fbpx
วิกิพีเดีย

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบนิรนัย (อังกฤษ: Deductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากบนลงล่าง (อังกฤษ: top-down logic) เป็นกระบวนการการให้เหตุผลจากข้อความหรือข้อตั้งหนึ่งข้อขึ้นไปซึ่งอาจเป็นกฎ ข้อตกลง ความเชื่อ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปที่แน่นอนทางตรรกศาสตร์ เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด

แผนผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎี การนิรนัย การอุปนัย และประสบการณ์นิยม

การให้เหตุผลแบบนิรนัยจะเป็นไปในทิศทางเดียวกับเงื่อนไข คือการเชื่อมข้อตั้งกับข้อสรุป (Consequent) เมื่อข้อตั้งเป็นจริงทั้งหมด พจน์แต่ละพจน์ชัดเจน และทำตามกฎของตรรกศาสตร์แบบนิรนัยครบถ้วน ข้อสรุปที่ได้ก็จำเป็นที่จะเป็นจริง (logical truth)

การให้เหตุผลแบบนิรนัย ("การให้เหตุผลจากบนลงล่าง") ต่างจากการให้เหตุผลแบบอุปนัย ("การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน") ในด้านต่อไปนี้ ในการให้เหตุผลแบบนิรนัยข้อสรุปได้มาอย่างลดทอน (Reductionism) โดยการประยุกต์ใช้กฎทั่วไปที่เป็นจริงทั่วขอบเขตของสัมพันธสารที่ปิด (closed world assumption) ทำให้พิสัยที่อยู่ใต้การพิจารณาแคบลงเรื่อย ๆ จนเหลือแค่ข้อสรุป (คือไม่มีความไม่แน่นอนทางญาณวิทยา เช่นส่วนที่ไม่ได้ถูกรับรู้ของเซตที่มีอยู่ปัจจุบัน ทุกส่วนของเซตที่มีอยู่ปัจจุบันจะต้องมีอยู่และถูกรับรู้) ในการให้เหตุผลแบบอุปนัยข้อสรุปได้มาโดยการวางนัยทั่วไปหรือการพาดพิงกรณีเฉพาะไปสู่กฎทั่วไป คือมีความไม่แน่นอนทางญาณวิทยาอยู่ (ส่วนที่ไม่ได้ถูกรับรู้ของเซตที่มีอยู่ปัจจุบัน) แต่ทว่าการให้เหตุผลที่พูดถึง ณ ที่นี้ไม่ใช่การอุปนัย (Mathematical Induction) ที่ใช้ในการพิสูจน์เชิงคณิตศาสตร์ การอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์นั้นแท้จริงแล้วเป็นรูปแบบหนึ่งของการให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบนิรนับต่างจากการให้เหตุผลแบบจารนัย (abductive reasoning) โดยทิศทางของการให้เหตุผลเทียบกับเงื่อนไข การให้เหตุผลแบบนิรนัยไปในทิศทางเดียวกับเงื่อนไข ในขณะที่การให้เหตุผลแบบจารนัยไปในทิศทางตรงกันข้าม คือการพยายามหาข้อตั้งที่สมเหตุสมผลที่สุดเมื่อให้ข้อสรุปมา ตัวอย่างเช่นงานสอบสวนในคดีฆาตกรรมที่ต้องหาตัวผู้ร้ายจากข้อสรุปหรือหลักฐานที่ฉากและสภาพศพ

ตัวอย่างง่าย ๆ

ตัวอย่างของการอ้างเหตุผลโดยการใช้การให้เหตุผลแบบนิรนัย:

  1. มนุษย์ทุกคนเป็นมัตตัย (ข้อตั้งแรก)
  2. โสกราตีสเป็นมนุษย์ (ข้อตั้งที่สอง)
  3. เพราะฉะนั้น โสกราตีสเป็นมัตตัย (ข้อสรุป)

ข้อตั้งแรกกล่าวว่าวัตถุทุกชิ้นที่จัดหมวดหมู่เป็น "มนุษย์" มีคุณสมบัติ "มัตตัย" ข้อตั้งที่สองกล่าวว่า "โสกราตีส" จัดหมวดหมู่เป็น "มนุษย์" หรือเป็นสมาชิกของเซต "มนุษย์" ข้อสรุปจึงกล่าวว่า "โสกราตีส" จำเป็นต้องเป็น "มัตตัย" เพราะเขาได้รับคุณสมบัตินี้จากการจัดเขาเข้าหมวดหมู่ "มนุษย์"

(หมายเหตุ: มัตตัย หรือภาษาอังกฤษ mortal แปลว่าผู้ที่ต้องตาย)

การให้เหตุผลด้วยกฎการแจงผลตามเหตุ กฎการแจงผลค้านเหตุ และกฎของตรรกบท

กฎการแจงผลตามเหตุ

ดูบทความหลักที่: กฎการแจงผลตามเหตุ

(อังกฤษ: Modus ponens) หรือโมดัส โพเนนส์ บ้างก็เรียกว่า "การยืนยันข้อนำ" (affirming the antecedent) หรือ "กฎของการแยกออก" (law of detachment) เป็นกฏของการอนุมานแบบนิรนัยหลักซึ่งจะนำไปใช้กับการอ้างเหตุผลที่มีข้อตั้งแรกเป็นเงื่อนไขเชิงตรรกศาสตร์ ( ) และมีข้อตั้งที่สองเป็นข้อนำของเงื่อนไขนั้น ๆ ( ) โดยจะได้ข้อตาม (consequent) ของเงื่อนไขนั้น ๆ เป็นข้อสรุป ( ) รูปแบบของการอ้างเหตุผลนี้เป็นไปตามด้านล่าง:

  1.    (ข้อตั้งแรกเป็นเงื่อนไข)
  2.    (ข้อตั้งที่สองเป็นข้อนำ)
  3.    (ข้อสรุปที่นิรนัยได้คือข้อตาม)

ในการให้เหตุผลแบบนิรนัยรูปแบบนี้ ข้อตาม ( ) เป็นข้อสรุปจากข้อตั้งที่เป็นเงื่อนไข ( ) และข้อนำของมัน ( ) แต่มว่าข้อนำนั้น ( ) ไม่สามารถเป็นข้อสรุปจากข้อตั้งที่เป็นเงื่อนไข ( ) และข้อตามได้ ( ) การอ้างเหตุผลแบบนี้เป็นตรรกะวิบัติ (logical fallacy) ที่เรียกว่าการยืนยันข้อตาม (affirming the consequent) หรือกลับกันเป็น "การแจงเหตุจากผล"

ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการอ้างเหตุผลที่ใช้กฏการแจงผลตามเหตุ:

  1. ถ้ามุม   มีขนาด 90° <   < 180° แล้วมุม   เป็นมุมป้าน
  2.   = 120°
  3.   เป็นมุมป้าน

เนื่องจากการวัดค่ามุม   มีขนาดมากกว่า 90° และน้อยกว่า 180° เราสามารถนิรนัยจากเงื่อนไข (ถ้า แล้ว) ได้ว่ามุม   เป็นมุมป้าน แต่ถ้าเรารู้ว่ามุม   เป็นมุมป้าน เราไม่สามารถนิรนัยจากเงื่อนไขได้ว่า 90° <   < 180° อาจเป็นจริงได้ว่ามุมที่อยู่นอกพิสัยนี้ก็เป็นมุมป้านด้วย

กฎการแจงผลค้านเหตุ

ดูบทความหลักที่: กฎการแจงผลค้านเหตุ

(อังกฤษ: Modus tollens) หรือโมดัส โทลเลนส์ บ้างก็เรียกว่า "กฎของการแย้งสลับที่" (law of contrapositive) เป็นกฎของการอนุมานแบบนิรนัยซึ่งให้ความสมเหตุสมผลการอ้างเหตุผลที่มีข้อตั้งเป็นเงื่อนไขเชิงตรรกศาสตร์ ( ) และนิเสธของข้อตาม ( ) และมีข้อสรุปเป็นนิเสธของข้อนำ ( ) ต่างจากกฎการแจงผลตามเหตุ การให้เหตุผลด้วยการแจงผลค้านเหตุไปในทิศทางตรงกันข้ามกับเงื่อนไข นิพจน์ทั่วไปของการแจงผลค้านเหตุเป็นไปดังต่อไปนี้:

  1.  . (ข้อตั้งแรกเป็นเงื่อนไข)
  2.  . (ข้อตั้งที่สองเป็นนิเสธของข้อตาม)
  3.  . (ข้อสรุปที่นิรนัยได้คือนิเสธของข้อนำ)

ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการอ้างเหตุผลที่ใช้กฏการแจงผลค้านเหตุ:

  1. ถ้าฝนตก แล้วท้องฟ้าจะมีเมฆ
  2. ท้องฟ้าไม่มีเมฆ
  3. ดังนั้น ฝนไม่ตก

กฎของตรรกบท

(อังกฤษ: law of syllogism) ในแคลคูลัสเชิงประพจน์ กฎของตรรกบท ใช้เงื่อนไขสองข้อความและหาข้อสรุปด้วยการรวมสมมุติฐานของข้อความหนึ่งเข้ากับข้อสรุปของอีกข้อ รูปแบบทั่วไปเป็นดังต่อไปนี้:

  1.  
  2.  
  3. เพราะฉะนั้น  .

ตัวอย่างเป็นดังต่อไปนี้:

  1. ถ้าสัตว์เป็นยอร์กเชอร์เทร์เรียร์ แล้วมันเป็นสุนัข
  2. ถ้าสัตว์เป้นสุนัข แล้วมันเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
  3. เพราะฉะนั้น ถ้าสัตว์เป็นยอร์กเชอร์เทร์เรียร์ แล้วมันเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

เรานิรนัยข้อความสุดท้ายด้วยการรวมสมมุติฐานของข้อความแรกเข้ากับข้อสรุปของข้อที่สอง และเราก็อนุญาตให้ข้อความอาจเป็นเท็จได้ นี่เป็นตัวอย่างของสมบัติการถ่ายทอด (Transitive relation) ในคณิตศาสตร์ อีกตัวอย่างของสมบัติการถ่ายทอดคือภาวะเท่ากัน (Equality (mathematics)) ซึ่งกล่าวได้ในรูปแบบต่อไปนี้:

  1.  .
  2.  .
  3. เพราะฉะนั้น  .

ความสมเหตุสมผลและความสมบูรณ์

 
ศัพทวิทยาของการอ้างเหตุผล

การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยวัดได้โดย ความสมเหตุสมผล และ ความสมบูรณ์

การอ้างเหตุผลจะ “สมเหตุสมผล” (อังกฤษ: validity) ถ้าเป็นไปไม่ได้ที่ข้อตั้งจะเป็นจริงแต่ข้อสรุปเป็นเท็จ หรือพูดอีกแบบคือ ข้อสรุปต้องเป็นจริงถ้าข้อตั้งเป็นจริง การอ้างเหตุผลก็สามารถ "สมเหตุสมผล" ได้แม้ข้อตั้งบางข้อจะเป็นเท็จก็ตาม

การอ้างเหตุผลจะ "สมบูรณ์" (อังกฤษ: soundness) หรือสมบูรณ์ถ้ามัน สมเหตุสมผล และข้อตั้งทั้งหมดเป็นจริง

การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยที่สมเหตุสมผล แต่ไม่สมบูรณ์ เป็นไปได้ การอ้างเหตุผลวิบัติมักจะอยู่ในรูปแบบนั้น

ต่อไปนี้คือตัวอย่างของการอ้างเหตุผลที่ สมเหตุสมผล แต่ไม่สมบูรณ์:

  1. ทุกคนที่กินแคร์รอตเป็นกองหลัง
  2. จอห์นกินแคร์รอต
  3. เพราะฉะนั้น จอห์นเป็นกองหลัง

ข้อตั้งแรกของตัวอย่างเป็นเท็จ อาจจะมีคนที่กินแคร์รอตที่ไม่ได้เป็นกองหลัง แต่ข้อสรุปนั้นจะเป็นจริงเมื่อข้อตั้งเป็นจริงและข้อสรุปไม่มีวันเป็นเท็จเมื่อข้อตั้งเป็นจริง ก็คือการอ้างเหตุผลนี้ "สมเหตุสมผล" แต่ "ไม่สมบูรณ์" การวางนัยทั่วไปเท็จ เช่น "ทุกคนที่กินแคร์รอตเป็นกองหลัง" มักจะถูกใช้ในการอ้างเหตุผลที่ไม่สมบูรณ์หรือไม่สมบูรณ์ ความจริงที่ว่าคนบางคนกินแคร์รอตแต่ไม่ได้เป็นกองหลังพิสูจน์ข้อบกพร่องของการอ้างเหตุผลนี้

การให้เหตุผลแบบนิรนัยสามารถเปรียบต่างกับการให้เหตุผลแบบอุปนัยในเรื่องของความสมเหตุสมผลและความสมบูรณ์ ในกรณีของการให้เหตุผลแบบอุปนัยถึงแม้ข้อตั้งจะเป็นจริงและการอ้างเหตุผล "สมเหตุสมผล" ข้อสรุปก็ยังเป็นไปได้ที่จะเป็นเท็จ (ตัดสินว่าเป็นเท็จได้ด้วยตัวอย่างค้านหรือวิธีอื่น)

ประวัติ

แอริสตอเติล นักปรัชญากรีกโบราณ เริ่มบันทึกการให้เหตุผลแบบนิรนัยในศตวรรษที่สี่ก่อนคริสต์ศักราช ในหนังสือ Discourse on the Method ของเรอเน เดการ์ต เขากลั่นกรองแนวคิดสำหรับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ เดการ์ตพัฒนากฎสี่ข้อให้ทำตามเพื่อการพิสูจน์แนวคิดอย่างนิรนัยและวางรากฐานสำหรับส่วนที่เป็นนิรนัยของระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ พื้นหลังของเดการ์ตในเรขาคณิตและคณิตศาสตร์มีอิทธิพลต่อแนวคิดของเขาเรื่องความจริงและการให้เหตุผลและเป็นเหตุให้เขาพัฒนาระบบของการให้เหตุผลทั่วไปที่ปัจจุบันนำมาใช้ในการให้เหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่ เดการ์ตเชื่อว่าแนวคิดสามารถชัดแจ้งในตัวและแค่การให้เหตุผลเท่านั้นที่สามารถพิสูจน์ว่าการสังเกตเชื่อถือได้คล้ายกับมูลบท แนวคิดเหล่านี้ก็วางรากฐานสำหรับแนวคิดของเหตุผลนิยม (rationalism)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Sternberg, R. J. (2009). Cognitive Psychology. Belmont, CA: Wadsworth. pp. 578. ISBN 978-0-495-50629-4.
  2. Zi, Jan (2019), Models of 6-valued measures: 6-kinds of information, Kindle Direct Publishing Science
  3. Zi, Jan (2019), Models of 6-valued measures: 6-kinds of information, Kindle Direct Publishing Science
  4. yrprincess, "สืบจากการ์ตูนโคนัน Holmes และ CSI (ตอนที่2) การให้เหตุผลแบบ Abductive" www.scimath.org, 27 กุมภาพันธ์ 2558, 6 มิถุนายน 2563
  5. Evans, Jonathan St. B. T.; Newstead, Stephen E.; Byrne, Ruth M. J., บ.ก. (1993). Human Reasoning: The Psychology of Deduction (Reprint ed.). Psychology Press. p. 4. ISBN 9780863773136. สืบค้นเมื่อ 2015-01-26. In one sense [...] one can see the psychology of deductive reasoning as being as old as the study of logic, which originated in the writings of Aristotle.
  6. Samaha, Raid (3 March 2009). "DESCARTES' PROJECT OF INQUIRY" (PDF). American University of Beirut. สืบค้นเมื่อ 24 October 2019.

อ่านเพิ่ม

  • Vincent F. Hendricks, Thought 2 Talk: A Crash Course in Reflection and Expression, New York: Automatic Press / VIP, 2005, ISBN 87-991013-7-8
  • Philip Johnson-Laird, Ruth M. J. Byrne, Deduction, Psychology Press 1991, ISBN 978-0-86377-149-1
  • Zarefsky, David, Argumentation: The Study of Effective Reasoning Parts I and II, The Teaching Company 2002
  • Bullemore, Thomas, * The Pragmatic Problem of Induction.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Deductive reasoning ที่ PhilPapers
  • Deductive reasoning ที่ Indiana Philosophy Ontology Project
  • "Deductive reasoning". Internet Encyclopedia of Philosophy.

การให, เหต, ผลแบบน, รน, งกฤษ, deductive, reasoning, หร, การให, เหต, ผลจากบนลงล, าง, งกฤษ, down, logic, เป, นกระบวนการการให, เหต, ผลจากข, อความหร, อข, อต, งหน, งข, อข, นไปซ, งอาจเป, นกฎ, อตกลง, ความเช, หร, อบทน, ยาม, งเป, นส, งท, มาก, อน, และยอมร, บว, าเป, นควา. karihehtuphlaebbnirny xngkvs Deductive reasoning hrux karihehtuphlcakbnlnglang xngkvs top down logic epnkrabwnkarkarihehtuphlcakkhxkhwamhruxkhxtnghnungkhxkhunipsungxacepnkd khxtklng khwamechux hruxbthniyam sungepnsingthirumakxn aelayxmrbwaepnkhwamcringephuxnaipsukhxsrupthiaennxnthangtrrksastr 1 epnkarxangehtuphlthimikhxsruptamenuxhasarathixyuphayinkhxbekhtkhxngkhxxangthikahndaephnphngaesdngkhwamsmphnthrahwangthvsdi karnirny karxupny aelaprasbkarnniym karihehtuphlaebbnirnycaepnipinthisthangediywkbenguxnikh khuxkarechuxmkhxtngkbkhxsrup Consequent emuxkhxtngepncringthnghmd phcnaetlaphcnchdecn aelathatamkdkhxngtrrksastraebbnirnykhrbthwn khxsrupthiidkcaepnthicaepncring logical truth karihehtuphlaebbnirny karihehtuphlcakbnlnglang tangcakkarihehtuphlaebbxupny karihehtuphlcaklangkhunbn indantxipni inkarihehtuphlaebbnirnykhxsrupidmaxyangldthxn Reductionism odykarprayuktichkdthwipthiepncringthwkhxbekhtkhxngsmphnthsarthipid closed world assumption thaihphisythixyuitkarphicarnaaekhblngeruxy cnehluxaekhkhxsrup khuximmikhwamimaennxnthangyanwithya echnswnthiimidthukrbrukhxngestthimixyupccubn thukswnkhxngestthimixyupccubncatxngmixyuaelathukrbru 2 inkarihehtuphlaebbxupnykhxsrupidmaodykarwangnythwiphruxkarphadphingkrniechphaaipsukdthwip khuxmikhwamimaennxnthangyanwithyaxyu swnthiimidthukrbrukhxngestthimixyupccubn 3 aetthwakarihehtuphlthiphudthung n thiniimichkarxupny Mathematical Induction thiichinkarphisucnechingkhnitsastr karxupnyechingkhnitsastrnnaethcringaelwepnrupaebbhnungkhxngkarihehtuphlaebbnirnykarihehtuphlaebbnirnbtangcakkarihehtuphlaebbcarny abductive reasoning odythisthangkhxngkarihehtuphlethiybkbenguxnikh karihehtuphlaebbnirnyipinthisthangediywkbenguxnikh inkhnathikarihehtuphlaebbcarnyipinthisthangtrngknkham khuxkarphyayamhakhxtngthismehtusmphlthisudemuxihkhxsrupma twxyangechnngansxbswninkhdikhatkrrmthitxnghatwphuraycakkhxsruphruxhlkthanthichakaelasphaphsph 4 enuxha 1 twxyangngay 2 karihehtuphldwykdkaraecngphltamehtu kdkaraecngphlkhanehtu aelakdkhxngtrrkbth 2 1 kdkaraecngphltamehtu 2 2 kdkaraecngphlkhanehtu 2 3 kdkhxngtrrkbth 3 khwamsmehtusmphlaelakhwamsmburn 4 prawti 5 duephim 6 xangxing 7 xanephim 8 aehlngkhxmulxuntwxyangngay aekikhtwxyangkhxngkarxangehtuphlodykarichkarihehtuphlaebbnirny mnusythukkhnepnmtty khxtngaerk oskratisepnmnusy khxtngthisxng ephraachann oskratisepnmtty khxsrup khxtngaerkklawwawtthuthukchinthicdhmwdhmuepn mnusy mikhunsmbti mtty khxtngthisxngklawwa oskratis cdhmwdhmuepn mnusy hruxepnsmachikkhxngest mnusy khxsrupcungklawwa oskratis caepntxngepn mtty ephraaekhaidrbkhunsmbtinicakkarcdekhaekhahmwdhmu mnusy hmayehtu mtty hruxphasaxngkvs mortal aeplwaphuthitxngtay karihehtuphldwykdkaraecngphltamehtu kdkaraecngphlkhanehtu aelakdkhxngtrrkbth aekikhkdkaraecngphltamehtu aekikh dubthkhwamhlkthi kdkaraecngphltamehtu xngkvs Modus ponens hruxomds ophenns bangkeriykwa karyunynkhxna affirming the antecedent hrux kdkhxngkaraeykxxk law of detachment epnktkhxngkarxnumanaebbnirnyhlksungcanaipichkbkarxangehtuphlthimikhxtngaerkepnenguxnikhechingtrrksastr P Q displaystyle P rightarrow Q aelamikhxtngthisxngepnkhxnakhxngenguxnikhnn P displaystyle P odycaidkhxtam consequent khxngenguxnikhnn epnkhxsrup Q displaystyle Q rupaebbkhxngkarxangehtuphlniepniptamdanlang P Q displaystyle P rightarrow Q khxtngaerkepnenguxnikh P displaystyle P khxtngthisxngepnkhxna Q displaystyle Q khxsrupthinirnyidkhuxkhxtam inkarihehtuphlaebbnirnyrupaebbni khxtam Q displaystyle Q epnkhxsrupcakkhxtngthiepnenguxnikh P Q displaystyle P rightarrow Q aelakhxnakhxngmn P displaystyle P aetmwakhxnann P displaystyle P imsamarthepnkhxsrupcakkhxtngthiepnenguxnikh P Q displaystyle P rightarrow Q aelakhxtamid Q displaystyle Q karxangehtuphlaebbniepntrrkawibti logical fallacy thieriykwakaryunynkhxtam affirming the consequent hruxklbknepn karaecngehtucakphl twxyangtxipniepnkarxangehtuphlthiichktkaraecngphltamehtu thamum A displaystyle A mikhnad 90 lt A displaystyle A lt 180 aelwmum A displaystyle A epnmumpan A displaystyle A 120 A displaystyle A epnmumpanenuxngcakkarwdkhamum A displaystyle A mikhnadmakkwa 90 aelanxykwa 180 erasamarthnirnycakenguxnikh tha aelw idwamum A displaystyle A epnmumpan aetthaeraruwamum A displaystyle A epnmumpan eraimsamarthnirnycakenguxnikhidwa 90 lt A displaystyle A lt 180 xacepncringidwamumthixyunxkphisynikepnmumpandwy kdkaraecngphlkhanehtu aekikh dubthkhwamhlkthi kdkaraecngphlkhanehtu xngkvs Modus tollens hruxomds othlelns bangkeriykwa kdkhxngkaraeyngslbthi law of contrapositive epnkdkhxngkarxnumanaebbnirnysungihkhwamsmehtusmphlkarxangehtuphlthimikhxtngepnenguxnikhechingtrrksastr P Q displaystyle P rightarrow Q aelaniesthkhxngkhxtam Q displaystyle lnot Q aelamikhxsrupepnniesthkhxngkhxna P displaystyle lnot P tangcakkdkaraecngphltamehtu karihehtuphldwykaraecngphlkhanehtuipinthisthangtrngknkhamkbenguxnikh niphcnthwipkhxngkaraecngphlkhanehtuepnipdngtxipni P Q displaystyle P rightarrow Q khxtngaerkepnenguxnikh Q displaystyle lnot Q khxtngthisxngepnniesthkhxngkhxtam P displaystyle lnot P khxsrupthinirnyidkhuxniesthkhxngkhxna twxyangtxipniepnkarxangehtuphlthiichktkaraecngphlkhanehtu thafntk aelwthxngfacamiemkh thxngfaimmiemkh dngnn fnimtkkdkhxngtrrkbth aekikh xngkvs law of syllogism inaekhlkhulsechingpraphcn kdkhxngtrrkbth ichenguxnikhsxngkhxkhwamaelahakhxsrupdwykarrwmsmmutithankhxngkhxkhwamhnungekhakbkhxsrupkhxngxikkhx rupaebbthwipepndngtxipni P Q displaystyle P rightarrow Q Q R displaystyle Q rightarrow R ephraachann P R displaystyle P rightarrow R twxyangepndngtxipni thastwepnyxrkechxrethreriyr aelwmnepnsunkh thastwepnsunkh aelwmnepnstweliynglukdwynanm ephraachann thastwepnyxrkechxrethreriyr aelwmnepnstweliynglukdwynanmeranirnykhxkhwamsudthaydwykarrwmsmmutithankhxngkhxkhwamaerkekhakbkhxsrupkhxngkhxthisxng aelaerakxnuyatihkhxkhwamxacepnethcid niepntwxyangkhxngsmbtikarthaythxd Transitive relation inkhnitsastr xiktwxyangkhxngsmbtikarthaythxdkhuxphawaethakn Equality mathematics sungklawidinrupaebbtxipni A B displaystyle A B B C displaystyle B C ephraachann A C displaystyle A C khwamsmehtusmphlaelakhwamsmburn aekikh sphthwithyakhxngkarxangehtuphl karxangehtuphlaebbnirnywdidody khwamsmehtusmphl aela khwamsmburnkarxangehtuphlca smehtusmphl xngkvs validity thaepnipimidthikhxtngcaepncringaetkhxsrupepnethc hruxphudxikaebbkhux khxsruptxngepncringthakhxtngepncring karxangehtuphlksamarth smehtusmphl idaemkhxtngbangkhxcaepnethcktamkarxangehtuphlca smburn xngkvs soundness hruxsmburnthamn smehtusmphl aelakhxtngthnghmdepncringkarxangehtuphlaebbnirnythismehtusmphl aetimsmburn epnipid karxangehtuphlwibtimkcaxyuinrupaebbnntxipnikhuxtwxyangkhxngkarxangehtuphlthi smehtusmphl aetimsmburn thukkhnthikinaekhrrxtepnkxnghlng cxhnkinaekhrrxt ephraachann cxhnepnkxnghlngkhxtngaerkkhxngtwxyangepnethc xaccamikhnthikinaekhrrxtthiimidepnkxnghlng aetkhxsrupnncaepncringemuxkhxtngepncringaelakhxsrupimmiwnepnethcemuxkhxtngepncring kkhuxkarxangehtuphlni smehtusmphl aet imsmburn karwangnythwipethc echn thukkhnthikinaekhrrxtepnkxnghlng mkcathukichinkarxangehtuphlthiimsmburnhruximsmburn khwamcringthiwakhnbangkhnkinaekhrrxtaetimidepnkxnghlngphisucnkhxbkphrxngkhxngkarxangehtuphlnikarihehtuphlaebbnirnysamarthepriybtangkbkarihehtuphlaebbxupnyineruxngkhxngkhwamsmehtusmphlaelakhwamsmburn inkrnikhxngkarihehtuphlaebbxupnythungaemkhxtngcaepncringaelakarxangehtuphl smehtusmphl khxsrupkyngepnipidthicaepnethc tdsinwaepnethciddwytwxyangkhanhruxwithixun prawti aekikhaexristxetil nkprchyakrikobran erimbnthukkarihehtuphlaebbnirnyinstwrrsthisikxnkhristskrach 5 inhnngsux Discourse on the Method khxngerxen edkart ekhaklnkrxngaenwkhidsahrbkarptiwtithangwithyasastr edkartphthnakdsikhxihthatamephuxkarphisucnaenwkhidxyangnirnyaelawangrakthansahrbswnthiepnnirnykhxngraebiybwithiaebbwithyasastr phunhlngkhxngedkartinerkhakhnitaelakhnitsastrmixiththiphltxaenwkhidkhxngekhaeruxngkhwamcringaelakarihehtuphlaelaepnehtuihekhaphthnarabbkhxngkarihehtuphlthwipthipccubnnamaichinkarihehtuphlechingkhnitsastrswnihy edkartechuxwaaenwkhidsamarthchdaecngintwaelaaekhkarihehtuphlethannthisamarthphisucnwakarsngektechuxthuxidkhlaykbmulbth aenwkhidehlanikwangrakthansahrbaenwkhidkhxngehtuphlniym rationalism 6 duephim aekikh prchyakarihehtuphlaebbcarny karihehtuphlaebbaenwethiyb Analogy karxangehtuphl Argument logic thvsdiwithikarihehtuphl Argumentation theory thvsdikhwamcringaebbsmny Correspondence theory of truth kartdsinic Decision making thvsdikartdsinic Decision theory karihehtuphlaebbephikthxnid Defeasible reasoning ehtuphlwibti karwiekhraahtnimaehngkhwamlmehlw Fault tree analysis erkhakhnit twaebbsmmtithan nirny Hypothetico deductive model karxnuman karsxbswn Inquiry trrkbththangkdhmay Legal syllogism trrksastraelakhwammiehtuphl Logic and rationality phlphwngechingtrrka Logical consequence karihehtuphlechingtrrka Logical reasoning khnittrrksastr karnirnythrrmchati Natural deduction thvsdikarihehtuphlaebbnirnykhxngephirs Peirce s theory of deductive reasoning aekhlkhulsechingpraphcn raebiybwithiaebbwithyasastr trrksastrxtwisy Subjective logic karihkhwamthuktxng Justification xangxing aekikh Sternberg R J 2009 Cognitive Psychology Belmont CA Wadsworth pp 578 ISBN 978 0 495 50629 4 Zi Jan 2019 Models of 6 valued measures 6 kinds of information Kindle Direct Publishing Science Zi Jan 2019 Models of 6 valued measures 6 kinds of information Kindle Direct Publishing Science yrprincess subcakkartunokhnn Holmes aela CSI txnthi2 karihehtuphlaebb Abductive www scimath org 27 kumphaphnth 2558 6 mithunayn 2563 Evans Jonathan St B T Newstead Stephen E Byrne Ruth M J b k 1993 Human Reasoning The Psychology of Deduction Reprint ed Psychology Press p 4 ISBN 9780863773136 subkhnemux 2015 01 26 In one sense one can see the psychology of deductive reasoning as being as old as the study of logic which originated in the writings of Aristotle Samaha Raid 3 March 2009 DESCARTES PROJECT OF INQUIRY PDF American University of Beirut subkhnemux 24 October 2019 xanephim aekikhVincent F Hendricks Thought 2 Talk A Crash Course in Reflection and Expression New York Automatic Press VIP 2005 ISBN 87 991013 7 8 Philip Johnson Laird Ruth M J Byrne Deduction Psychology Press 1991 ISBN 978 0 86377 149 1 Zarefsky David Argumentation The Study of Effective Reasoning Parts I and II The Teaching Company 2002 Bullemore Thomas The Pragmatic Problem of Induction aehlngkhxmulxun aekikh wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa karihehtuphlaebbnirny wikikhakhmmikhakhmekiywkb karihehtuphlaebbnirny wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa karihehtuphlaebbnirny Deductive reasoning thi PhilPapers Deductive reasoning thi Indiana Philosophy Ontology Project Deductive reasoning Internet Encyclopedia of Philosophy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karihehtuphlaebbnirny amp oldid 9421896, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม