fbpx
วิกิพีเดีย

การออกกำลังกายใช้ออกซิเจน

การออกกำลังกายใช้ออกซิเจน หรือ คาร์ดิโอ หรือ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (อังกฤษ: aerobic exercise, cardio) เป็นการออกกำลังกายตั้งแต่เบาจนถึงหนักซึ่งใช้ออกซิเจนในกระบวนการสร้างพลังงานแอโรบิก ในภาษาอังกฤษหมายถึง "สัมพันธ์กับ เกี่ยวกับ หรือต้องใช้ออกซิเจนอิสระ" และหมายถึงการใช้ออกซิเจนเพื่อให้ได้พลังงานพอระหว่างออกกำลังกายผ่านเมแทบอลิซึมที่ใช้ออกซิเจน ทั่วไปแล้วกิจกรรมตั้งแต่เบาจนถึงปานกลางที่สามารถรองรับได้อย่างเพียงพอด้วยเมแทบอลิซึมซึ่งใช้ออกซิเจน จะทำได้เป็นเวลานาน ๆ ตัวอย่างรวมทั้งการวิ่งทางไกล (คือ จ๊อกกิ้ง) การว่ายน้ำ การปั่นจักรยาน และการเดิน

การออกกำลังแบบแอโรบิกจะเพิ่มความอดทนของกล้ามเนื้อ

ประวัติชาวตะวันตก

แพทย์สรีรวิทยาชาวอังกฤษ อาร์คิบอลด์ ฮิลล์ (Archibald Hill) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการรับออกซิเจนเข้าเซลล์สูงสุด (maximal oxygen uptake, VO2 max) ในปี 1922 ต่อมาฮิลล์และแพทย์ชาวเยอรมันอีกท่านหนึ่ง (Otto Meyerhof) ได้ร่วมรับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ปี 1922 เพราะงานที่ทำต่างหาก ๆ ในเรื่องเมแทบอลิซึมของพลังงานในกล้ามเนื้อ อาศัยงานนี้ นักวิทยาศาสตร์ต่อมาจึงเริ่มวัดการใช้ออกซิเจนเมื่อออกกำลังกาย

หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง กิจกรรมเพื่อสุขภาพและเพื่อหย่อนใจแบบรายบุคคล (ไม่ได้รวมกลุ่ม) เช่น จ๊อกกิ้ง ก็เริ่มได้ความนิยม แผนการออกกำลังกายของกองทัพอากาศแคนาดาที่พิมพ์ในปี 1961 ได้ช่วยตั้งวัฒนธรรมการออกกำลังกายดังที่มีในปัจจุบัน ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 การวิ่งจึงได้ความนิยมมากขึ้นโดยได้แรงดลใจจากกีฬาโอลิมปิก

ในคริสต์ทศวรรษ 1960 นาวาอากาศเอก นพ. เค็นเน็ท คูเปอร์ แห่งกองทัพอากาศสหรัฐได้สนับสนุนแนวคิดเรื่องการออกกำลังกายแบบแอโรบิก โดยได้ทำงานวิจัยขนาดใหญ่เป็นครั้งแรกกับบุคลากรของกองทัพอากาศกว่า 5,000 คน หลังจากได้ไอเดียจากความเชื่อว่า การออกกำลังกายอาจช่วยรักษาสุขภาพ ซึ่งต่อมาเขาได้พิมพ์ในหนังสือปี 1968 คือ "Aerobics" ในปี 1970 หมอจึงได้ตั้งสถาบันไม่แสวงหาผลกำไรของตนเอง (Cooper Institute) เพื่อทำงานวิจัยและให้การศึกษาในเรื่องเวชกรรมป้องกัน (preventive medicine) แล้วตีพิมพ์หนังสือสำหรับมวลชนคือ "The New Aerobics" ในปี 1979 หมอส่งเสริมให้คนเป็นล้าน ๆ ออกกำลังกาย ดังนั้น ปัจจุบันจึงได้ชื่อว่า "บิดาของแอโรบิก"

การเต้นแอโรบิกได้พัฒนาขึ้นเป็นรูปแแบบการออกกำลังกายในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 แล้วได้รับความนิยมทั่วโลกในคริสต์ทศวรรษ 1980 หลังนักแสดงหญิงคือ เจน ฟอนดาได้ออกวิดีโอแอโรบิกในปี 1982

การออกกำลังกายแบบแอโรบิกและแบบอะแนโลบิก

 
ตารางแสดงการแบ่งการออกกำลังกายและอัตราหัวใจเต้นเป็นแบบแอโรบิก (ส้มอ่อน) และอะแนโรบิก (ส้มเข้ม)

การออกกำลังกายแบบแอโรบิกกับสมรรถภาพทางกายมักเปรียบกับการออกกำลังกายแบบอะแนโรบิก ซึ่งมีการฝึกเพื่อสร้างความแข็งแกร่งและการวิ่งระยะสั้นเป็นตัวอย่างเด่นที่สุด การออกกำลังกายทั้งสองแบบต่างกันโดยช่วงเวลาและความเข้มของการใช้กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้อง และโดยปริมาณพลังงานที่สร้างขึ้นในกล้ามเนื้อ

งานวิจัยปี 2013 เรื่องความเป็นอวัยวะหลั่งสารของกล้ามเนื้อได้แสดงว่า การออกกำลังกายทั้งแบบแอโรบิกและอะแนโรบิกโปรโหมตการหลั่งไมโอคีน (myokine) ซึ่งมีประโยชน์รวมทั้งทำให้เนื้อเยื่อใหม่งอก ซ่อมแซมเนื่อเยื่อ มีบทบาทต่าง ๆ ในการต้านการอักเสบ และดังนั้น จึงลดความเสี่ยงการเกิดโรคต่าง ๆ เนื่องกับการอักเสบ การหลั่งไมโอคีนขึ้นอยู่กับปริมาณ ช่วงเวลา และความเข้มที่ใช้กล้ามเนื้อ ดังนั้น การออกกำลังกายทั้งสองแบบจึงมีประโยชน์เยี่ยงนี้

อนึ่ง ในสถานการณ์เกือบทุกอย่าง การออกกกำลังกายแบบอะแนโรบิกจะเกิดพร้อมกับแบบแอโรบิก เพราะเมแทบอลิซึมแบบอะแนโรบิกที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าจะต้องใช้เสริมเพราะต้องใช้พลังงานเกินศักยภาพของระบบแอโรบิก ดังนั้น ที่เรียกว่าการออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจนอาจเรียกได้อย่างแม่นยำมากกว่าเป็นแบบ "ใช้ออกซิเจนโดยส่วนเดียว" เพราะออกกำลังไม่หนักพอสร้างแล็กเตต (lactate) ผ่านกระบวนการหมักไพรูเวต (pyruvate fermentation) ดังนั้น จึงเป็นการแปรพลังงานที่ได้ทั้งหมดจากคาร์โบไฮเดรตโดยใช้ออกซิเจน

เบื้องต้นเมื่อเริ่มออกแรง ไกลโคเจนในกล้ามเนื้อจะสลายเป็นกลูโคส ที่จะผ่านไกลโคไลซิสแล้วสร้างไพรูเวต ซึ่งก็จะทำปฏิกิริยากับออกซิเจน (วัฏจักรกรดซิตริก, Chemiosmosis) แล้วสร้างคาร์บอนไดออกไซด์กับน้ำขณะที่ปล่อยพลังงาน แต่ถ้าขาดออกซิเจน (เช่น ในการออกกำลังกายแบบอะแนโรบิก เมื่อต้องเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว) คาร์โบไฮเดรตจะหมดเร็วขึ้นเพราะ pyruvate จะหมักให้เป็นแล็กเตต ด้งนั้น ถ้าการออกกำลังกายเข้มเกินอัตราที่ระบบหัวใจร่วมหลอดเลือดจะสามารถจัดส่งออกซิเจนไปให้กล้ามเนื้อได้ ผลก็คือการสะสมแล็กเตตอย่างรวดเร็วซึ่งจะทำให้ออกกำลังกายต่อไปไม่ได้ ผลไม่พึงประสงค์ของการสะสมแล็กเตตเบื้องต้นรวมทั้งการความรู้สึกร้อนที่กล้ามเนื้อ และในที่สุดอาจรวมความคลื่นไส้หรือแม้แต่อาเจียน ถ้าออกกำลังกายต่อไปโดยไม่พักพอให้กำจัดแล็กเตตออกจากเลือด

เมื่อระดับไกลโคเจนในกล้ามเนื้อเริ่มหมดลง ตับก็จะปล่อยกลูโคสเข้าในเลือด และก็จะเกิดเมแทบอลิซึมอาศัยไขมันมากขึ้นเพื่อให้เชื้อเพลิงแก่วิถีเมแทบอลิซึมที่ใช้ออกซิเจน ดังนั้น การออกกำลังกายแบบแอโรบิกอาจได้เชื้อเพลิงจากไกลโคเจนสำรอง ไขมันสำรอง หรือจากทั้งสอง ขึ้นอยู่กับความหนักเบา การออกกำลังกายแบบแอโรบิกหนักกลาง ๆ ที่ 65% VO2 max (หัวใจเต้น 150 ครั้งต่อนาทีสำหรับผู้มีอายุ 30 ปี) จะทำให้ใช้ไขมันเป็นพลังงานมากที่สุด ในระดับนี้ ไขมันอาจให้พลังงาน 40-60% ทั้งหมดโดยขึ้นอยู่กับระยะเวลาการออกกำลังกาย ส่วนการออกกำลังกายหนักกว่า 75% VO2max (หัวใจเต้น 160 ครั้งต่อนาที) โดยหลักจะใช้ไกลโคเจนเป็นพลังงาน

ในมนุษย์ผู้ไม่ใช่นักกีฬาเมื่อพัก กล้ามเนื้อหลัก ๆ ในร่างกายปกติจะมีพลังงานพอให้ออกกำลังกายอย่างกระฉับกระเฉงเป็นเวลา 2 ชม. การหมดไกลโคเจนเป็นเหตุให้หมดแรงอย่างฉับพลัน แต่ถ้าฝึก หรือออกกำลังหนักน้อยกว่า หรือทานคาร์โบไฮเดรตให้มากในวันก่อนแข่งกีฬา อาจยืดจุดหมดแรงออกไปเกิน 4 ชม.

การออกกำลังกายแบบแอโรบิกมีมากมายหลายอย่าง โดยทั่วไป จะทำในระดับหนักปานกลางโดยเป็นระยะเวลาค่อนข้างยาว ยกตัวอย่างเช่น การวิ่งทางไกลที่เร็วปานกลางเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิก แต่การวิ่งระยะสั้นไม่ใช่ การเล่นเทนนิสเดี่ยวที่ต้องขยับตัวอยู่เกือบตลอดโดยทั่วไปจัดเป็นกิจกรรมแบบแอโรบิก แต่การเล่นกอล์ฟหรือเทนนิสคู่ ที่ขยับตัวระยะสั้น ๆ สลับกับพักที่มีมากกว่า อาจไม่ใช่การออกกำลังกายแบบแอโรบิกโดยหลัก ดังนั้น กีฬาบางชนิดจึงเป็นแบบแอโรบิกโดยธรรมชาติ เทียบกับการออกกำลังกายแบบแอโรบิกโดยเฉพาะ เช่น การเต้นแอโรบิก ที่ออกแบบเพื่อเพิ่มสมรรถภาพทางแอโรบิกและสมรรถภาพทางกาย และมักรวมการใช้กล้ามเนื้อขาโดยหลักหรือโดยส่วนเดียว แม้จะมีข้อยกเว้นบ้าง ยกตัวอย่างเช่น การพายเรือ 2,000 เมตรหรือยิ่งกว่าเป็นกีฬาแอโรบิกซึ่งออกกำลังกล้ามเนื้อหลายกลุ่มรวมทั้งขา ท้อง หน้าอก และแขน

ประโยชน์

ประโยชน์ของการออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างสม่ำเสมอรวมทั้ง

  • เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อทางการหายใจ อำนวยให้หายใจเข้าออกได้สะดวก
  • เพิ่มความแข็งแรงและขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจ เพิ่มประสิทธิภาพการสูบเลือดและลดอัตราการเต้นหัวใจเมื่อพัก เป็นกระบวนการที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า aerobic conditioning
  • เพิ่มประสิทธิภาพของระบบไหลเวียนและลดความดันโลหิต
  • เพิ่มจำนวนเซลล์เม็ดเลือดแดงในร่างกาย ซึ่งอำนวยการขนส่งออกซิเจน
  • ปรับสุขภาพทางใจ ลดความเครียดและการเกิดความซึมเศร้า พร้อมกับเพิ่มสมรรถภาพทางความคิดอ่าน/ทางประชาน
  • ลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน

งานวิเคราะห์อภิมานงานหนึ่งสำรวจงานศึกษาหลายงานแล้วแสดงว่า การออกกำลังกายแบบแอโรบิกช่วยลดระดับ Hb A1C ของคนไข้เบาหวานชนิด 2 ดังนั้น การออกกำลังกายแบบนี้จึงลดความเสี่ยงตายเพราะปัญหาหัวใจร่วมหลอดเลือด อนึ่ง กิจกรรมแบบแอโรบิกที่มีระดับการกระทบกระทั่งสูง เช่น จ๊อกกิ้งหรือกระโดดเชือก อาจกระตุ้นให้กระดูกงอก และลดความเสี่ยงภาวะกระดูกพรุนสำหรับทั้งชายหญิง

นอกเหนือประโยชน์ทางสุขภาพ การออกกำลังกายแบบแอโรบิกยังทำให้ร่างกายมีประสิทธิภาพมากขึ้นรวมทั้ง

  • เพิ่มโมเลกุลเก็บพลังงาน เช่น ไขมันและคาร์โบไฮเดรตภายในกล้ามเนื้อ ทำให้อดทนยิ่งขึ้น
  • การเกิดเส้นเลือดใหม่ที่หน่วยพื้นฐานของกล้ามเนื้อลาย คือ sarcomere ทำให้เลือดไหลผ่านกล้ามเนื้อได้ดีขึ้น
  • ทำให้เมแทบอลิซึมที่ใช้ออกซิเจนในกล้ามเนื้อทำงานได้เร็วขึ้น ทำให้เมื่อออกกำลังอย่างหนัก พลังงานที่ใช้ออกซิเจนจะมีอัตราส่วนสูงขึ้น
  • เพิ่มสมรรถภาพใช้ไขมันเป็นพลังงานในช่วงออกกำลังกาย ซึ่งช่วยสงวนไกลโคเจนภายในกล้ามเนื้อ
  • เพิ่มความเร็วที่กล้ามเนื้อคืนสภาพหลังจากออกกำลังอย่างหนัก
  • มีผลดีทางประสาทชีวภาพ ปรับปรุงการเชื่อมต่อกันของโครงสร้างในสมอง เพิ่มความหนาแน่นของเนื้อเทา เพิ่มกำเนิดประสาท ทำให้คิดอ่านได้ดีขึ้น/ปรับปรุงการทำงานทางประชาน (รวมทั้งการควบคุมพฤติกรรมอาศัยประชานและความจำแบบต่าง ๆ) ปรับปรุงหรือดำรงสุขภาพจิต

ข้อเสียของการออกกำลังกายแบบแอโรบิกรวมทั้ง

  • การบาดเจ็บเพราะออกกำลังมากเกินไป เมื่อออกกำลังที่ทำการซ้ำ ๆ หรือกระทบกระทั่งมาก เช่นวิ่งทางไกล
  • ไม่ใช่วิธีสร้างกล้ามเนื้อที่มีประสิทธิภาพ
  • จะกำจัดไขมันได้ก็ต่อเมื่อทำอย่างสม่ำเสมอ

ทั้งประโยชน์ทางสุขภาพและทางประสิทธิภาพของร่างกายอันเป็นผลการฝึก จะได้ก็ต่อเมื่อออกกำลังกายนานพอและบ่อยพอ แหล่งอ้างอิงโดยมากแนะนำให้ทำอย่างน้อย 20 นาที 3 ครั้งต่อสัปดาห์

 
การออกกำลังกายในโรงยิม

นพ. คูเปอร์เองนิยามการออกกำลังกายแบบแอโรบิกว่า เป็นสมรรถภาพในการใช้ออกซิเจนในระดับสูงสุดเมื่อทำงานหนัก และได้อธิบายประโยชน์ทางสุขภาพหลัก ๆ บางอย่างรวมทั้งประสิทธิภาพของปอดเพราะเพิ่มสมรรถภาพการหายใจในระดับสูงสุด ซึ่งทำให้สามารถเวียนอากาศมากกว่าในระยะเวลาที่สั้นกว่า เมื่อศักยภาพการหายใจสูงขึ้น ก็จะสามารถดูดออกซิเจนเข้าไปในเลือดได้เร็วขึ้น และเพิ่มกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ หัวใจจะทำงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยปริมาตรเลือด, จำนวนเฮโมโกลบินและเม็ดเลือดแดงก็จะสูงขึ้น ซึ่งเพิ่มสมรรถภาพการขนส่งออกซิเจนจากปอดไปยังกล้ามเนื้อ เมแทบอลิซึมจะดีขึ้น ทำให้สามารถบริโภคแคลอรีได้สูงขึ้นโดยไม่เพิ่มน้ำหนัก อาจช่วยชะลอภาวะกระดูกพรุนเพราะมีมวลกล้ามเนื้อสูงขึ้น ลดไขมัน และเพิ่มความหนาแน่นของกระดูก เมื่อสิ่งเหล่านี้ดีขึ้น โอกาสเป็นเบาหวานก็จะลดลงเพราะกล้ามเนื้อเผาน้ำตาลได้ดีกว่าไขมัน ประโยชน์หลักอย่างหนึงก็คือน้ำหนักอาจลดลงอย่างช้า ๆ แต่จะลดเร็วขึ้นถ้าจำกัดแคลอรีที่ทานด้วย ดังนั้น จึงลดการเกิดโรคอ้วน

 
เครื่องวัด VO2 max ที่คนไข้จะออกกำลังหนักขึ้น ๆ บนสายพาน
 
ตารางโรคอ้วนคือมีดัชนีมวลกาย (BMI) 30 หรือยิ่งกว่านั้น

สมรรถภาพการใช้ออกซิเจน

สมรรถภาพทางแอโรบิกหมายถึงสมรรถภาพการทำงานของระบบหัวใจและการหายใจรวมทั้งหัวใจ ปอด และหลอดเลือด เป็นออกซิเจนจำนวนมากที่สุดร่างกายใช้ได้ในช่วงการออกกำลังกายอย่างหนัก ภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ เป็นฟังก์ชันของทั้งสมรรถภาพทางระบบหัวใจและการหายใจ และสมรรถภาพการเอาออกซิเจนมาใช้จากเลือดที่ไหลเวียน

เพื่อวัดสมรรถภาพสูงสุด แพทย์อาจตรวจ VO2 max ซึ่งคนไข้จะต้องออกกำลังกายหนักขึ้น ๆ บนสายพาน เริ่มตั้งแต่เดินสบาย ๆ จนถึงวิ่งจนหมดแรง โดยคนไข้จะใส่หน้ากากเพื่อวัดการใช้ออกซิเจน และความเร็วสายพานจะเพิ่มขึ้นเป็นระยะ ๆ ค่าวัดยิ่งสูงเท่าไรสำหรับระดับความคงทนของระบบหัวใจและการหายใจ ก็มีออกซิเจนที่ขนส่งไปให้กล้ามเนื้อที่ออกกำลังมากขึ้นเท่านั้น และคนไข้นั้น ๆ ก็สามารถออกกำลังได้หนักมากขึ้นเท่านั้น พูดง่าย ๆ ก็คือ สมรรถภาพการใช้ออกซิเจนยิ่งมากเท่าไร ก็มีสมรรถภาพทางแอโรบิกสูงขึ้นเท่านั้น การทดสอบด้วย Cooper test หรือ multi-stage fitness test สามารถใช้ประเมินสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนของบุคคลในกิจกรรรมหรืองานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ

ระดับที่สมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสามารถเพิ่มได้ด้วยการออกกำลังกายต่างกันมากในประชากรมนุษย์ แม้การเพิ่ม VO2 max เฉลี่ยโดยเป็นการตอบสนองต่อการฝึกจะอยู่ที่ 17% กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มก็จะมีผู้ที่ตอบสนองได้ดีมาก คืออาจเพิ่มสมรรถภาพได้เป็นทวีคูณ และก็จะมีผู้ที่ตอบสนองได้ไม่ดี คือแทบไม่ได้หรือไม่ได้ประโยชน์จากการฝึกเลย งานศึกษาต่าง ๆ ได้แสดงว่า ประมาณ 10% ของบุคคลที่มีสุขภาพปกติจะไม่สามารถเพิ่มสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนด้วยการออกกำลังกายได้เลย และระดับการตอบสนองจะสืบทอดเชื้อสายได้ ซึ่งแสดงว่าพันธุกรรมเป็นตัวกำหนดลักษณะปรากฏเช่นนี้

ทางเลือก

การออกกำลังกายอย่างหนัก เช่น การฝึกออกกำลังกายอย่างหนักสลับกับออกกำลังแบบพักระยะสั้น ๆ (high-intensity interval training, HIIT) เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึมเมื่อพัก (resting metabolic rate, RMR) ภายใน 24 ชม. หลังจากออกกำลังกาย ซึ่งรวม ๆ แล้วใช้แคลอรีมากกว่าการออกกำลังกายที่เบากว่านั้น ส่วนการออกกำลังแบบเบาจะใช้แคลอรีในระหว่างออกกำลังกายมากกว่า แต่หลังจากนั้นก็ลดลง

รูปแบบต่าง ๆ

กลางแจ้ง

ในร่มหรือกลางแจ้ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Sharon A. Plowman; Denise L. Smith (2007-06-01). Exercise Physiology for Health, Fitness, and Performance. Lippincott Williams & Wilkins. p. 61. ISBN 978-0-7817-8406-1. สืบค้นเมื่อ 2011-10-13.
  2. Cooper, Kenneth H (1997). Can stress heal?. Thomas Nelson Inc. p. 40. ISBN 978-0-7852-8315-7. สืบค้นเมื่อ 2011-10-19.
  3. McArdle, William D; Katch, Frank I; Katch, Victor L (2006). Essentials of exercise physiology. Lippincott Williams & Wilkins. p. 204. ISBN 978-0-7817-4991-6. สืบค้นเมื่อ 2011-10-13.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  4. Hale, Tudor (2008-02-15). "History of developments in sport and exercise physiology: A. V. Hill, maximal oxygen uptake, and oxygen debt". Journal of Sports Sciences (ภาษาอังกฤษ). 26 (4): 365–400. doi:10.1080/02640410701701016. ISSN 0264-0414. PMID 18228167.
  5. Bassett, D. R.; Howley, E. T. (1997). "Maximal oxygen uptake: "classical" versus "contemporary" viewpoints". Medicine and Science in Sports and Exercise. 29 (5): 591–603. ISSN 0195-9131. PMID 9140894.
  6. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1922". NobelPrize.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-10-11.
  7. Seiler, Stephen (2011). (PDF). SportScience. 15 (5). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2018-10-12. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  8. . Human Kinetics Europe. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2018-11-16. สืบค้นเมื่อ 2018-10-11. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  9. Sassatelli, Roberta (2006). "Fit Bodies. Fitness Culture and Gym".CS1 maint: uses authors parameter (link)
  10. KRUCOFF, CAROL (1998-06-22). "Going Back to the Basics With Calisthenics". Los Angeles Times (ภาษาอังกฤษ). ISSN 0458-3035. สืบค้นเมื่อ 2018-10-08.
  11. "Five basic exercises for fitness in 1961". CBC Archives (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-10-08.
  12. Stracher, Cameron. "Running on Empty: An American Sports Tradition Fades" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-10-11.
  13. Cooper, Kenneth H. (1983) [1968]. Aerobics (revised, reissue ed.). Bantam Books. ISBN 978-0553274479.
  14. Netburn, Deborah (2009-03-30), "Dr. Kenneth Cooper got a nation moving through aerobics", Los Angeles Times
  15. ""Father of Aerobics" Kenneth Cooper, MD, MPH to receive Healthy Cup Award from Harvard School of Public Health". News (ภาษาอังกฤษ). 2008-04-16. สืบค้นเมื่อ 2018-10-08.
  16. "Dr. Kenneth Cooper and How He Became Known as the Father of Aerobics". Club Industry. 2008-09-01. สืบค้นเมื่อ 2018-10-08.
  17. "(PDF) The Fitness Revolution. Historical Transformations in a Global Gym and Fitness Culture". ResearchGate (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-10-07.
  18. Stern, Marc (2008). (PDF). Business and Economic History On-line. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2018-10-07. สืบค้นเมื่อ 2018-10-07. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  19. Wayne, Jake (2011-06-14). "Aerobic Vs. Anaerobic Fitness". LIVESTRONG.COM. สืบค้นเมื่อ 2013-04-21.
  20. Pedersen, BK (2013). "Muscle as a secretory organ". Compr Physiol. 3: 1337–1362. PMID 23897689.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  21. "Fat vs. carbohydrate metabolism during aerobic exercise".
  22. Watt, Matthew J; และคณะ (June 2002). "Intramuscular triacylglycerol, glycogen and acetyl group metabolism during 4 h of moderate exercise in man". J Physiol. 541 (Pt 3): 969–78. doi:10.1113/jphysiol.2002.018820. PMC 2290362. PMID 12068055.
  23. . myDr. 2010-01-11. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2018-10-03. สืบค้นเมื่อ 2016-05-17. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  24. "Cardiovascular fitness is linked to intelligence".
  25. "Effects of Different Modes of Exercise Training on Glucose Control and Risk Factors for Complications in Type 2 Diabetic Patients A meta-analysis". 2006. doi:10.2337/dc06-1317. Cite journal requires |journal= (help)
  26. Kent, Michael (1997). aerobic exercise. Food and Fitness: A Dictionary of Diet and Exercise. Oxford University Press.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  27. Cooper, Kenneth H. (2010). "The Benefits Of Exercise In Promoting Long And Healthy Lives - My Observations". Methodist DeBakey Cardiovascular Journal. 6 (4): 10–12. doi:10.14797/mdcj-6-4-10.
  28. Hebestreit, Helge; Bar-Or, Oded (2008). The Young Athlete. Blackwell Publishing Ltd. p. 443. ISBN 978-1-4051-5647-9. สืบค้นเมื่อ 2014-07-29.
  29. Bouchard, Claude; Ping An; Treva Rice; James S. Skinner; Jack H. Wilmore; Jacques Gagnon; Louis Perusse; Arthus S. Leon; D. C. Rao (1999-09-01). "Familial aggregation of VO(2max) response to exercise training: results from the HERITAGE Family Study". Journal of Applied Physiology. 87 (3): 1003–1008. doi:10.1152/jappl.1999.87.3.1003. PMID 10484570. สืบค้นเมื่อ 2007-07-17.
  30. Kolata, Gina (2002-02-12). "Why Some People Won't Be Fit Despite Exercise". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2007-07-17.
  31. (PDF). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2007-03-19.

อ้างอิงอื่น ๆ

  • Cooper, Kenneth C. The New Aerobics. Eldora, Iowa: Prairie Wind.
  • Donatelle, Rebecca J. Health: The Basics. 6th ed. San Francisco: Pearson Education, Inc. 2005.
  • Hinkle, J. Scott. School Children and Fitness: Aerobics for Life. Ann Arbor, MI: ERIC
  • Clearinghouse on Counseling and Personnel Services.
  • Aberg MA, Pedersen NL, Torén K, Svartengren M, Bäckstrand B, Johnsson T, Cooper-Kuhn CM, Aberg ND, Nilsson M, & Kuhn HG. (2009) Cardiovascular fitness is associated with cognition in young adulthood. Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America.
  • Guiney, Hayley & Machado, Liana. Benefits of regular exercise for executive functioning in healthy populations. Psychon. Bull. Rev. 2013.
  • Rendi, Maria, Szabo, Atila, Szabo, Tomas, Velenczei, Attila & Kovas, Arpad. Acute psychological benefits of aerobic exercise: A field study into the effects of exercise characteristics. Psychol, Health. Med. 2008.

การออกกำล, งกายใช, ออกซ, เจน, บทความน, างอ, งคร, สต, กราช, คร, สต, ทศวรรษ, คร, สต, ศตวรรษ, งเป, นสาระสำค, ญของเน, อหา, หร, คาร, โอ, หร, การออกกำล, งกายแบบแอโรบ, งกฤษ, aerobic, exercise, cardio, เป, นการออกกำล, งกายต, งแต, เบาจนถ, งหน, กซ, งใช, ออกซ, เจนในกระบว. bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha karxxkkalngkayichxxksiecn hrux khardiox hrux karxxkkalngkayaebbaexorbik xngkvs aerobic exercise cardio epnkarxxkkalngkaytngaetebacnthunghnksungichxxksiecninkrabwnkarsrangphlngngan 1 aexorbik inphasaxngkvshmaythung smphnthkb ekiywkb hruxtxngichxxksiecnxisra 2 aelahmaythungkarichxxksiecnephuxihidphlngnganphxrahwangxxkkalngkayphanemaethbxlisumthiichxxksiecn 3 thwipaelwkickrrmtngaetebacnthungpanklangthisamarthrxngrbidxyangephiyngphxdwyemaethbxlisumsungichxxksiecn cathaidepnewlanan 1 twxyangrwmthngkarwingthangikl khux cxkking karwayna karpnckryan aelakaredinkarxxkkalngaebbaexorbikcaephimkhwamxdthnkhxngklamenux enuxha 1 prawtichawtawntk 2 karxxkkalngkayaebbaexorbikaelaaebbxaaenolbik 3 praoychn 4 smrrthphaphkarichxxksiecn 5 thangeluxk 6 rupaebbtang 6 1 klangaecng 6 2 inrmhruxklangaecng 7 duephim 8 xangxing 8 1 xangxingxun prawtichawtawntk aekikhkhxmulephimetim karxxkkalngkay prawtichawtawntk aephthysrirwithyachawxngkvs xarkhibxld hill Archibald Hill idesnxaenwkhidekiywkbkarrbxxksiecnekhaesllsungsud maximal oxygen uptake VO2 max inpi 1922 4 5 txmahillaelaaephthychaweyxrmnxikthanhnung Otto Meyerhof idrwmrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthypi 1922 ephraanganthithatanghak ineruxngemaethbxlisumkhxngphlngnganinklamenux 6 xasynganni nkwithyasastrtxmacungerimwdkarichxxksiecnemuxxxkkalngkay 7 8 hlngcaksngkhramolkkhrngthisxng kickrrmephuxsukhphaphaelaephuxhyxnicaebbraybukhkhl imidrwmklum echn cxkking kerimidkhwamniym 9 aephnkarxxkkalngkaykhxngkxngthphxakasaekhnadathiphimphinpi 1961 idchwytngwthnthrrmkarxxkkalngkaydngthimiinpccubn 10 11 inchwngkhristthswrrs 1970 karwingcungidkhwamniymmakkhunodyidaerngdliccakkilaoxlimpik 12 inkhristthswrrs 1960 nawaxakasexk nph ekhnenth khuepxr aehngkxngthphxakasshrthidsnbsnunaenwkhideruxngkarxxkkalngkayaebbaexorbik odyidthanganwicykhnadihyepnkhrngaerkkbbukhlakrkhxngkxngthphxakaskwa 5 000 khn 13 14 hlngcakidixediycakkhwamechuxwa karxxkkalngkayxacchwyrksasukhphaph sungtxmaekhaidphimphinhnngsuxpi 1968 khux Aerobics inpi 1970 hmxcungidtngsthabnimaeswnghaphlkairkhxngtnexng Cooper Institute ephuxthanganwicyaelaihkarsuksaineruxngewchkrrmpxngkn preventive medicine aelwtiphimphhnngsuxsahrbmwlchnkhux The New Aerobics inpi 1979 hmxsngesrimihkhnepnlan xxkkalngkay dngnn pccubncungidchuxwa bidakhxngaexorbik 15 16 karetnaexorbikidphthnakhunepnrupaeaebbkarxxkkalngkayinchwngkhristthswrrs 1970 aelwidrbkhwamniymthwolkinkhristthswrrs 1980 hlngnkaesdnghyingkhux ecn fxndaidxxkwidioxaexorbikinpi 1982 17 18 karxxkkalngkayaebbaexorbikaelaaebbxaaenolbik aekikh tarangaesdngkaraebngkarxxkkalngkayaelaxtrahwicetnepnaebbaexorbik smxxn aelaxaaenorbik smekhm karxxkkalngkayaebbaexorbikkbsmrrthphaphthangkaymkepriybkbkarxxkkalngkayaebbxaaenorbik sungmikarfukephuxsrangkhwamaekhngaekrngaelakarwingrayasnepntwxyangednthisud karxxkkalngkaythngsxngaebbtangknodychwngewlaaelakhwamekhmkhxngkarichklamenuxthiekiywkhxng aelaodyprimanphlngnganthisrangkhuninklamenux 19 nganwicypi 2013 eruxngkhwamepnxwywahlngsarkhxngklamenuxidaesdngwa karxxkkalngkaythngaebbaexorbikaelaxaaenorbikoprohmtkarhlngimoxkhin myokine sungmipraoychnrwmthngthaihenuxeyuxihmngxk sxmaesmenuxeyux mibthbathtang inkartankarxkesb aeladngnn cungldkhwamesiyngkarekidorkhtang enuxngkbkarxkesb karhlngimoxkhinkhunxyukbpriman chwngewla aelakhwamekhmthiichklamenux dngnn karxxkkalngkaythngsxngaebbcungmipraoychneyiyngni 20 xnung insthankarnekuxbthukxyang karxxkkkalngkayaebbxaaenorbikcaekidphrxmkbaebbaexorbik ephraaemaethbxlisumaebbxaaenorbikthimiprasiththiphaphnxykwacatxngichesrimephraatxngichphlngnganekinskyphaphkhxngrabbaexorbik dngnn thieriykwakarxxkkalngkayaebbichxxksiecnxaceriykidxyangaemnyamakkwaepnaebb ichxxksiecnodyswnediyw ephraaxxkkalngimhnkphxsrangaelkett lactate phankrabwnkarhmkiphruewt pyruvate fermentation dngnn cungepnkaraeprphlngnganthiidthnghmdcakkharobihedrtodyichxxksiecnebuxngtnemuxerimxxkaerng iklokhecninklamenuxcaslayepnkluokhs thicaphaniklokhilsisaelwsrangiphruewt sungkcathaptikiriyakbxxksiecn wtckrkrdsitrik Chemiosmosis aelwsrangkharbxnidxxkisdkbnakhnathiplxyphlngngan aetthakhadxxksiecn echn inkarxxkkalngkayaebbxaaenorbik emuxtxngekhluxnihwxyangrwderw kharobihedrtcahmderwkhunephraa pyruvate cahmkihepnaelkett dngnn thakarxxkkalngkayekhmekinxtrathirabbhwicrwmhlxdeluxdcasamarthcdsngxxksiecnipihklamenuxid phlkkhuxkarsasmaelkettxyangrwderwsungcathaihxxkkalngkaytxipimid phlimphungprasngkhkhxngkarsasmaelkettebuxngtnrwmthngkarkhwamrusukrxnthiklamenux aelainthisudxacrwmkhwamkhlunishruxaemaetxaeciyn thaxxkkalngkaytxipodyimphkphxihkacdaelkettxxkcakeluxdemuxradbiklokhecninklamenuxerimhmdlng tbkcaplxykluokhsekhaineluxd aelakcaekidemaethbxlisumxasyikhmnmakkhunephuxihechuxephlingaekwithiemaethbxlisumthiichxxksiecn dngnn karxxkkalngkayaebbaexorbikxacidechuxephlingcakiklokhecnsarxng ikhmnsarxng hruxcakthngsxng khunxyukbkhwamhnkeba karxxkkalngkayaebbaexorbikhnkklang thi 65 VO2 max hwicetn 150 khrngtxnathisahrbphumixayu 30 pi cathaihichikhmnepnphlngnganmakthisud inradbni ikhmnxacihphlngngan 40 60 thnghmdodykhunxyukbrayaewlakarxxkkalngkay swnkarxxkkalngkayhnkkwa 75 VO2max hwicetn 160 khrngtxnathi odyhlkcaichiklokhecnepnphlngngan 21 22 inmnusyphuimichnkkilaemuxphk klamenuxhlk inrangkaypkticamiphlngnganphxihxxkkalngkayxyangkrachbkraechngepnewla 2 chm karhmdiklokhecnepnehtuihhmdaerngxyangchbphln aetthafuk hruxxxkkalnghnknxykwa hruxthankharobihedrtihmakinwnkxnaekhngkila xacyudcudhmdaerngxxkipekin 4 chm 22 karxxkkalngkayaebbaexorbikmimakmayhlayxyang odythwip cathainradbhnkpanklangodyepnrayaewlakhxnkhangyaw yktwxyangechn karwingthangiklthierwpanklangepnkarxxkkalngkayaebbaexorbik aetkarwingrayasnimich karelnethnnisediywthitxngkhybtwxyuekuxbtlxdodythwipcdepnkickrrmaebbaexorbik aetkarelnkxlfhruxethnniskhu thikhybtwrayasn slbkbphkthimimakkwa xacimichkarxxkkalngkayaebbaexorbikodyhlk dngnn kilabangchnidcungepnaebbaexorbikodythrrmchati ethiybkbkarxxkkalngkayaebbaexorbikodyechphaa echn karetnaexorbik thixxkaebbephuxephimsmrrthphaphthangaexorbikaelasmrrthphaphthangkay aelamkrwmkarichklamenuxkhaodyhlkhruxodyswnediyw aemcamikhxykewnbang yktwxyangechn karphayerux 2 000 emtrhruxyingkwaepnkilaaexorbiksungxxkkalngklamenuxhlayklumrwmthngkha thxng hnaxk aelaaekhnpraoychn aekikhpraoychnkhxngkarxxkkalngkayaebbaexorbikxyangsmaesmxrwmthng 23 ephimkhwamaekhngaerngkhxngklamenuxthangkarhayic xanwyihhayicekhaxxkidsadwk ephimkhwamaekhngaerngaelakhnadkhxngklamenuxhwic ephimprasiththiphaphkarsubeluxdaelaldxtrakaretnhwicemuxphk epnkrabwnkarthieriykinphasaxngkvswa aerobic conditioning ephimprasiththiphaphkhxngrabbihlewiynaelaldkhwamdnolhit ephimcanwnesllemdeluxdaednginrangkay sungxanwykarkhnsngxxksiecn prbsukhphaphthangic ldkhwamekhriydaelakarekidkhwamsumesra phrxmkbephimsmrrthphaphthangkhwamkhidxan thangprachan 24 ldkhwamesiyngorkhebahwannganwiekhraahxphimannganhnungsarwcngansuksahlaynganaelwaesdngwa karxxkkalngkayaebbaexorbikchwyldradb Hb A1C khxngkhnikhebahwanchnid 2 25 dngnn karxxkkalngkayaebbnicungldkhwamesiyngtayephraapyhahwicrwmhlxdeluxd xnung kickrrmaebbaexorbikthimiradbkarkrathbkrathngsung echn cxkkinghruxkraoddechuxk xackratunihkradukngxk aelaldkhwamesiyngphawakradukphrunsahrbthngchayhyingnxkehnuxpraoychnthangsukhphaph karxxkkalngkayaebbaexorbikyngthaihrangkaymiprasiththiphaphmakkhunrwmthng ephimomelkulekbphlngngan echn ikhmnaelakharobihedrtphayinklamenux thaihxdthnyingkhun karekidesneluxdihmthihnwyphunthankhxngklamenuxlay khux sarcomere thaiheluxdihlphanklamenuxiddikhun thaihemaethbxlisumthiichxxksiecninklamenuxthanganiderwkhun thaihemuxxxkkalngxyanghnk phlngnganthiichxxksiecncamixtraswnsungkhun ephimsmrrthphaphichikhmnepnphlngnganinchwngxxkkalngkay sungchwysngwniklokhecnphayinklamenux ephimkhwamerwthiklamenuxkhunsphaphhlngcakxxkkalngxyanghnk miphldithangprasathchiwphaph prbprungkarechuxmtxknkhxngokhrngsranginsmxng ephimkhwamhnaaennkhxngenuxetha ephimkaenidprasath thaihkhidxaniddikhun prbprungkarthanganthangprachan rwmthngkarkhwbkhumphvtikrrmxasyprachanaelakhwamcaaebbtang prbprunghruxdarngsukhphaphcitkhxesiykhxngkarxxkkalngkayaebbaexorbikrwmthng karbadecbephraaxxkkalngmakekinip emuxxxkkalngthithakarsa hruxkrathbkrathngmak echnwingthangikl imichwithisrangklamenuxthimiprasiththiphaph cakacdikhmnidktxemuxthaxyangsmaesmxthngpraoychnthangsukhphaphaelathangprasiththiphaphkhxngrangkayxnepnphlkarfuk caidktxemuxxxkkalngkaynanphxaelabxyphx aehlngxangxingodymakaenanaihthaxyangnxy 20 nathi 3 khrngtxspdah 26 karxxkkalngkayinorngyim nph khuepxrexngniyamkarxxkkalngkayaebbaexorbikwa epnsmrrthphaphinkarichxxksiecninradbsungsudemuxthanganhnk aelaidxthibaypraoychnthangsukhphaphhlk bangxyangrwmthngprasiththiphaphkhxngpxdephraaephimsmrrthphaphkarhayicinradbsungsud sungthaihsamarthewiynxakasmakkwainrayaewlathisnkwa emuxskyphaphkarhayicsungkhun kcasamarthdudxxksiecnekhaipineluxdiderwkhun aelaephimkacdkharbxnidxxkisd hwiccathanganxyangmiprasiththiphaphyingkhun odyprimatreluxd canwnehomoklbinaelaemdeluxdaedngkcasungkhun sungephimsmrrthphaphkarkhnsngxxksiecncakpxdipyngklamenux emaethbxlisumcadikhun thaihsamarthbriophkhaekhlxriidsungkhunodyimephimnahnk xacchwychalxphawakradukphrunephraamimwlklamenuxsungkhun ldikhmn aelaephimkhwamhnaaennkhxngkraduk emuxsingehlanidikhun oxkasepnebahwankcaldlngephraaklamenuxephanataliddikwaikhmn praoychnhlkxyanghnungkkhuxnahnkxacldlngxyangcha aetcalderwkhunthacakdaekhlxrithithandwy dngnn cungldkarekidorkhxwn 27 ekhruxngwd VO2 max thikhnikhcaxxkkalnghnkkhun bnsayphan tarangorkhxwnkhuxmidchnimwlkay BMI 30 hruxyingkwannsmrrthphaphkarichxxksiecn aekikhsmrrthphaphthangaexorbikhmaythungsmrrthphaphkarthangankhxngrabbhwicaelakarhayicrwmthnghwic pxd aelahlxdeluxd epnxxksiecncanwnmakthisudrangkayichidinchwngkarxxkkalngkayxyanghnk phayinchwngrayaewlahnung 28 epnfngkchnkhxngthngsmrrthphaphthangrabbhwicaelakarhayic aelasmrrthphaphkarexaxxksiecnmaichcakeluxdthiihlewiynephuxwdsmrrthphaphsungsud aephthyxactrwc VO2 max sungkhnikhcatxngxxkkalngkayhnkkhun bnsayphan erimtngaetedinsbay cnthungwingcnhmdaerng odykhnikhcaishnakakephuxwdkarichxxksiecn aelakhwamerwsayphancaephimkhunepnraya khawdyingsungethairsahrbradbkhwamkhngthnkhxngrabbhwicaelakarhayic kmixxksiecnthikhnsngipihklamenuxthixxkkalngmakkhunethann aelakhnikhnn ksamarthxxkkalngidhnkmakkhunethann phudngay kkhux smrrthphaphkarichxxksiecnyingmakethair kmismrrthphaphthangaexorbiksungkhunethann karthdsxbdwy Cooper test hrux multi stage fitness test samarthichpraeminsmrrthphaphkarichxxksiecnkhxngbukhkhlinkickrrrmhruxnganidnganhnungodyechphaaradbthismrrthphaphkarichxxksiecnsamarthephimiddwykarxxkkalngkaytangknmakinprachakrmnusy aemkarephim VO2 max echliyodyepnkartxbsnxngtxkarfukcaxyuthi 17 klumprachakraetlaklumkcamiphuthitxbsnxngiddimak khuxxacephimsmrrthphaphidepnthwikhun aelakcamiphuthitxbsnxngidimdi khuxaethbimidhruximidpraoychncakkarfukely 29 ngansuksatang idaesdngwa praman 10 khxngbukhkhlthimisukhphaphpkticaimsamarthephimsmrrthphaphkarichxxksiecndwykarxxkkalngkayidely 30 aelaradbkartxbsnxngcasubthxdechuxsayid sungaesdngwaphnthukrrmepntwkahndlksnapraktechnni 29 thangeluxk aekikhkarxxkkalngkayxyanghnk echn karfukxxkkalngkayxyanghnkslbkbxxkkalngaebbphkrayasn high intensity interval training HIIT ephimxtraemaethbxlisumemuxphk resting metabolic rate RMR phayin 24 chm hlngcakxxkkalngkay 31 sungrwm aelwichaekhlxrimakkwakarxxkkalngkaythiebakwann swnkarxxkkalngaebbebacaichaekhlxriinrahwangxxkkalngkaymakkwa aethlngcaknnkldlngrupaebbtang aekikhklangaecng aekikh karedin karpnckryan karwing xinilnsekt sektbxrdinrmhruxklangaecng aekikh karwayna mwyithy kraoddechuxk aexorbik cxkkingduephim aekikhphlthangprasathchiwphaphkhxngkarxxkkalngkay karhayicradbesllxangxing aekikh 1 0 1 1 Sharon A Plowman Denise L Smith 2007 06 01 Exercise Physiology for Health Fitness and Performance Lippincott Williams amp Wilkins p 61 ISBN 978 0 7817 8406 1 subkhnemux 2011 10 13 Cooper Kenneth H 1997 Can stress heal Thomas Nelson Inc p 40 ISBN 978 0 7852 8315 7 subkhnemux 2011 10 19 McArdle William D Katch Frank I Katch Victor L 2006 Essentials of exercise physiology Lippincott Williams amp Wilkins p 204 ISBN 978 0 7817 4991 6 subkhnemux 2011 10 13 CS1 maint uses authors parameter link Hale Tudor 2008 02 15 History of developments in sport and exercise physiology A V Hill maximal oxygen uptake and oxygen debt Journal of Sports Sciences phasaxngkvs 26 4 365 400 doi 10 1080 02640410701701016 ISSN 0264 0414 PMID 18228167 Bassett D R Howley E T 1997 Maximal oxygen uptake classical versus contemporary viewpoints Medicine and Science in Sports and Exercise 29 5 591 603 ISSN 0195 9131 PMID 9140894 The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1922 NobelPrize org phasaxngkvs subkhnemux 2018 10 11 Seiler Stephen 2011 A Brief History of Endurance Testing in Athletes PDF SportScience 15 5 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2018 10 12 Unknown parameter deadurl ignored help History of Exercise Physiology Human Kinetics Europe khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2018 11 16 subkhnemux 2018 10 11 Unknown parameter deadurl ignored help Sassatelli Roberta 2006 Fit Bodies Fitness Culture and Gym CS1 maint uses authors parameter link KRUCOFF CAROL 1998 06 22 Going Back to the Basics With Calisthenics Los Angeles Times phasaxngkvs ISSN 0458 3035 subkhnemux 2018 10 08 Five basic exercises for fitness in 1961 CBC Archives phasaxngkvs subkhnemux 2018 10 08 Stracher Cameron Running on Empty An American Sports Tradition Fades phasaxngkvs subkhnemux 2018 10 11 Cooper Kenneth H 1983 1968 Aerobics revised reissue ed Bantam Books ISBN 978 0553274479 Netburn Deborah 2009 03 30 Dr Kenneth Cooper got a nation moving through aerobics Los Angeles Times Father of Aerobics Kenneth Cooper MD MPH to receive Healthy Cup Award from Harvard School of Public Health News phasaxngkvs 2008 04 16 subkhnemux 2018 10 08 Dr Kenneth Cooper and How He Became Known as the Father of Aerobics Club Industry 2008 09 01 subkhnemux 2018 10 08 PDF The Fitness Revolution Historical Transformations in a Global Gym and Fitness Culture ResearchGate phasaxngkvs subkhnemux 2018 10 07 Stern Marc 2008 The Fitness Movement and the Fitness Center Industry 1960 2000 PDF Business and Economic History On line khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2018 10 07 subkhnemux 2018 10 07 Unknown parameter deadurl ignored help Wayne Jake 2011 06 14 Aerobic Vs Anaerobic Fitness LIVESTRONG COM subkhnemux 2013 04 21 Pedersen BK 2013 Muscle as a secretory organ Compr Physiol 3 1337 1362 PMID 23897689 CS1 maint uses authors parameter link Fat vs carbohydrate metabolism during aerobic exercise 22 0 22 1 Watt Matthew J aelakhna June 2002 Intramuscular triacylglycerol glycogen and acetyl group metabolism during 4 h of moderate exercise in man J Physiol 541 Pt 3 969 78 doi 10 1113 jphysiol 2002 018820 PMC 2290362 PMID 12068055 Aerobic exercise the health benefits myDr 2010 01 11 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2018 10 03 subkhnemux 2016 05 17 Unknown parameter deadurl ignored help Cardiovascular fitness is linked to intelligence Effects of Different Modes of Exercise Training on Glucose Control and Risk Factors for Complications in Type 2 Diabetic Patients A meta analysis 2006 doi 10 2337 dc06 1317 Cite journal requires journal help Kent Michael 1997 aerobic exercise Food and Fitness A Dictionary of Diet and Exercise Oxford University Press CS1 maint uses authors parameter link Cooper Kenneth H 2010 The Benefits Of Exercise In Promoting Long And Healthy Lives My Observations Methodist DeBakey Cardiovascular Journal 6 4 10 12 doi 10 14797 mdcj 6 4 10 Hebestreit Helge Bar Or Oded 2008 The Young Athlete Blackwell Publishing Ltd p 443 ISBN 978 1 4051 5647 9 subkhnemux 2014 07 29 29 0 29 1 Bouchard Claude Ping An Treva Rice James S Skinner Jack H Wilmore Jacques Gagnon Louis Perusse Arthus S Leon D C Rao 1999 09 01 Familial aggregation of VO 2max response to exercise training results from the HERITAGE Family Study Journal of Applied Physiology 87 3 1003 1008 doi 10 1152 jappl 1999 87 3 1003 PMID 10484570 subkhnemux 2007 07 17 Kolata Gina 2002 02 12 Why Some People Won t Be Fit Despite Exercise The New York Times subkhnemux 2007 07 17 East Tennessee State University Thesis PDF khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2007 03 19 xangxingxun aekikh khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb karxxkkalngkayichxxksiecnCooper Kenneth C The New Aerobics Eldora Iowa Prairie Wind Donatelle Rebecca J Health The Basics 6th ed San Francisco Pearson Education Inc 2005 Hinkle J Scott School Children and Fitness Aerobics for Life Ann Arbor MI ERIC Clearinghouse on Counseling and Personnel Services Aberg MA Pedersen NL Toren K Svartengren M Backstrand B Johnsson T Cooper Kuhn CM Aberg ND Nilsson M amp Kuhn HG 2009 Cardiovascular fitness is associated with cognition in young adulthood Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America Guiney Hayley amp Machado Liana Benefits of regular exercise for executive functioning in healthy populations Psychon Bull Rev 2013 Rendi Maria Szabo Atila Szabo Tomas Velenczei Attila amp Kovas Arpad Acute psychological benefits of aerobic exercise A field study into the effects of exercise characteristics Psychol Health Med 2008 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karxxkkalngkayichxxksiecn amp oldid 8046479, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม