fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรป

ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรป (โปรตุเกส: português europeu) หรือที่เรียกว่า ภาษาโปรตุเกสแบบโปรตุเกส (português de Portugal), ภาษาโปรตุเกสคาบสมุทร (português peninsular) และ ภาษาโปรตุเกสแบบไอบีเรีย (português ibérico) เป็นชื่อเรียกโดยรวมของวิธภาษาต่าง ๆ ของภาษาโปรตุเกสที่ใช้ในประเทศโปรตุเกส

ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรป
português europeu
ออกเสียง[puɾtuˈɣez ewɾuˈpew]
ประเทศที่มีการพูดโปรตุเกส
จำนวนผู้พูด40 ล้านคน  (2555)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ โปรตุเกส
ผู้วางระเบียบแผนกอักษรศาสตร์แห่งบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์ลิสบอน
รหัสภาษา
ISO 639-3

ตามกฎหมายของสหภาพยุโรป ภาษาโปรตุเกสเป็นหนึ่งในภาษาทางการของสหภาพ (เป็นภาษาทำงานของรัฐสภายุโรป แต่ไม่ใช่ภาษาทำงานของคณะกรรมาธิการยุโรป) ดังนั้นในเอกสารระหว่างประเทศรวมทั้งในเว็บไซต์ทางการต่าง ๆ ของสหภาพจึงใช้ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรป นอกจากนี้ยังมีการสอนภาษาโปรตุเกสแบบยุโรปในประเทศสเปน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแคว้นเอซเตรมาดูรา) และทั่วโลกผ่านทางสถาบันกามอยช์ ประเทศและดินแดนอื่น ๆ ที่พูดภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาหลัก (ยกเว้นประเทศบราซิล) ยังรับมาตรฐานภาษาโปรตุเกสแบบยุโรปไปใช้ด้วยเนื่องจากยังไม่มีมาตรฐานทางภาษาเป็นของตนเอง

สิ่งที่เรียกว่า "วิธภาษามาตรฐาน" ของภาษาโปรตุเกสแบบยุโรปนั้นแตกต่างกันไปตามความเห็นของนักวิชาการ บางคนถือว่าวิธภาษามาตรฐานของภาษานี้คือวิธภาษาภาคกลาง-ใต้ของผู้พูดที่มีการศึกษาในลิสบอน ในขณะที่บางคนถือว่าวิธภาษามาตรฐานของภาษานี้มาจาก "กลุ่มวิธภาษาของผู้มีการศึกษาในภูมิภาคลิสบอนกูอิงบรา" อย่างไรก็ตาม "ภูมิภาคลิสบอน-กูอิงบรา" ไม่เคยมีปรากฏไม่ว่าจะเป็นในแง่ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษาศาสตร์ หรืออื่น ๆ บางคนจึงเห็นว่าการให้สถานะพิเศษแก่กูอิงบราในการเผยแพร่มาตรฐานทางภาษามาจากการที่เมืองดังกล่าวเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสำคัญเท่านั้น ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 อานีแซตู ดุช ไรช์ กงซัลวึช วียานา นักภาษาศาสตร์และผู้บุกเบิกวงการสัทศาสตร์โปรตุเกส แม้จะรับรู้ถึงการมีอยู่ของ "มาตรฐานกลาง" ใน "ภาคกลางของราชอาณาจักร ระหว่างกูอิงบรากับลิสบอน" แต่ก็เขียนตำราอธิบาย "การออกเสียงเชิงบรรทัดฐาน" ของภาษาโปรตุเกสแบบยุโรปโดยอิงจากวิธภาษาที่ใช้ในลิสบอน

ปัจจุบัน หน่วยงานที่มีหน้าที่วางกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรปคือ แผนกอักษรศาสตร์แห่งบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์ลิสบอน (Classe de Letras da Academia das Ciências de Lisboa)

อ้างอิง

  1. ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรป at Ethnologue (18th ed., 2015)
  2. Cunha, Celso; Cintra, Lindley (1996). Nova Grámática do Português Contemporâneo (12.ª ed.). Lisboa: Edições João Sá da Costa. p. 9–19. ISBN 972-9230-00-5.
  3. Espanha: Extremadura lança campanha para fomentar aprendizagem da língua portuguesa, in Público[ลิงก์เสีย]
  4. Cunha, Celso; Cintra, Lindley (1984). Nova Grámática do Português Contemporâneo. Lisboa: Edições João Sá da Costa. p. 10.
  5. VIANNA, Aniceto dos Reis Gonçalves (1892): Exposição da pronuncia normal portuguesa para uso de nacionais e estrangeiros, Lisboa, Imprensa Nacional (Memória apresentada na 10ª Sessão do Congresso Internacional dos Orientalistas), reimpresso in Estudos de fonética portuguesa, Lisboa : Imprensa Nacional /Casa da Moeda, 1973, pp. 153 - 257; disponível online na Biblioteca Nacional Digital.

ภาษาโปรต, เกสแบบย, โรป, โปรต, เกส, português, europeu, หร, อท, เร, ยกว, ภาษาโปรต, เกสแบบโปรต, เกส, português, portugal, ภาษาโปรต, เกสคาบสม, ทร, português, peninsular, และ, ภาษาโปรต, เกสแบบไอบ, เร, português, ibérico, เป, นช, อเร, ยกโดยรวมของว, ธภาษาต, าง, ของภ. phasaoprtueksaebbyuorp oprtueks portugues europeu 2 hruxthieriykwa phasaoprtueksaebboprtueks portugues de Portugal phasaoprtuekskhabsmuthr portugues peninsular aela phasaoprtueksaebbixbieriy portugues iberico epnchuxeriykodyrwmkhxngwithphasatang khxngphasaoprtueksthiichinpraethsoprtueksphasaoprtueksaebbyuorpportugues europeuxxkesiyng puɾtuˈɣez ewɾuˈpew praethsthimikarphudoprtuekscanwnphuphud40 lankhn 2555 1 trakulphasaxinod yuorepiyn xitalikormansormanstawntkormansixbieriyixbieriytawntkkaliesiy oprtueksoprtueksphasaoprtueksaebbyuorpsthanphaphthangkarphasathangkar oprtueksphuwangraebiybaephnkxksrsastraehngbnthitysthanwithyasastrlisbxnrhsphasaISO 639 3 tamkdhmaykhxngshphaphyuorp phasaoprtueksepnhnunginphasathangkarkhxngshphaph epnphasathangankhxngrthsphayuorp aetimichphasathangankhxngkhnakrrmathikaryuorp dngnninexksarrahwangpraethsrwmthnginewbistthangkartang khxngshphaphcungichphasaoprtueksaebbyuorp nxkcakniyngmikarsxnphasaoprtueksaebbyuorpinpraethssepn odyechphaaxyangyinginaekhwnexsetrmadura 3 aelathwolkphanthangsthabnkamxych praethsaeladinaednxun thiphudphasaoprtueksepnphasahlk ykewnpraethsbrasil yngrbmatrthanphasaoprtueksaebbyuorpipichdwyenuxngcakyngimmimatrthanthangphasaepnkhxngtnexngsingthieriykwa withphasamatrthan khxngphasaoprtueksaebbyuorpnnaetktangkniptamkhwamehnkhxngnkwichakar bangkhnthuxwawithphasamatrthankhxngphasanikhuxwithphasaphakhklang itkhxngphuphudthimikarsuksainlisbxn inkhnathibangkhnthuxwawithphasamatrthankhxngphasanimacak klumwithphasakhxngphumikarsuksainphumiphakhlisbxn kuxingbra 4 xyangirktam phumiphakhlisbxn kuxingbra imekhymipraktimwacaepninaengphumisastr prachakrsastr sngkhmwithya phasasastr hruxxun bangkhncungehnwakarihsthanaphiessaekkuxingbrainkarephyaephrmatrthanthangphasamacakkarthiemuxngdngklawepnthitngkhxngmhawithyalysakhyethann inplaykhriststwrrsthi 19 xaniaestu duch irch kngslwuch wiyana nkphasasastraelaphubukebikwngkarsthsastroprtueks aemcarbruthungkarmixyukhxng matrthanklang in phakhklangkhxngrachxanackr rahwangkuxingbrakblisbxn aetkekhiyntaraxthibay karxxkesiyngechingbrrthdthan khxngphasaoprtueksaebbyuorpodyxingcakwithphasathiichinlisbxn 5 pccubn hnwynganthimihnathiwangkdeknthtang ekiywkbkarichphasaoprtueksaebbyuorpkhux aephnkxksrsastraehngbnthitysthanwithyasastrlisbxn Classe de Letras da Academia das Ciencias de Lisboa xangxing aekikh phasaoprtueksaebbyuorp at Ethnologue 18th ed 2015 Cunha Celso Cintra Lindley 1996 Nova Gramatica do Portugues Contemporaneo 12 ª ed Lisboa Edicoes Joao Sa da Costa p 9 19 ISBN 972 9230 00 5 Espanha Extremadura lanca campanha para fomentar aprendizagem da lingua portuguesa in Publico lingkesiy Cunha Celso Cintra Lindley 1984 Nova Gramatica do Portugues Contemporaneo Lisboa Edicoes Joao Sa da Costa p 10 VIANNA Aniceto dos Reis Goncalves 1892 Exposicao da pronuncia normal portuguesa para uso de nacionais e estrangeiros Lisboa Imprensa Nacional Memoria apresentada na 10ª Sessao do Congresso Internacional dos Orientalistas reimpresso in Estudos de fonetica portuguesa Lisboa Imprensa Nacional Casa da Moeda 1973 pp 153 257 disponivel online na Biblioteca Nacional Digital bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaoprtueksaebbyuorp amp oldid 9577848, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม