fbpx
วิกิพีเดีย

เมาส์

เมาส์ (อังกฤษ: mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมตัวชี้บนจอคอมพิวเตอร์ (pointing device) เป็นอุปกรณ์สำคัญในการใช้งานคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีรูปร่าง ลักษณะ สีสัน ต่าง ๆ กัน บางรุ่นมีไฟประดับให้สวยงาม เพื่อให้เมาะสมกับการใช้งานในแต่ละประเภทและความชื่นชอบของผู้ใช้ เช่นมีขนาดเล็ก มีส่วนโค้งและส่วนเว้าเข้ากับอุ้งมือของผู้ใช้ มีรูปร่างสีสันแปลกตาไปจากรุ่นทั่วไป หรือเป็นรูปตัวการ์ตูน และล่าสุดได้มีการพัฒนา เมาส์อากาศ (Air Mouse) ซึ่งสามารถใช้งานเมาส์โดยถือขึ้นมาเอียงไปมาในอากาศโดยไม่จำเป็นต้องใช้แผ่นรอง ก็สามารถควบคุมตัวชี้ได้เช่นกัน

ลักษณะการทำงานของเมาส์ (แบบลูกกลิ้ง)
1: เมื่อเคลื่อนเมาส์ ลูกบอลด้านล่างจะหมุน
2: จานหมุนสองแนว จับการเคลื่อนไหวของลูกบอล
3: เมื่อจานหมุนทำการหมุน รูบริเวณขอบจานหมุนหมุ
4: แสงอินฟราเรด ส่งผ่านรูจานหมุน
5: เซนเซอร์อ่านค่า และส่งเป็นค่าของความเร็วการเคลื่อนไหวในแนวแกน X

การทำงานของเมาส์ ภายในตัวเมาส์จะมีอุปกรณ์สำหรับตรวจจับตำแหน่งการเคลื่อนไหวของลูกกลิ้งยาง(สำหรับรุ่นเก่า)หรืออุปกรณ์ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของแสง (ในเมาส์ที่ใช้แอลอีดีหรือเลเซอร์เป็นแหล่งกำเนิดแสง) โดยตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของตัวชี้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์

การเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ การใช้งานเมาส์ร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการต่อมันเข้ากับช่องต่อของคอมพิวเตอร์ ซึ่งในยุคแรก ๆ นั้นช่องสำหรับต่อเมาส์จะมีลักษณะเป็นหัวกลมใหญ่ภายในมีขาเป็นเข็มเรียกว่าแบบ DIN ต่อมามีการพัฒนาช่องต่อเป็นแบบหัวเข็มที่เล็กลงเรียกว่า PS/2 แต่การเชื่อมต่อทั้งสองแบบนั้นไม่สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลากหลาย จึงมีการพัฒนาช่องต่อแบบ USB ขึ้นมา และในเวลาใกล้ ๆ กันก็ได้มีการพัฒนาการเชื่อมต่อเมาส์แบบไร้สายขึ้นมาโดยใช้สัญญาณวิทยุเป็นตัวเชื่อมต่อแทนสายเรียกว่า เมาส์ไร้สาย (Wireless mouse)

เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนู (Mouse) และหางหนู และขณะเดียวการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู

การกำเนิดของเมาส์

เมาส์ถูกประดิษฐ์ขึ้นในปี 1963 โดย ผู้คิดค้นประดิษฐ์เม้าส์มีชื่อว่า ดร ดักลาส คาร์ล อิงเกิลบาร์ต Douglas Carl Engelbart ที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด (Stanford Research Institute) หลังจากการทดสอบการใช้งานอย่างละเอียด (เมาส์เคยมีอีกชื่อนึงว่า “บัก” (bug) แต่ภายหลังได้รับความนิยมน้อยกว่าคำว่า “เมาส์”) มันเป็นหนึ่งในการทดลองอุปกรณ์ชี้ (Pointing Device) สำหรับ Engelbart's oN-Line System (NLS) ส่วนอุปกรณ์ชี้อื่นออกแบบมาเพื่อการเคลื่อนไหวในร่างกายส่วนอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ติดกับคางหรือจมูก แต่ท้ายที่สุดแล้วเมาส์ก็ได้รับการคัดเลือกเพราะง่ายต่อการใช้งาน

เมาส์ตัวแรกนั้นมีขนาดใหญ่ และใช้เฟือง 2 ตัววางในลักษณะตั้งฉากกัน การหมุนของแต่ละเฟืองจะถูกแปลไปเป็นการเคลื่อนที่บนแกนในปริภูมิ 2 มิติ เองเกลบาทได้รับสิทธิบัตรเลขที่ US3541541 ในวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.1970 ชื่อ X-Y Position Indicator((ตัวระบุตำแหน่ง X-Y สำหรับระบบแสดงผล) ในตอนนั้น ตั้งใจจะพัฒนาจนสามารถใช้เมาส์ได้ด้วยมือเดียว

เมาส์แบบต่อมาถูกประดิษฐ์ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 โดย บิล อิงลิช (Bill English) ที่ศูนย์วิจัยของบริษัท ซีรอกส์ (Xerox PARC) โดยแทนที่ล้อหมุนด้วยลูกบอลซึ่งสามารถหมุนไปได้ทุกทิศทาง การเคลื่อนไหวของลูกบอลจะถูกตรวจจับโดยล้อเล็ก ๆ ภายในอีกทีหนึ่ง เมาส์ชนิดนี้คล้าย ๆ กับแทร็กบอล และนิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตลอดทศวรรษที่ 1980 และ 1990 ทำให้การใช้เมาส์และคีย์บอร์ดในเวลาเดียวกันสามารถเป็นจริงได้

เมาส์ในปัจจุบันได้รับรูปแบบมาจาก École polytechnique fédérale de Lausanne (EPFL) ภายใต้แรงบันดาลใจของ ศาสตราจารย์ Jean-Daniel Nicoud ร่วมกับวิศวกรและช่างนาฬิกาชื่อ André Guignard ซึ่งการดำเนินงานครั้งนี้ทำให้เกิดบริษัท โลจิเทค (Logitech) ผลิตเมาส์ที่ได้รับความนิยมสูงเป็นยี่ห้อแรก

ปุ่ม

ปุ่มบนเมาส์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงจากในสมัยแรกเพียงเล็กน้อยเท่านั้น โดยอาจจะเปลี่ยนในเรื่องรูปร่าง จำนวน และการวางตำแหน่ง เมาส์ตัวแรกที่ประดิษฐ์โดยเองเกลบาทนั้นมีเพียงปุ่มเดียว แต่ในปัจจุบันเมาส์ที่นิยมใช้กันมี 2 ถึง 3 ปุ่ม แต่ก็มีคนผลิตเมาส์ที่มีถึง 5 ปุ่ม

เมาส์ที่นิยมใช้กันจะมีปุ่มที่ 2 สำหรับเรียกเมนูลัดในซอฟต์แวร์ที่มีการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้มารองรับ ไมโครซอฟท์วินโดวส์ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดก็ออกแบบมาสนับสนุนการใช้ปุ่มที่ 2 นี้ด้วย

ส่วนระบบที่ใช้กับเมาส์ 3 ปุ่มนั้น ปุ่มกลางมักจะใช้เพื่อเรียก แมโคร (แมโคร หรือ Macro คือเครื่องมือที่ใช้เพิ่มการปฏิบัติงานของ Application บางอย่าง ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ซ่อนอยู่ภายใต้โปรแกรมนั้น เช่น โปรแกรม Excel ผู้ใช้อาจจะเขียนคำสั่งขึ้นเองเพื่อใช้ทำงานเฉพาะอย่าง นอกเหนือไปจากการทำงานตามปกติของโปรแกรมนั้น) ในปัจจุบันเมาส์แบบ 2 ปุ่มสามารถใช้งานฟังก์ชันปุ่มกลางของแบบ 3 ปุ่มได้โดย คลิกทั้ง 2 ปุ่มพร้อมกัน

ปุ่มเสริม

บางครั้งเมาส์ก็มีปุ่ม 5 ปุ่มหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับความชอบของผู้ใช้ ปุ่มพิเศษนี้อาจจะใช้ในการเลื่อนไปข้างหน้าหรือถอยหลังสำหรับการท่องเว็บ หรือเป็นปุ่ม scrolling แต่อย่างไรก็ตามฟังก์ชันเหล่านี้ใช้ไม่ได้กับทุกซอฟต์แวร์ และมักจะมีประโยชน์กับเกมคอมพิวเตอร์มากกว่า (เช่นการเปลี่ยนอาวุธในเกมประเภท FPS หรือการใช้สกิลต่าง ๆ ในเกมแนว MMORPG,RTS) เพราะว่าปุ่มพิเศษพวกนี้ เราสามารถที่จะกำหนดฟังก์ชันอะไรลงไปก็ได้ ทำให้การใช้งานเมาส์เหล่านี้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ดักลัส เองเกลบาท นั้นอยากให้มีจำนวนปุ่มมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่เขาได้บอกว่าเมาส์มาตรฐานนั้นควรจะมี 3 ปุ่ม เพราะว่าเขาไม่รู้จะเพิ่มปุ่มเข้าไปตรงไหนนั่นเอง

ล้อเมาส์

นวัตกรรมอย่างหนึ่งของปุ่มเมาส์คือปุ่มแบบเลื่อน (Scroll wheel ล้อเล็ก ๆ วางในแนวขนานกับผิวของเมาส์ สามารถหมุนขึ้นและลงเพื่อจะป้อนคำสั่งใน 1 มิติได้) โดยปกติแล้วจะใช้ในการเลื่อนหน้าต่างขึ้น-ลง เป็นฟังก์ชันที่มีระโยชน์มากสำหรับการดูเอกสารที่ยาว ๆ หรือในบางโปรแกรมปุ่มพวกนี้อาจจะใช้เป็นฟังก์ชันในการซูมเข้า-ออกได้ด้วย ปุ่มนี้ยังสามารถกดลงไปตรง ๆ เพื่อจะใช้เป็นฟังก์ชันปุ่มที่ 3 ได้อีก เมาส์ใหม่ ๆ บางตัวยังมี Scroll wheel แนวนอนอีก หรืออาจจะมีปุ่มที่สามารถโยกได้ถึง 4 ทิศทาง เรียกว่า tilt-wheel หรืออาจจะมีลักษณะเป็นบอลเล็ก ๆ คล้าย ๆ Trackball บังคับได้ทั้ง 2 มิติเรียกว่า scroll ball

การเชื่อมต่อ

เช่นเดียวกับอุปกรณ์รับข้อมูล (input device) อื่น ๆ เมาส์ก็ต้องการการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะส่งข้อมูลไปให้คอมพิวเตอร์ เมาส์ทั่ว ๆ ไปจะใช้สายไฟ เช่น RS-232C, PS/2, ADB หรือ USB โดยปัจจุบันที่นิยมใช้ที่สุด จะเป็น PS/2 และ USB ซึ่งไม่ค่อยสะดวกต่อการใช้งาน จึงมีผู้ประดิษฐ์เมาส์ไร้สายโดยส่งข้อมูลผ่าน อินฟราเรด, คลื่นวิทยุ, หรือ บลูทูธแทน

อินฟราเรด เป็นลักษณะของการถ่ายโอนข้อมูลคล้าย ๆ กับรีโมท (ทีวีหรืออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปในบ้าน) โดยที่อุปกรณ์ส่งสัญญาณและรับสัญญาณต้องอยู่ในระนาบการส่งสัญญาณที่ตรงกันเท่านั้น (เช่นหัวของเมาส์ต้องหันหน้าไปที่ตัวรับสัญญาณตลอดเวลา) ซึ่งการใช้การส่งข้อมูลไร้สายในรูปแบบนี้ไม่เหมาะสมสำหรับอุปกรณ์ที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายอยู่ตลอดเวลาอย่างเมาส์ จึงมีผู้ประดิษฐ์เมาส์ที่ส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุแทน

เมาส์วิทยุ (Radio mouse) เป็นเมาส์ที่ส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุไร้สาย ตัวเมาส์ไม่จำเป็นที่จะต้องอยู่ในระนายเดียวกันกับตัวรับสัญญาณตลอดเวลา ทำให้ผู้ใช้สะดวกสบายมากขึ้น อีกทั้งเรื่องความได้เปรียบเกี่ยวกับระยะทางของสัญญาณ เมาส์สามารถใช้ได้ห่างจากตัวรับสัญญาณได้มากกว่าแบบ Infrared แต่เนื่องจากการใช้เมาส์ผ่านคลื่นวิทยุไร้สายนั้นเป็นการทำให้เกิดการกีดกันและรบกวนกันระหว่างสัญญาณของตัวเมาส์เอง กับระบบโทรศัพท์ไร้สายหรืออินเทอร์เน็ตไร้สายที่อยู่ในช่วงสัญญาณเดียวกัน และอีกทั้งปัญหาเกี่ยวกับการใช้เมาส์รุ่นเดียวกันมากกว่า 2 ชิ้น ทำให้เครื่องในรัศมีการรับสัญญาณของเมาส์ที่อยู่ในคลื่น A เหมือนกันนั้นตอบรับกับเมาส์ตัวอื่น เนื่องจากส่วนใหญ่แล้วเมาส์ไร้สายจะสามารถปรับช่องสัญญาณได้เพียงแค่สองช่องเท่านั้น (A และ B)

เพราะฉะนั้นผู้ประดิษฐ์จึงหันไปพึ่งเทคโนโลยีไร้สายมาตรฐานระบบใหม่ ที่ใช้คลื่นความถี่วิทยุเช่นกันคือ บลูทูธ แต่เนื่องจากผู้คิดค้นและริเร่มระบบบลูทูธได้คาดคำจึงถึงปัญหาเนื่องจากมีผู้ใช้บลูทูธมากไว้แล้ว ทำให้ได้มีการวางแผนระบบการจับคู่อุปกรณ์ขึ้น ทำให้อุปกรณ์หนึ่งไม่ไปรบกวนหรือไปทำหน้าที่บนอีกอุปกรณ์หนึ่งอย่างที่ผู้ใช้ไม่ได้ต้องการ โดยก่อนที่จะใช้อุปกรณ์ด้วยกันจะต้องมีการจับคู่อุปกรณ์กันก่อน จึงจะสามารถใช้อุปกรณ์นั้น ๆ ด้วยกันได้ และความได้เปรียบในเรื่องของความเร็วที่สูงกว่า 40KB/วินาที ของระบบบลูทูธนั้น ทำให้มันสามารถนำไปใช้ได้กับหลากหลายตลาดการสื่อสาร เช่น หูฟังไร้สาย การส่งข้อมูลไร้สาย และรวมไปถึง ตีย์บอร์ดกับเมาส์นั่นเอง

เมาส์บลูทูธ (Bluetooth mouse) นั้นได้ถูกออกแบบมาเพื่อทำงานกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั้งแบบตั้งโต๊ะและแบบพกพา โดยบางเครื่องนั้นได้มีการติดตั้งตัวระบบส่งสัญญาณบลูทูธในเครื่องแล้วด้วย ทำให้ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้อุปกรณ์รับสัญญาณแยกออกมาจากเครื่อง ซึ่งทำให้กินพื้นที่ Bluetooth mouse กำลังจะเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในเร็ว ๆ นี้ และเช่นกันสำหรับ บลูทูธคีย์บอร์ด (Bluetooth keyboard)

การใช้งานปุ่มโดยทั่วไป

การใช้งานเมาส์นั้นมีหลายรูปแบบนอกเหนือไปจากการเลื่อนเมาส์เพื่อเลื่อนเคอร์เซอร์ เช่น การคลิก (การกดปุ่ม) คำว่าคลิกนั้นมีที่มาจากเสียงคลิกเวลาเรากดปุ่มเมาส์นั่นเอง เสียงนี้เกิดขึ้นจาก micro switch (cherry switch) และใช้แถบโลหะที่แข็งแต่ยืดหยุ่นเป็นตัวกระตุ้นสวิทช์ เมื่อเรากดปุ่ม แถบโลหะนี้ก็จะงอ และกระตุ้นให้สวิทช์ทำงานพร้อมทั้งเกิดเสียงคลิก และช่วยให้ภายในไม่มีภาวะสุญญากาศเกิดขึ้น นอกจากนี้นักวิจัยพบว่าผู้ใช้จะตอบสนองกับเสียงคลิกหลังจากกด มากกว่าความรู้สึกที่นิ้วกดลงไปบนปุ่ม

การคลิกครั้งเดียว (Single clicking)

เป็นการใช้งานที่ง่ายที่สุด โดยหมายรวมทั้งการกดปุ่มบนเมาส์ชนิดปุ่มเดียวและชนิดหลายปุ่ม โดยหากเป็นเมาส์ชนิดหลายปุ่ม จะเรียกการคลิกนี้ตามตำแหน่งของปุ่ม เช่น คลิกซ้าย, คลิกขวา

ดับเบิ้ลคลิก (Double-click)

เป็นการคลิกปุ่ม 2 ครั้งติดต่อกันอย่างรวดเร็ว ใช้ในการเปิดไฟล์ต่าง ๆ

ทริเปิลคลิก (Triple-click)

เป็นการคลิกปุ่ม 3 ครั้งติดต่อกันอย่างรวดเร็ว ใช้มากที่สุดใน word processors และใน web browsers เพื่อที่จะเลือกข้อความทั้งย่อหน้า

การคลิกแล้วลาก (Click-and-drag)

คือการกดปุ่มบน object ค้างไว้แล้วลากไปที่ที่ต้องการที่เรากำหนดไว้

Mouse gestures

Mouse gesture เป็นวิธีการผสมผสานการเลื่อนและการคลิกเมาส์ ซึ่งซอฟต์แวร์ที่จะใช้ได้จะต้องจดจำคำสั่งพิเศษต่าง ๆ เหล่านี้ได้ เช่นในโปรแกรมวาดภาพ การเลื่อนเมาส์ในแนวแกน X อย่างรวดเร็วบนรูปร่างใด ๆ จะเป็นการลบรูปร่างนั้น

Tactile mouse

ในปี 2000 Logitech ได้เปิดตัว tactile mouse ซึ่งมีชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่ทำให้เมาส์สั่นได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มส่วนติดต่อกับผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับการสัมผัส เช่นการสั่นเมื่อเคอร์เซอร์อยู่ที่ขอบของ window มีเมาส์ อีกชนิดหนึ่งสามารถถือไว้ในมือโดยไม่ต้องวางบนพื้นผิว โดยสามารถจับการเคลื่อนไหวได้ถึง 6 มิติ (3 มิติ + การหมุนของ 3 แกน = 6 มิติ) ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายสำหรับการนำเสนอทางธุรกิจ เมื่อผู้พูดจะต้องยืนหรือเดินไปมา อย่างไรก็ตาม เมาส์ชนิดนี้ไม่ได้รับความนิยมในวงกว้าง

ความเร็วของเมาส์

ความเร็วของเมาส์มีหน่วยเป็น DPI (Dots Per Inch) ซึ่งคือจำนวนพิกเซลที่เคอร์เซอร์จะเลื่อนได้เมื่อเลื่อนเมาส์ไป 1 นิ้ว (หรือบางทีก็เรียกว่า CPI (Count Per Inch) คือจำนวนครั้งที่เคอร์เซอร์จะเลื่อนได้เมื่อเลื่อนเมาส์ไป 1 นิ้ว) Mouse acceleration/deceleration เป็นทริกของซอฟต์แวร์ที่สามารถทำให้เมาส์เลื่อนช้ากว่าหรือเร็วกว่าความเร็วปกติของมันได้ แต่มีอีกหน่วยนึงที่ไม่ค่อยได้รับความนิยมคือหน่วย Mickey เพราะว่าค่า Mickey เกิดจากการนับ dot ที่เคอร์เซอร์เคลื่อนไปได้โดยคิดรวมถึง Mouse acceleration/deceleration ด้วย ทำให้ค่า Mickey สำหรับการใช้งานแต่ละครั้งอาจจะไม่เท่ากัน จึงไม่ได้รับความนิยม

อุปกรณ์เสริม

แผ่นรองเมาส์

เป็นอุปกรณ์เสริมที่ได้รับความนิยม ซึ่งช่วยให้เลื่อนเมาส์ได้อย่างราบรื่น เนื่องจากโต๊ะหลายชนิดไม่เหมาะที่จะใช้เลื่อนเมาส์โดยตรง เช่นไม้เนื้อหยาบหรือพลาสติกเพราะจะทำให้ด้านล่างของเมาส์เสียหายเร็วเกินไป optical mouse บางตัวไม่ต้องใช้กับเมาส์แพดเพราะได้รับการออกแบบให้ใช้กับผิวไม้ได้โดยตรง ส่วนเมาส์แบบลูกกลิ้งนั้นจะต้องใช้เมาส์แพดเนื่องจากลูกกลิ้งต้องการแรงเสียดทานที่น้อยกว่าปกติซึ่งจะช่วยให้ลูกกลิ้งหมุนได้อย่างราบรื่น

แผ่นหุ้มท้องเมาส์ (Mouse feet covers)

ทำด้วยเทฟลอน ใช้แปะที่ด้านล่างของเมาส์ ซึ่งช่วยให้สามารถขยับเมาส์ได้สะดวกยิ่งขึ้น

อุปกรณ์จัดการสายเมาส์ (Cord managers)

เป็นอุปกรณ์เสริมที่ช่วยจัดการกับสายเมาส์ที่เกะกะ ดังนั้นอุปกรณ์ชิ้นนี้จึงไม่จำเป็นสำหรับเมาส์ไร้สาย

แผ่นเจลวางข้อมือ (Gel wrist pad)

เป็นแผ่นนิ่ม ๆ ใช้รองใต้ข้อมือเพื่อเพิ่มความสบายขณะใช้เมาส์ โดยได้รับการออกแบบให้เข้ากับสรีระของมนุษย์ทำให้ลดความเมื่อยจากการใช้เมาส์เป็นเวลานาน ๆ ได้

เมาส์กับการตลาด

ในปี ค.ศ.1970 บริษัท Xerox PARC ได้ออกเมาส์รุ่น Xerox Star แต่ต่อมาบริษัท Apple ได้ออก Apple Lisa ออกมาแข่ง แต่ถึงกระนั้นเมาส์ของทั้ง 2 บริษัทกลับไม่ประสบผลสำเร็จทางธุรกิจ จนกระทั่งการเปิดตัวของ Apple Macintosh ในปี 1984 ทำให้เมาส์ได้ใช้ในวงกว้างมากยิ่งขึ้น

การเปิดตัวของ Apple Macintosh มีอิทธิพลมาก เนื่องจากความสำเร็จของเครื่อง Apple Macintosh ทำให้ผู้ผลิตหลายรายเริ่มจะผลิตเมาส์กันมากขึ้น และเมื่อระบบ graphical user interfaces (GUI) เข้ามาในทศวรรษที่ 1980 และ 1990 ทำให้เมาส์เป็นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้เมื่อจะใช้คอมพิวเตอร์ ในปี 2000 Dataquest (หน่วยงานทางด้านสถิติแห่งหนึ่งของสหรัฐฯ) ประมาณการว่าเมาส์ได้ถูกขายไปแล้วทั่วโลกรวมมูลค่าทั้งสิ้น 1.5 พันล้านดอลลาร์

เมาส์แบบอื่น ๆ

นอกจากเมาส์แบบปกติที่กล่าวมาแล้ว ซึ่งมักจะเป็นเมาส์แบบใช้ด้วยมือ แต่ยังมีเมาส์แบบอื่น ๆ อีก โดยทำสำหรับผู้ที่มักมีปัญหาเกี่ยวกับข้อมือเมื่อใช้เมาส์เป็นเวลานาน ๆ และผู้ที่ใช้เมาส์แล้วรู้สึกไม่สะดวก ซึ่งเมาส์แบบพิเศษนี้มีรูปแบบต่าง ๆ กันดังนี้

  • แทร็กบอล (Trackball) ใช้งานโดยการเคลื่อนลูกบอลบนแท่น
  • มินิเมาส์ (Mini-mouse) เมาส์ที่มีขนาดเท่าไข่ไก่ ซึ่งออกแบบมาเพื่อสะดวกต่อการพกพา มักจะใช้กับแลปทอป
  • แคเมราเมาส์ (Camera mouse) กล้องที่จะจับการเคลื่อนที่ของศีรษะแล้วเลื่อนเคอร์เซอร์บนจอไปตาม
  • พาล์มเมาส์ (Palm mouse) ใช้ถือไว้ในมือ และสามารถเร่งความเร็วของเมาส์ได้โดยการกดให้แรงขึ้น
  • ฟุตเมาส์ (Foot mouse) ใช้เท้าในการควบคุมแทนการใช้นิ้วมือกด
  • จอยเมาส์ (Joy-Mouse) เป็นการรวมกันระหว่างเมาส์และจอยสติก โดยใช้การโยกจอยแทนการเลื่อนเมาส์

ดูเพิ่ม

เมาส, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดห. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngemas xngkvs mouse khuxxupkrnthiichinkarkhwbkhumtwchibncxkhxmphiwetxr pointing device epnxupkrnsakhyinkarichngankhxmphiwetxrchinhnung sungpccubnthukxxkaebbmaihmiruprang lksna sisn tang kn bangrunmiifpradbihswyngam ephuxihemaasmkbkarichnganinaetlapraephthaelakhwamchunchxbkhxngphuich echnmikhnadelk miswnokhngaelaswnewaekhakbxungmuxkhxngphuich miruprangsisnaeplktaipcakrunthwip hruxepnruptwkartun aelalasudidmikarphthna emasxakas Air Mouse sungsamarthichnganemasodythuxkhunmaexiyngipmainxakasodyimcaepntxngichaephnrxng ksamarthkhwbkhumtwchiidechnknlksnakarthangankhxngemas aebblukkling 1 emuxekhluxnemas lukbxldanlangcahmun 2 canhmunsxngaenw cbkarekhluxnihwkhxnglukbxl 3 emuxcanhmunthakarhmun rubriewnkhxbcanhmunhmu 4 aesngxinfraerd sngphanrucanhmun 5 esnesxrxankha aelasngepnkhakhxngkhwamerwkarekhluxnihwinaenwaekn X karthangankhxngemas phayintwemascamixupkrnsahrbtrwccbtaaehnngkarekhluxnihwkhxnglukklingyang sahrbruneka hruxxupkrntrwccbkarepliynaeplngkhxngaesng inemasthiichaexlxidihruxelesxrepnaehlngkaenidaesng odytwtrwccbcasngsyyanipthikhxmphiwetxrephuxaesdngphlkhxngtwchibnhnacxkhxmphiwetxrkarechuxmtxekhakbkhxmphiwetxr karichnganemasrwmkbekhruxngkhxmphiwetxrnncatxngmikartxmnekhakbchxngtxkhxngkhxmphiwetxr sunginyukhaerk nnchxngsahrbtxemascamilksnaepnhwklmihyphayinmikhaepnekhmeriykwaaebb DIN txmamikarphthnachxngtxepnaebbhwekhmthielklngeriykwa PS 2 aetkarechuxmtxthngsxngaebbnnimsamarthechuxmtxxupkrnidhlakhlay cungmikarphthnachxngtxaebb USB khunma aelainewlaikl knkidmikarphthnakarechuxmtxemasaebbirsaykhunmaodyichsyyanwithyuepntwechuxmtxaethnsayeriykwa emasirsay Wireless mouse emasidchuxmacakruprangkhxngtwmnexng aelasayif sungmilksnakhlayhnu Mouse aelahanghnu aelakhnaediywkarekhluxnthikhxngtwchibnhnacxmilksnakarekhluxnthiimmithisthangehmuxnkarekhluxnthikhxnghnu enuxha 1 karkaenidkhxngemas 2 pum 2 1 pumesrim 2 2 lxemas 3 karechuxmtx 4 karichnganpumodythwip 4 1 karkhlikkhrngediyw Single clicking 4 2 dbebilkhlik Double click 4 3 thriepilkhlik Triple click 4 4 karkhlikaelwlak Click and drag 4 5 Mouse gestures 4 6 Tactile mouse 4 7 khwamerwkhxngemas 5 xupkrnesrim 5 1 aephnrxngemas 5 2 aephnhumthxngemas Mouse feet covers 5 3 xupkrncdkarsayemas Cord managers 5 4 aephneclwangkhxmux Gel wrist pad 6 emaskbkartlad 7 emasaebbxun 8 duephimkarkaenidkhxngemas aekikhemasthukpradisthkhuninpi 1963 ody phukhidkhnpradisthemasmichuxwa dr dklas kharl xingekilbart Douglas Carl Engelbart thisthabnwicysaetnfxrd Stanford Research Institute hlngcakkarthdsxbkarichnganxyanglaexiyd emasekhymixikchuxnungwa bk bug aetphayhlngidrbkhwamniymnxykwakhawa emas mnepnhnunginkarthdlxngxupkrnchi Pointing Device sahrb Engelbart s oN Line System NLS swnxupkrnchixunxxkaebbmaephuxkarekhluxnihwinrangkayswnxun echn xupkrnthiichtidkbkhanghruxcmuk aetthaythisudaelwemaskidrbkarkhdeluxkephraangaytxkarichnganemastwaerknnmikhnadihy aelaichefuxng 2 twwanginlksnatngchakkn karhmunkhxngaetlaefuxngcathukaeplipepnkarekhluxnthibnaekninpriphumi 2 miti exngeklbathidrbsiththibtrelkhthi US3541541 inwnthi 17 phvscikayn kh s 1970 chux X Y Position Indicator twrabutaaehnng X Y sahrbrabbaesdngphl intxnnn tngiccaphthnacnsamarthichemasiddwymuxediywemasaebbtxmathukpradisthinchwngtnthswrrsthi 1970 ody bil xinglich Bill English thisunywicykhxngbristh sirxks Xerox PARC odyaethnthilxhmundwylukbxlsungsamarthhmunipidthukthisthang karekhluxnihwkhxnglukbxlcathuktrwccbodylxelk phayinxikthihnung emaschnidnikhlay kbaethrkbxl aelaniymichkbkhxmphiwetxrswnbukhkhltlxdthswrrsthi 1980 aela 1990 thaihkarichemasaelakhiybxrdinewlaediywknsamarthepncringidemasinpccubnidrbrupaebbmacak Ecole polytechnique federale de Lausanne EPFL phayitaerngbndalickhxng sastracary Jean Daniel Nicoud rwmkbwiswkraelachangnalikachux Andre Guignard sungkardaeninngankhrngnithaihekidbristh olciethkh Logitech phlitemasthiidrbkhwamniymsungepnyihxaerkpum aekikhpumbnemasinpccubnmikarepliynaeplngcakinsmyaerkephiyngelknxyethann odyxaccaepliynineruxngruprang canwn aelakarwangtaaehnng emastwaerkthipradisthodyexngeklbathnnmiephiyngpumediyw aetinpccubnemasthiniymichknmi 2 thung 3 pum aetkmikhnphlitemasthimithung 5 pumemasthiniymichkncamipumthi 2 sahrberiykemnuldinsxftaewrthimikarxxkaebbswntidtxphuichmarxngrb imokhrsxfthwinodwsrabbptibtikarthiidrbkhwamniymmakthisudkxxkaebbmasnbsnunkarichpumthi 2 nidwyswnrabbthiichkbemas 3 pumnn pumklangmkcaichephuxeriyk aemokhr aemokhr hrux Macro khuxekhruxngmuxthiichephimkarptibtingankhxng Application bangxyang sungepnopraekrmthisxnxyuphayitopraekrmnn echn opraekrm Excel phuichxaccaekhiynkhasngkhunexngephuxichthanganechphaaxyang nxkehnuxipcakkarthangantampktikhxngopraekrmnn inpccubnemasaebb 2 pumsamarthichnganfngkchnpumklangkhxngaebb 3 pumidody khlikthng 2 pumphrxmkn pumesrim aekikh bangkhrngemaskmipum 5 pumhruxmakkwakhunxyukbkhwamchxbkhxngphuich pumphiessnixaccaichinkareluxnipkhanghnahruxthxyhlngsahrbkarthxngewb hruxepnpum scrolling aetxyangirktamfngkchnehlaniichimidkbthuksxftaewr aelamkcamipraoychnkbekmkhxmphiwetxrmakkwa echnkarepliynxawuthinekmpraephth FPS hruxkarichskiltang inekmaenw MMORPG RTS ephraawapumphiessphwkni erasamarththicakahndfngkchnxairlngipkid thaihkarichnganemasehlanimiprasiththiphaphmakyingkhundkls exngeklbath nnxyakihmicanwnpummakthisudethathicaepnipid aetekhaidbxkwaemasmatrthannnkhwrcami 3 pum ephraawaekhaimrucaephimpumekhaiptrngihnnnexng lxemas aekikh nwtkrrmxyanghnungkhxngpumemaskhuxpumaebbeluxn Scroll wheel lxelk wanginaenwkhnankbphiwkhxngemas samarthhmunkhunaelalngephuxcapxnkhasngin 1 mitiid odypktiaelwcaichinkareluxnhnatangkhun lng epnfngkchnthimiraoychnmaksahrbkarduexksarthiyaw hruxinbangopraekrmpumphwknixaccaichepnfngkchninkarsumekha xxkiddwy pumniyngsamarthkdlngiptrng ephuxcaichepnfngkchnpumthi 3 idxik emasihm bangtwyngmi Scroll wheel aenwnxnxik hruxxaccamipumthisamarthoykidthung 4 thisthang eriykwa tilt wheel hruxxaccamilksnaepnbxlelk khlay Trackball bngkhbidthng 2 mitieriykwa scroll ballkarechuxmtx aekikhechnediywkbxupkrnrbkhxmul input device xun emasktxngkarkarechuxmtxkbkhxmphiwetxrephuxthicasngkhxmulipihkhxmphiwetxr emasthw ipcaichsayif echn RS 232C PS 2 ADB hrux USB odypccubnthiniymichthisud caepn PS 2 aela USB sungimkhxysadwktxkarichngan cungmiphupradisthemasirsayodysngkhxmulphan xinfraerd khlunwithyu hrux bluthuthaethnxinfraerd epnlksnakhxngkarthayoxnkhxmulkhlay kbriomth thiwihruxxupkrnekhruxngichiffathwipinban odythixupkrnsngsyyanaelarbsyyantxngxyuinranabkarsngsyyanthitrngknethann echnhwkhxngemastxnghnhnaipthitwrbsyyantlxdewla sungkarichkarsngkhxmulirsayinrupaebbniimehmaasmsahrbxupkrnthitxngmikarekhluxnyayxyutlxdewlaxyangemas cungmiphupradisthemasthisngkhxmulphankhlunwithyuaethnemaswithyu Radio mouse epnemasthisngkhxmulphankhlunwithyuirsay twemasimcaepnthicatxngxyuinranayediywknkbtwrbsyyantlxdewla thaihphuichsadwksbaymakkhun xikthngeruxngkhwamidepriybekiywkbrayathangkhxngsyyan emassamarthichidhangcaktwrbsyyanidmakkwaaebb Infrared aetenuxngcakkarichemasphankhlunwithyuirsaynnepnkarthaihekidkarkidknaelarbkwnknrahwangsyyankhxngtwemasexng kbrabbothrsphthirsayhruxxinethxrentirsaythixyuinchwngsyyanediywkn aelaxikthngpyhaekiywkbkarichemasrunediywknmakkwa 2 chin thaihekhruxnginrsmikarrbsyyankhxngemasthixyuinkhlun A ehmuxnknnntxbrbkbemastwxun enuxngcakswnihyaelwemasirsaycasamarthprbchxngsyyanidephiyngaekhsxngchxngethann A aela B ephraachannphupradisthcunghnipphungethkhonolyiirsaymatrthanrabbihm thiichkhlunkhwamthiwithyuechnknkhux bluthuth aetenuxngcakphukhidkhnaelariermrabbbluthuthidkhadkhacungthungpyhaenuxngcakmiphuichbluthuthmakiwaelw thaihidmikarwangaephnrabbkarcbkhuxupkrnkhun thaihxupkrnhnungimiprbkwnhruxipthahnathibnxikxupkrnhnungxyangthiphuichimidtxngkar odykxnthicaichxupkrndwykncatxngmikarcbkhuxupkrnknkxn cungcasamarthichxupkrnnn dwyknid aelakhwamidepriybineruxngkhxngkhwamerwthisungkwa 40KB winathi khxngrabbbluthuthnn thaihmnsamarthnaipichidkbhlakhlaytladkarsuxsar echn hufngirsay karsngkhxmulirsay aelarwmipthung tiybxrdkbemasnnexngemasbluthuth Bluetooth mouse nnidthukxxkaebbmaephuxthangankbkhxmphiwetxrswnbukhkhlthngaebbtngotaaelaaebbphkpha odybangekhruxngnnidmikartidtngtwrabbsngsyyanbluthuthinekhruxngaelwdwy thaihimcaepnthicatxngichxupkrnrbsyyanaeykxxkmacakekhruxng sungthaihkinphunthi Bluetooth mouse kalngcaepnthiniymknxyangaephrhlayinerw ni aelaechnknsahrb bluthuthkhiybxrd Bluetooth keyboard karichnganpumodythwip aekikhkarichnganemasnnmihlayrupaebbnxkehnuxipcakkareluxnemasephuxeluxnekhxresxr echn karkhlik karkdpum khawakhliknnmithimacakesiyngkhlikewlaerakdpumemasnnexng esiyngniekidkhuncak micro switch cherry switch aelaichaethbolhathiaekhngaetyudhyunepntwkratunswithch emuxerakdpum aethbolhanikcangx aelakratunihswithchthanganphrxmthngekidesiyngkhlik aelachwyihphayinimmiphawasuyyakasekidkhun nxkcakninkwicyphbwaphuichcatxbsnxngkbesiyngkhlikhlngcakkd makkwakhwamrusukthiniwkdlngipbnpum karkhlikkhrngediyw Single clicking aekikh epnkarichnganthingaythisud odyhmayrwmthngkarkdpumbnemaschnidpumediywaelachnidhlaypum odyhakepnemaschnidhlaypum caeriykkarkhliknitamtaaehnngkhxngpum echn khliksay khlikkhwa dbebilkhlik Double click aekikh epnkarkhlikpum 2 khrngtidtxknxyangrwderw ichinkarepidifltang thriepilkhlik Triple click aekikh epnkarkhlikpum 3 khrngtidtxknxyangrwderw ichmakthisudin word processors aelain web browsers ephuxthicaeluxkkhxkhwamthngyxhna karkhlikaelwlak Click and drag aekikh khuxkarkdpumbn object khangiwaelwlakipthithitxngkarthierakahndiw Mouse gestures aekikh Mouse gesture epnwithikarphsmphsankareluxnaelakarkhlikemas sungsxftaewrthicaichidcatxngcdcakhasngphiesstang ehlaniid echninopraekrmwadphaph kareluxnemasinaenwaekn X xyangrwderwbnruprangid caepnkarlbruprangnn Tactile mouse aekikh inpi 2000 Logitech idepidtw tactile mouse sungmichinswnelk thithaihemassnid sungepnkarephimswntidtxkbphuichthiekiywkhxngkbkarsmphs echnkarsnemuxekhxresxrxyuthikhxbkhxng window miemas xikchnidhnungsamarththuxiwinmuxodyimtxngwangbnphunphiw odysamarthcbkarekhluxnihwidthung 6 miti 3 miti karhmunkhxng 3 aekn 6 miti sungmiklumepahmaysahrbkarnaesnxthangthurkic emuxphuphudcatxngyunhruxedinipma xyangirktam emaschnidniimidrbkhwamniyminwngkwang khwamerwkhxngemas aekikh khwamerwkhxngemasmihnwyepn DPI Dots Per Inch sungkhuxcanwnphikeslthiekhxresxrcaeluxnidemuxeluxnemasip 1 niw hruxbangthikeriykwa CPI Count Per Inch khuxcanwnkhrngthiekhxresxrcaeluxnidemuxeluxnemasip 1 niw Mouse acceleration deceleration epnthrikkhxngsxftaewrthisamarththaihemaseluxnchakwahruxerwkwakhwamerwpktikhxngmnid aetmixikhnwynungthiimkhxyidrbkhwamniymkhuxhnwy Mickey ephraawakha Mickey ekidcakkarnb dot thiekhxresxrekhluxnipidodykhidrwmthung Mouse acceleration deceleration dwy thaihkha Mickey sahrbkarichnganaetlakhrngxaccaimethakn cungimidrbkhwamniymxupkrnesrim aekikhaephnrxngemas aekikh epnxupkrnesrimthiidrbkhwamniym sungchwyiheluxnemasidxyangrabrun enuxngcakotahlaychnidimehmaathicaicheluxnemasodytrng echnimenuxhyabhruxphlastikephraacathaihdanlangkhxngemasesiyhayerwekinip optical mouse bangtwimtxngichkbemasaephdephraaidrbkarxxkaebbihichkbphiwimidodytrng swnemasaebblukklingnncatxngichemasaephdenuxngcaklukklingtxngkaraerngesiydthanthinxykwapktisungcachwyihlukklinghmunidxyangrabrun aephnhumthxngemas Mouse feet covers aekikh thadwyethflxn ichaepathidanlangkhxngemas sungchwyihsamarthkhybemasidsadwkyingkhun xupkrncdkarsayemas Cord managers aekikh epnxupkrnesrimthichwycdkarkbsayemasthiekaka dngnnxupkrnchinnicungimcaepnsahrbemasirsay aephneclwangkhxmux Gel wrist pad aekikh epnaephnnim ichrxngitkhxmuxephuxephimkhwamsbaykhnaichemas odyidrbkarxxkaebbihekhakbsrirakhxngmnusythaihldkhwamemuxycakkarichemasepnewlanan idemaskbkartlad aekikhinpi kh s 1970 bristh Xerox PARC idxxkemasrun Xerox Star aettxmabristh Apple idxxk Apple Lisa xxkmaaekhng aetthungkrannemaskhxngthng 2 bristhklbimprasbphlsaercthangthurkic cnkrathngkarepidtwkhxng Apple Macintosh inpi 1984 thaihemasidichinwngkwangmakyingkhunkarepidtwkhxng Apple Macintosh mixiththiphlmak enuxngcakkhwamsaerckhxngekhruxng Apple Macintosh thaihphuphlithlayrayerimcaphlitemasknmakkhun aelaemuxrabb graphical user interfaces GUI ekhamainthswrrsthi 1980 aela 1990 thaihemasepnxupkrnthikhadimidemuxcaichkhxmphiwetxr inpi 2000 Dataquest hnwynganthangdansthitiaehnghnungkhxngshrth pramankarwaemasidthukkhayipaelwthwolkrwmmulkhathngsin 1 5 phnlandxllaremasaebbxun aekikhnxkcakemasaebbpktithiklawmaaelw sungmkcaepnemasaebbichdwymux aetyngmiemasaebbxun xik odythasahrbphuthimkmipyhaekiywkbkhxmuxemuxichemasepnewlanan aelaphuthiichemasaelwrusukimsadwk sungemasaebbphiessnimirupaebbtang kndngni aethrkbxl Trackball ichnganodykarekhluxnlukbxlbnaethn miniemas Mini mouse emasthimikhnadethaikhik sungxxkaebbmaephuxsadwktxkarphkpha mkcaichkbaelpthxp aekhemraemas Camera mouse klxngthicacbkarekhluxnthikhxngsirsaaelweluxnekhxresxrbncxiptam phalmemas Palm mouse ichthuxiwinmux aelasamartherngkhwamerwkhxngemasidodykarkdihaerngkhun futemas Foot mouse ichethainkarkhwbkhumaethnkarichniwmuxkd cxyemas Joy Mouse epnkarrwmknrahwangemasaelacxystik odyichkaroykcxyaethnkareluxnemasduephim aekikhkharphxlthnenlsimodm Carpal tunnel syndrome karxkesbkhxngkhxmuxemuxichemasbxy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title emas amp oldid 9589892, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม