaerng severe leptospirosis orkhelpotsiporsisrunaerng hruxklumxakarewl Weil s Syndrome klumxakarnimixtrakartayxyuthipraman 5 15 phbidepnphiessinkartidechuxinsiorwar xikethxorhimxraeciyxi okhepnehekin icterohaemorrhagiae copenhageni xakarinrayaerimaerkimtangcakorkhelpotsiporsisaebbimehluxng aetimmilksnathiaebngxxkepnsxngrayachdecn mkaesdngxakarrunaerngin 4 9 wnhlngcakerimmixakar prakxbdwy xakardisan thiphbinklumxakarewl camilksnaehluxngmakcnaethbepnsismemuxsngektthangphiwhnng mkphbtbotrwmkbkdecb praman 20 khxngphutidechuxmixakarmamotrwmdwy miimmaknkthiesiychiwitcakphawatbway itwayechiybphln xakarthangpxd echn ix miesmhapneluxd ecbhnaxk hxbehnuxy cnthungrabbhayiclmehlw khwamphidpktithangrabbkaraekhngtwkhxngeluxd mitngaetxakarephiyngelknxy echn eluxdkaeda caeluxdtamphiwhnng ipcnthungxakarrunaerng echn eluxdxxkinthangedinxahar eluxdxxkinchxngeyuxhumsmxng epntn xakarxun idaek klamenuxlayslaytw emdeluxdaedngaetk eyuxhumhwicxkesb klamenuxhwicxkesb tbxxnxkesbrunaerng phawakarthangankhxngxwywalmehlwhlayrabb epntnxangxing aekikh Mosby s Medical Dictionary 9 ed Elsevier Health Sciences 2013 p 697 ISBN 9780323112581 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 8 knyayn 2017 Unknown parameter deadurl ignored help McKay James E 2001 Comprehensive health care for dogs Minnetonka MN Creative Pub International p 97 ISBN 9781559717830 James William D Berger Timothy G aelakhna 2006 Andrews Diseases of the Skin clinical Dermatology Saunders Elsevier ISBN 0 7216 2921 0 290 4 0 4 1 4 2 4 3 4 4 Slack A July 2010 Leptospirosis Australian Family Physician 39 7 495 8 PMID 20628664 5 0 5 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux McB2005 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Was2013 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Picardeau2013 Farrar Jeremy Hotez Peter Junghanss Thomas Kang Gagandeep Lalloo David White Nicholas J 2013 Manson s Tropical Diseases E Book phasaxngkvs Elsevier Health Sciences p 438 ISBN 9780702053061 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 8 knyayn 2017 Unknown parameter deadurl ignored help 9 0 9 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NHS2012 10 0 10 1 10 2 10 3 10 4 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Lane 2016 11 0 11 1 11 2 11 3 11 4 Soo ZM Khan NA Siddiqui R January 2020 Leptospirosis Increasing importance in developing countries Acta Tropica 201 105183 doi 10 1016 j actatropica 2019 105183 PMID 31542372 Picardeau M May 2017 Virulence of the zoonotic agent of leptospirosis still terra incognita Nature Reviews Microbiology 15 5 297 307 doi 10 1038 nrmicro 2017 5 PMID 28260786 S2CID 11626842 Chan O Y Chia S E Nadarajah N Sng E H 16 October 1987 Leptospirosis Risk in Public Cleansing and Sewer Workers Annals of the Academy of Medicine Singapore 16 4 586 90 PMID 3446001 14 0 14 1 14 2 14 3 Karpagam KB Ganesh B January 2020 Leptospirosis a neglected tropical zoonotic infection of public health importance an updated review European Journal of Clinical Microbiology amp Infectious Diseases 39 5 835 846 doi 10 1007 s10096 019 03797 4 PMID 31898795 S2CID 209669669 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Teixeira2019 Ellis WA 2015 Animal leptospirosis Current Topics in Microbiology and Immunology 387 99 137 doi 10 1007 978 3 662 45059 8 6 ISBN 978 3 662 45058 1 PMID 25388134 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Evangelista2010 Costa F Hagan JE Calcagno J Kane M Torgerson P Martinez Silveira MS aelakhna 2015 Global Morbidity and Mortality of Leptospirosis A Systematic Review PLOS Neglected Tropical Diseases 9 9 e0003898 doi 10 1371 journal pntd 0003898 PMC 4574773 PMID 26379143 Weil A 1886 Uber eine eigenthumliche mit Milztumor Icterus und Nephritis einhergehende acute Infektionskrankheit On a strange acute infectious disease accompanied by swelling of the spleen icterus and nephritis Deutsches Archiv fur Klinische Medizin phasaeyxrmn 39 209 232 aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 A27ICD 9 CM 100OMIM 607948DiseasesDB 7403thrphyakrphaynxkMedlinePlus 001376eMedicine article 220563 article 96569 article 788751Patient UK orkhchihnuhnngsuxphimphedliniws khxlmn chladkhid wnthi 17 ph y 53 http 161 200 98 10 thaiv1 index php option com content amp task view amp id 84 amp Itemid 70 http www nstda or th news 2839 20101229 nanothailand 2010 bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title orkhchihnu amp oldid 9372626, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม