fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาอิตาลิก

กลุ่มภาษาอิตาลิก เป็นสมาชิกของสาขาเซนตุม (Centum) ของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ซึ่งรวมถึงกลุ่มภาษาโรมานซ์ (มีภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี และภาษาสเปน กับภาษาอื่น ๆ) และภาษาที่สูญพันธุ์บางภาษา

อาณาบริเวณที่พูดกลุ่มภาษาอิตาลิก
  เรติก (Raetic)
  ลาโปนติก (Lepontic)
  เวเนติก (Venetic)
  อีลิเลียน (Illyrian)
  ลีคูเลียน (Ligurian)
  อีทูสแคน (Etruscan)
  อัมเบรียน (Umbrian)
  ลิบูรเนียน (Liburnian)
  ลาติน (Latin)
  ออสกัน (Oscan)
  เมสสาพิก (Messapic)
  กรีค (Greek)
  ซีเคิล (Sicel)
  พิซินี เหนือ (N. Picene)
  พิซินี ใต้ (S. Picene)

อิตาลิกมี 2 สาขา คือ

  • ซาเบลลิก (Sabellic) ประกอบด้วย
    • ออสกัน (Oscan) ทางภาคใต้ส่วนกลางของคาบสมุทรอิตาลี
    • กลุ่มอัมเบรียน (Umbrian) ประกอบด้วย
      • ภาษาอัมเบรียน (Umbrian) (ซึ่งต่างจากภาษาย่อยของอิตาเลียน ที่เรียกว่าอัมเบรียน) ทางภาคเหนือส่วนกลาง
      • ภาษาโวลเซียน (Volscian)
      • ภาษาเอเควียน (Aequian)
      • ภาษามาร์เซียน (Marsian) ภาษาของชนกลุ่มมาร์ซี (Marsi)
    • ภาษาไพซีนใต้ (South Picene) ทางภาคตะวันออกส่วนกลาง
  • ลาติโน-ฟาลิสกัน (Latino-Faliscan) ประกอบด้วย:
    • กลุ่มภาษาฟาลิสกัน (Faliscan) ในบริเวณรอบ ๆ ฟาเลรี เวเตเรส (ซิวิตา คาสเตลลานา ปัจจุบัน) ทางเหนือของกรุงโรม
    • ภาษาละติน ทางภาคตะวันตกส่วนกลางของอิตาลี และการรุกรานของโรมันทำให้ภาษาละตินแพร่กระจายไปทั่วอาณาจักร

คนที่พูดภาษาอิตาลิก ไม่ได้เป็นชาวพื้นเมืองของอิตาลี แต่ได้ย้างมาตั้งถิ่นฐานในอิตาลีในช่วง 2000 ปีก่อนคริสตกาล ตามหลักฐานโบราณคดี วัฒนธรรมแอปเปไนน์ (การฝังศพ) เข้ามาสู่คาบสมุทรอิตาลีประมาณ 1350 BC จากตะวันออกสู่ตะวันตก ยุคเหล็กเจ้ามาสู่อืตาลีในช่วง 1100 BC กับวัฒนธรรมวิลลาโนวา (การ เผาศพ) จากเหนือสู่ใต้ ก่อนหน้าที่จะมีชาวอิตาลิกนั้น ประชากรของอิตาลีส่วนใหญ่เป้นกลุ่มที่ไม่ใช่อินโด-ยุโรเปียน ( อาจรวมถึงชาวเอทรัสแกน) การตั้งถิ่นฐานครั้งแรกที่เนินพาลาทีน (Palatine hill) เกิดขึ้นเมื่อ 750 BC ส่วนการตั้งถิ่นฐานที่ เนินคิรินัล(Quirinal) เกิดขึ้นเมื่อ 720 BC ภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาอิตาลิกมากที่สุดคือกลุ่มภาษาเคลติก (ดู อิตาโล-เคลติก)

กลุ่มภาษาอิตาลิกพบเป็นอักษรครั้งแรกจากคำจารึกของ ภาษาอัมเบรียนและภาษาฟาลิสกันจากศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล อักษรที่ใช้มาจากอักษรอิตาลิกโบราณ ซึ่งสืบมาจากอักษรกรีก กลุ่มภาษาอิตาลิกแสดงถึงอิทธิพลจากภาษาเอทรัสแกน (Etruscan) เล็กน้อย และจากภาษาของกรีกโบราณมากขึ้นในขณะที่โรม ได้แผ่อาณาเขตทั่วคาบสมุทรอิตาลี ภาษาละตินได้กลายเป็นภาษาที่เด่นเหนือภาษาอื่น ๆ ในกลุ่มอิตาลิก ซึ่งสูญพันธุ์ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 1 และจากภาษาละตินสามัญ หรือ (Vulgar Latin) ก่อให้เกิดกลุ่มภาษาโรมานซ์

ภาษาเวเนติก (Venetic) ซึ่งเป็นภาษาโบราณที่ปรากฏในคำจารึก (ซึ่งรวมถึงประโยคเต็ม ๆ ด้วย) ถือโดยนักภาษาศาสตร์หลายท่านว่าใกล้เคียงกับกลุ่มภาษาอิตาลิก และในบางกรณีถือเป็นกลุ่มภาษาอิตาลิกด้วย

ดูเพิ่ม

กล, มภาษาอ, ตาล, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เป, นสมาช, กของสาขาเ. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir klumphasaxitalik epnsmachikkhxngsakhaesntum Centum khxngtrakulphasaxinod yuorepiyn sungrwmthungklumphasaormans miphasafrngess phasaxitali aelaphasasepn kbphasaxun aelaphasathisuyphnthubangphasaxanabriewnthiphudklumphasaxitalik ertik Raetic laopntik Lepontic ewentik Venetic xilieliyn Illyrian likhueliyn Ligurian xithusaekhn Etruscan xmebriyn Umbrian libureniyn Liburnian latin Latin xxskn Oscan emssaphik Messapic krikh Greek siekhil Sicel phisini ehnux N Picene phisini it S Picene xitalikmi 2 sakha khux saebllik Sabellic prakxbdwy xxskn Oscan thangphakhitswnklangkhxngkhabsmuthrxitali klumxmebriyn Umbrian prakxbdwy phasaxmebriyn Umbrian sungtangcakphasayxykhxngxitaeliyn thieriykwaxmebriyn thangphakhehnuxswnklang phasaowlesiyn Volscian phasaexekhwiyn Aequian phasamaresiyn Marsian phasakhxngchnklummarsi Marsi phasaiphsinit South Picene thangphakhtawnxxkswnklang lation faliskn Latino Faliscan prakxbdwy klumphasafaliskn Faliscan inbriewnrxb faelri eweters siwita khasetllana pccubn thangehnuxkhxngkrungorm phasalatin thangphakhtawntkswnklangkhxngxitali aelakarrukrankhxngormnthaihphasalatinaephrkracayipthwxanackr klumphasaormans subskulmacakphasalatinkhnthiphudphasaxitalik imidepnchawphunemuxngkhxngxitali aetidyangmatngthinthaninxitaliinchwng 2000 pikxnkhristkal tamhlkthanobrankhdi wthnthrrmaexpepinn karfngsph ekhamasukhabsmuthrxitalipraman 1350 BC caktawnxxksutawntk yukhehlkecamasuxutaliinchwng 1100 BC kbwthnthrrmwillaonwa kar ephasph cakehnuxsuit kxnhnathicamichawxitaliknn prachakrkhxngxitaliswnihyepnklumthiimichxinod yuorepiyn xacrwmthungchawexthrsaekn kartngthinthankhrngaerkthieninphalathin Palatine hill ekidkhunemux 750 BC swnkartngthinthanthi eninkhirinl Quirinal ekidkhunemux 720 BC phasathiiklekhiyngkbphasaxitalikmakthisudkhuxklumphasaekhltik du xitaol ekhltik klumphasaxitalikphbepnxksrkhrngaerkcakkhacarukkhxng phasaxmebriynaelaphasafaliskncakstwrrsthi 7 kxnkhristkal xksrthiichmacakxksrxitalikobran sungsubmacakxksrkrik klumphasaxitalikaesdngthungxiththiphlcakphasaexthrsaekn Etruscan elknxy aelacakphasakhxngkrikobranmakkhuninkhnathiorm idaephxanaekhtthwkhabsmuthrxitali phasalatinidklayepnphasathiednehnuxphasaxun inklumxitalik sungsuyphnthupramankhriststwrrsthi 1 aelacakphasalatinsamy hrux Vulgar Latin kxihekidklumphasaormansphasaewentik Venetic sungepnphasaobranthipraktinkhacaruk sungrwmthungpraoykhetm dwy thuxodynkphasasastrhlaythanwaiklekhiyngkbklumphasaxitalik aelainbangkrnithuxepnklumphasaxitalikdwyduephim aekikhtrakulkhxngphasa klumphasaxinod yuorepiyn bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasaxitalik amp oldid 8922975, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม