fbpx
วิกิพีเดีย

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Accipitriformes
วงศ์: Accipitridae
สกุล: Gyps
สปีชีส์: G.  himalayensis
ชื่อทวินาม
Gyps himalayensis
Hume, 1869

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย (อังกฤษ: Himalayan griffon vulture; ชื่อวิทยาศาสตร์: Gyps himalayensis) เป็นนกล่าเหยื่อจำพวกอีแร้งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง

ลักษณะ

ส่วนหัวและลำคอมีขนอุยสีขาว ขนแผงคอสีน้ำตาลอ่อนมีลายขีดสีขาว ลำตัวสีน้ำตาลออกเหลืองหรือสีกากีอ่อน ใต้ท้องสีน้ำตาลอ่อนกว่าด้านหลัง ก้านขนแต่ละเส้นจะมีลักษณะเป็นสีขาวเด่นออกมาจากพื้นสีลำตัว เมื่อยังเล็ก นกวัยอ่อนจะมีสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีลายสีขาวบนก้านขนอย่างเห็นได้ชัดเจนกว่านกวัยโต มีขนปีกและขนหางสีดำ ขนหางมีทั้งหมด 14 เส้น

มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 110 เซนติเมตร ปีกเมื่อกางออกยาวได้ถึงเกือบ 3 เมตร น้ำหนักประมาณ 8-12 กิโลกรัม

การกระจายพันธุ์และพฤติกรรม

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย จัดเป็นแร้งหรืออีแร้งที่มีขนาดใหญ่รองมาจากแร้งดำหิมาลัย (Aegypius monachus) ที่สามารถพบได้แถบเทือกเขาหิมาลัยเช่นเดียวกัน กระจายพันธุ์อยู่ตามแถบเทือกเขาของภูมิภาคเอเชียกลางไปจนถึงจีนและไซบีเรีย โดยปกติจะอาศัยอยู่ในพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล 600-2,500 เมตร เวลาบินหากินจะบินไปจนถึงระดับ 4,500 เมตร หรือสูงกว่านี้ จะหากินเพียงลำพังหรือพบเป็นฝูงเล็ก ๆ เพียง 2-3 ตัว โดยจะหากินตามช่องเขาหรือทางเดินบนเขา หรือบินตามฝูงสัตว์เพื่อรอกินซากของสัตว์ที่ตาย

การขยายพันธุ์และสถานะ

มีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนมกราคมถึงเมษายน รังมีขนาดใหญ่โดยทำจากเศษกิ่งไม้หรือวัสดุอื่น ๆ ทำรังบนหน้าผาสูง ทำรังเดี่ยวหรือรวมกันเป็นหลายรังประมาณ 5-6 รังในที่เดียวกัน ตัวเมียจะวางไข่เพียงครั้งละ 1 ฟอง

แร้งสีน้ำตาลหิมาลัยไม่ใช่นกประจำประเทศไทย แต่เป็นนกอพยพที่ฤดูหนาวจะบินลงใต้มาอาศัยอยู่ยังประเทศไทยเพราะมีอากาศที่อบอุ่นกว่า สถานะอนุรักษ์ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

ในต้นปี พ.ศ. 2558 พบแร้งสีน้ำตาลหิมาลัยตัวหนึ่งตกลงที่ทุ่งนา ในพื้นที่ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เมื่อกางปีกออกมีความยาวถึง 3 เมตร คาดว่าอายุไม่น้อยกว่า 10 ปี น้ำหนักประมาณ 10 กิโลกรัม คาดว่าเป็นเพราะความอ่อนเพลียจึงตกลงมา

อ้างอิง

  1. BirdLife International (2012). "Gyps himalayensis". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2013.2. สืบค้นเมื่อ 26 November 2013.
  2. [ลิงก์เสีย] อีแร้งสีน้ำตาลหิมาลัย โดย จารุจินต์ นภีตะภัฏ
  3. "อีแร้งน้ำตาลหิมาลัยโผล่สตูล ชาวบ้านพบอ่อนเพลียคาดพลัดถิ่น". แนวหน้า. 10 January 2015. สืบค้นเมื่อ 11 January 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

แร, งส, ำตาลห, มาล, สถานะการอน, กษ, ความเส, ยงต, iucn, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, chordataช, avesอ, นด, accipitriformesวงศ, accipitridaeสก, gypsสป, himalayensisช, อทว, นามgyps, himalayensishume, 1869, งกฤษ, himalayan, griffon, vulture,. aerngsinatalhimalysthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Accipitriformeswngs Accipitridaeskul Gypsspichis G himalayensischuxthwinamGyps himalayensisHume 1869 aerngsinatalhimaly xngkvs Himalayan griffon vulture chuxwithyasastr Gyps himalayensis epnnklaehyuxcaphwkxiaerngkhnadihychnidhnung enuxha 1 lksna 2 karkracayphnthuaelaphvtikrrm 3 karkhyayphnthuaelasthana 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunlksna aekikhswnhwaelalakhxmikhnxuysikhaw khnaephngkhxsinatalxxnmilaykhidsikhaw latwsinatalxxkehluxnghruxsikakixxn itthxngsinatalxxnkwadanhlng kankhnaetlaesncamilksnaepnsikhawednxxkmacakphunsilatw emuxyngelk nkwyxxncamisinatalekhmekuxbda milaysikhawbnkankhnxyangehnidchdecnkwankwyot mikhnpikaelakhnhangsida khnhangmithnghmd 14 esnmikhnadlatwyawpraman 110 esntiemtr pikemuxkangxxkyawidthungekuxb 3 emtr nahnkpraman 8 12 kiolkrmkarkracayphnthuaelaphvtikrrm aekikhaerngsinatalhimaly cdepnaernghruxxiaerngthimikhnadihyrxngmacakaerngdahimaly Aegypius monachus thisamarthphbidaethbethuxkekhahimalyechnediywkn kracayphnthuxyutamaethbethuxkekhakhxngphumiphakhexechiyklangipcnthungcinaelaisbieriy odypkticaxasyxyuinphunthisungcakradbnathael 600 2 500 emtr ewlabinhakincabinipcnthungradb 4 500 emtr hruxsungkwani cahakinephiynglaphnghruxphbepnfungelk ephiyng 2 3 tw odycahakintamchxngekhahruxthangedinbnekha hruxbintamfungstwephuxrxkinsakkhxngstwthitaykarkhyayphnthuaelasthana aekikhmivduphsmphnthurahwangeduxnmkrakhmthungemsayn rngmikhnadihyodythacakesskingimhruxwsduxun tharngbnhnaphasung tharngediywhruxrwmknepnhlayrngpraman 5 6 rnginthiediywkn twemiycawangikhephiyngkhrngla 1 fxngaerngsinatalhimalyimichnkpracapraethsithy aetepnnkxphyphthivduhnawcabinlngitmaxasyxyuyngpraethsithyephraamixakasthixbxunkwa sthanaxnurksinpraethsithy epnstwpakhumkhrxngtamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa phuththskrach 2535 2 intnpi ph s 2558 phbaerngsinatalhimalytwhnungtklngthithungna inphunthitablthaaeph xaephxthaaeph cnghwdstul emuxkangpikxxkmikhwamyawthung 3 emtr khadwaxayuimnxykwa 10 pi nahnkpraman 10 kiolkrm khadwaepnephraakhwamxxnephliycungtklngma 3 xangxing aekikh BirdLife International 2012 Gyps himalayensis IUCN Red List of Threatened Species Version 2013 2 subkhnemux 26 November 2013 lingkesiy xiaerngsinatalhimaly ody carucint nphitapht xiaerngnatalhimalyophlstul chawbanphbxxnephliykhadphldthin aenwhna 10 January 2015 subkhnemux 11 January 2015 khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb Gyps himalayensisaehlngkhxmulxun aekikh khxmulekiywkhxngkb Gyps himalayensis cakwikispichis ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aerngsinatalhimaly amp oldid 9688420, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม