fbpx
วิกิพีเดีย

ทาลัสซีเมียแบบแอลฟา

ทาลัสซีเมียแบบแอลฟา (อังกฤษ: Alpha-thalassemia, α-thalassemia, α-thalassaemi) เป็นทาลัสซีเมียประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นกลุ่มโรคเลือดที่สืบทอดทางกรรมพันธุ์และเกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่โปรตีนของเฮโมโกลบิน โดยเฉพาะแล้ว แบบแอลฟาเกิดจากความผิดปกติของยีน HBA1 และ/หรือ HBA2 บนโครโมโซม 16 ทำให้ผลิตห่วงลูกโซ่แบบแอลฟาจากยีน globin 1,2,3, หรือทั้ง 4 ยีนอย่างผิดปกติ มีผลให้ห่วงลูกโซ่แบบแอลฟาลดลงหรือไม่มี และเกิดห่วงลูกโซ่แบบบีตามากเกินสัดส่วน ระดับความพิการที่เกิดจะขึ้นอยู่กับลักษณะทางพันธุกรรม (phenotype) ที่มี คือ มียีนกี่ตำแหน่งที่เปลี่ยนไป แต่โดยทั่วไปแล้วความไม่สมดุลของห่วงลูกโซ่แอลฟาและบีตาจะทำให้เกิดการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis) และการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ คนที่มีกรรมพันธุ์แบบพาหะเงียบ (silent carrier) และแบบลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จะไม่มีอาการ ไม่ต้องรักษา และจะมีการคาดหมายคงชีพที่อายุปกติ คนที่เป็นระดับปานกลาง (intermedia) จะมีภาวะเลือดจางเพราะการสลายเลือด และทารกที่มีระดับหนัก (major) มักจะไม่รอดชีวิต บุคคลที่มีโรคควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนมีบุตร/ก่อนแต่งงาน และบุคคลที่เป็น trait ควรตรวจบุตรที่อยู่ในครรภ์ (chorionic villus sampling)

ทาลัสซีเมียแบบแอลฟา
(Alpha-thalassemia)
การสืบทอดทาลัสซีเมียแบบแอลฟาทางพันธุกรรม
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10D56.0
ICD-9282.43
OMIM141800 141850 142310 604131
DiseasesDB448 33334
eMedicinearticle/955496
MeSHD017085
GeneReviews
  • Alpha-Thalassemia

อาการ

อาการปรากฏของบุคคลที่มีภาวะนี้รวมทั้ง

เหตุ

ภาวะนี้สืบทอดทางกรรมพันธุ์ในรูปแบบ Mendelian recessive (ลักษณะด้อยของเมนเดล) ผ่านออโตโซม และสัมพันธ์กับการหลุดหายของโครโมโซม 16p แต่โรคสามารถ "เกิดขึ้น" ได้ในสถานการณ์ที่มีน้อย

พยาธิสรีรภาพ

เฮโมโกลบินในเลือดมีลักษณะเป็นวงแหวน heme มีหน่วยย่อยเป็นห่วงลูกโซ่โปรตีน globin 4 หน่วย โดย 2 หน่วยเป็นแบบแอลฟา และอีกสองหน่วยแบบอื่นนอกจากแอลฟา หน่วยย่อยเหล่านี้จะเป็นตัวกำหนดประเภทของเฮโมโกลบิน เฮโมโกลบินของทารก (HbF) จะมีแอลฟา 2 หน่วยและแกมมา 2 หน่วย (α2γ2) เฮโมโกลบินของผู้ใหญ่ (HbA) จะมีแอลฟา 2 หน่วยและมีบีตา 2 หน่วย (α2β2) และเฮโมโกลบินของผู้ใหญ่ประเภทที่ 2 (HbA2) จะมีแอลฟา 2 หน่วยและเดลตา 2 หน่วย (α2δ2) ผู้ใหญ่ปกติจะมี HbA โดยมาก (> 96%) และ HbA2 โดยส่วนน้อย (<= 4%)

กลไกของโรคทำให้เกิดการผลิตห่วงโซ่ globin แบบแอลฟาน้อยลง ทำให้ห่วงโซ่แบบบีตามีเกินในผู้ใหญ่ และแบบแกมมาเกินในทารกเกิดใหม่ ลูกโซ่บีตาที่เกินจะประกอบเป็นโมเลกุลมีหน่วยย่อย 4 ส่วน (tetramer) ที่ไม่เสถียรซึ่งเรียกว่า Hemoglobin H (HbH) เป็นห่วงโซ่บีตา 4 ห่วงต่อกัน (β4) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ส่งออกซิเจนได้ไม่ดี เพราะว่าสัมพรรคภาพ (affinity) ของโมเลกุลกับออกซิเจนสูงเกินไป และดังนั้น จึงไม่ปล่อยออกซิเจนในที่ที่ควร ทาลัสซีเมียแอลฟา0 แบบ homozygote ซึ่งจะมีห่วงโซ่แกมมา4 มาก (γ4) แต่ไม่มีแบบแอลฟาเลย (เรียกว่า Hemoglobin Barts) บ่อยครั้งจะทำให้เสียชีวิตหลังเกิดไม่นาน

การวินิจฉัย

การวินิจฉัยทาลัสซีเมียแบบแอลฟาโดยหลักทำโดยการทดสอบในแล็บ และ haemoglobin electrophoresis แต่สามารถวินิจฉัยผิดว่าเป็นภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็กได้ง่าย ๆ โดยอาศัยการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ หรือจากการตรวจฟิล์มเลือด เพราะอาการทั้งสองล้วนมีภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดเล็ก (microcytic) ระดับเหล็กและ ferritin ในเลือดสามารถใช้กันภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็กออกได้

โดยมากคนจะพบ trait ทาลัสซีเมียโดยบังเอิญเมื่อตรวจเลือดโดยการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์แล้วพบว่ามีภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดเล็ก (microcytic) อย่างเบา ๆ ซึ่งอาจมีเหตุจากภาวะต่าง ๆ รวมทั้งการขาดธาตุเหล็ก, ทาลัสซีเมีย, ตะกั่วเป็นพิษ, sideroblastic anemia, หรือภาวะเลือดจางเหตุโรคเรื้อรังอื่น ๆ ปริมาตรของเม็ดเลือดแดงโดยเฉลี่ย (MCV), ความกว้างของการกระจายขนาดเม็ดเลือดแดง (RDW), และประวัติคนไข้สามารถกันเหตุบางอย่างเหล่านี้ออกไป คือ สำหรับทาลัสซีเมีย MCV ปกติจะน้อยกว่า 75 fl และสำหรับการขาดธาตุเหล็ก MCV ปกติจะไม่น้อยกว่า 80 fl ยกเว้นเมื่อฮีมาโทคริตน้อยกว่า 30% สำหรับเด็ก Mentzer index คือ อัตรา MCV/red blood cell count สามารถเป็นตัวจำแนก คือสำหรับการขาดธาตุเหล็ก อัตราปกติจะสูงกว่า 13 เทียบกับทาลัสซีเมียที่น้อยกว่า 13 ถ้าอยู่ที่ 13 นี่บ่งว่าไม่ชัดเจน

RDW อาจจำแนกการขาดธาตุเหล็กและ sideroblastic anemia ออกจากทาลัสซีเมีย คือ เกิน 90% ในบุคคลที่ขาดธาตุเหล็ก RDW จะมีค่าสูง แต่จะสูงเพียงในแค่ 50% ของคนที่มีทาลัสซีเมีย และสำหรับ sideroblastic anemia ค่านี้ก็จะสูงด้วย ดังนั้น ภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดเล็กที่มีค่า RDW ปกติ โดยมากจะเป็นเพราะทาลัสซีเมีย ส่วนบุคคลที่มี RDW สูงจะต้องตรวจสอบมากขึ้น

ค่าเลือดเปรียบเทียบระหว่างการขาดธาตุเหล็ก ทาลัสซีเมียแอลฟาและบีตา
ค่าวัดเลือด การขาดธาตุเหล็ก α-thalassemia β-thalassemia
MCV (ผิดปกติถ้า < 80 fl ในผู้ใหญ่) ต่ำ ต่ำ ต่ำ
RDW สูง ปกติ บางครั้งสูง ปกติ
ferritin ต่ำ ปกติ ปกติ
Mentzer index (สำหรับเด็ก)

(MCV/red blood cell count)

>13 <13 <13
Hb electrophoresis ปกติ หรือHbA2 อาจน้อย HbA2 มาก, HbA น้อย, HbF มาก ผู้ใหญ่ (ปกติ)

ระดับ ferritin เป็นการตรวจที่ไวต่อภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็กมากที่สุด ดังนั้นถ้าไม่มีการอักเสบ ระดับ ferritin ปกติโดยทั่วไปจะกันการขาดธาตุเหล็กออก ภาวะเลือดจางเหตุโรคเรื้อรังบ่อยที่สุดจะเป็นแบบเบา ๆ มีเม็ดเลือดขนาดปกติ (normocytic ) และมีสีปกติ (normochromic)

ทาลัสซีเมียแบบบีตาจะมีระดับ HbA ที่ลดลงหรือหรือไม่มี มี HbA2 สูงขึ้น และมี HbF สูงขึ้น แต่ว่าการมีระดับ HbA2 ปกติไม่ได้กันทาลัสซีเมียแบบบีตาออกโดยเฉพาะถ้ามีการขาดธาตุเหล็กพร้อม ๆ กัน ซึ่งสามารถลด HbA2 สู่ระดับปกติ ทาลัสซีเมียแบบแอลฟาโดยทั่วไปจะแสดง HbA และ HbA2 ในระดับปกติ ถ้าเด็กทารกเกิดใหม่มีเฮโมโกลบินแบบ HbH หรือ Hb Bart เด็กจะมีทาลัสซีเมียแบบแอลฟา

ชนิด

มีตำแหน่งยีนสองแห่งสำหรับ globin แบบแอลฟา และดังนั้น จึงมียีนสี่ยีนในเซลล์แบบ diploid ยีนสองยีนมาจากแม่ และสองยีนมาจากพ่อ ความรุนแรงของภาวะนี้มีสหสัมพันธ์กับจำนวนยีน globin แบบแอลฟาที่มีปัญหา ยิ่งมากเท่าไร ก็จะรุนแรงขึ้นเท่านั้น ในตารางต่อไปนี้ การบ่ง genotype ว่า "α" หมายถึงเป็นลูกโซ่แอลฟาที่ปกติ

อัลลีลที่ผิดปกติ รายละเอียด Genotype
หนึ่ง นี่รู้จักว่าเป็น ทาลัสซีเมียแบบแอลฟาเงียบ (alpha thalassemia silent) เพราะมีผลน้อยที่สุดต่อการสังเคราะห์เฮโมโกลบิน โดยยีน α-globin 3 แห่งพอให้ผลิตเฮโมโกลบินตามปกติ และจะไม่ปรากฏอาการอะไร ๆ เป็นความผิดปกติที่เกิดจากการกลายพันธุ์แบบหลุดหาย (deletion) หรือไม่ได้หลุดหาย (non-deletion) -/α α/α
สอง
 
การผลิตเม็ดเลือด (Haematopoiesis)

ภาวะนี้เรียกว่า alpha thalassemia trait เพราะว่า มียีนแอลฟา 2 ยีนที่ทำให้สามารถสร้างเม็ดเลือดแดงได้เกือบเป็นปกติ แต่อาจมีภาวะโลหิตจางแบบ microcytic (เม็ดเลือดเล็ก) และ hypochromic (สีเม็ดเลืองจาง) โรครูปแบบนี้สามารถวินิจฉัยผิดว่าเป็นภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็กและรักษาอย่างไม่ถูกต้องโดยการให้ธาตุเหล็ก แบบนี้มี สองรูปแบบย่อย คือ

  • alpha-thal-1 (αα/--) มีการหลุดหายของยีนแบบ cis ที่ยีนแอลฟาทั้งสองในโครโมโซมหนึ่ง
  • alpha-thal-2 (α-/α-) มีการหลุดหายของยีนแบบ trans ที่ยีนในโครโมโซม homologous ทั้งสอง
-/- α/α หรือ
-/α -/α
สาม ภาวะนี้เรียกว่า Hemoglobin H disease เพราะมีเฮโมโกลบินที่ไม่เสถียรสองอย่างในเลือด คือ Hemoglobin Barts (tetrameric γ chains) และ Hemoglobin H (tetrameric β chains) และเฮโมโกลบินทั้งสองนี้มีสัมพรรคภาพ (affinity) กับออกซิเจนในระดับสูงกว่าปกติ มีภาวะโลหิตจางเนื่องจากการสลายของเม็ดเลือดแดงปรากฏทั้งแบบเม็ดเลือดเล็ก (microcytic) และสีเลือดจาง (hypochromic) โดยมีทั้ง codocyte (หรือ target cell) และ Heinz body (หรือ precipitated HbH) ในฟิล์มเลือด โดยปรากฏกับม้ามตับโต (hepatosplenomegaly) โดยจะสังเกตเห็นได้ตั้งแต่เด็กหรือผู้ใหญ่วัยต้น ๆ ด้วยเหตุภาวะโลหิตจางและม้ามตับโต -/- -/α
สี่ นี้เรียกว่า alpha thalassemia major ทารกในครรภ์จะมีอาการบวมน้ำ และมีเฮโมโกลบินที่หมุนเวียนไปน้อย และที่มีทั้งหมดก็จะเป็นแบบ tetrameric γ chains เมื่ออัลลีลทั้ง 4 อันเสียหาย ทารกจะไม่สามารถรอดชีวิตโดยไม่ช่วย เพราะว่า ทารกโดยมากจะตายคลอดด้วยอาการทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis) แต่ทารกในครรภ์ที่ได้รับการถ่ายเลือดตลอดการตั้งครรภ์เริ่มตั้งแต่ต้น ๆ สามารถรอดชีวิตจนเกิดออกมาได้ โดยมีภาวะโรคในระดับที่ยอมรับได้ และหลังจากเกิด ทางเลือกในการรักษารวมทั้งการปลูกถ่ายไขกระดูก หรือการถ่ายเปลี่ยนเลือดเป็นประจำ -/- -/-

การรักษา

บุคคลที่มี trait ทาลัสซีเมียไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่ต้องสอดส่อง ปกติจะไม่ขาดธาตุเหล็ก การเสริมธาตุเหล็กจะไม่ช่วยภาวะเลือดจางของบุคคลนี้ และ ดังนั้น จึงไม่ควรทานธาตุเหล็กเสริมยกเว้นถ้าขาดธาตุเหล็ก

การรักษาโรคนี้อาจรวมการถ่ายเลือด การตัดม้าม (splenectomy) นอกจากนั้นแล้ว นิ่วในถุงน้ำดีอาจเป็นปัญหาที่ต้องอาศัยการผ่าตัด ปัญหาระดับทุติยภูมิจากคราวเป็นไข้ (febrile episode) ควรจะสอดส่องดูแล แต่ว่าคนไข้โดยมากสามารถใช้ชีวิตได้โดยไม่ต้องรักษาอะไร

นอกจากนั้นแล้ว การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด ยังสามารถใช้รักษาได้โดยทำตั้งแต่อายุน้อย ๆ วิธีการอื่น ๆ เช่น ยีนบำบัด (gene therapy) กำลังพัฒนาอยู่

วิทยาการระบาด

ตามวิทยาการระบาด การกระจายตัวทั่วโลกของทาลัสซีเมียแบบแอลฟาที่สืบทางกรรมพันธุ์เป็นไปตามเขตโรคมาลาเรีย ซึ่งแสดงนัยว่ามีบทบาทป้องกันโรค เป็นโรคที่สามัญในเขตแอฟริกาใต้สะฮารา ในเขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และโดยทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน การระบาดของโรคนี้ในสหรัฐอเมริกาสะท้อนการกระจายทั่วโลก โดยเฉพาะก็คือ Hemoglobin H disease มักจะมากับคนเอเชียอาคเนย์และคนตะวันออกกลาง ส่วน Hb Bart Hydrops fetalis มาจากเขตเอเชียอาคเนย์เท่านั้น

5% ของประชากรโลกมีโปรตีน globin ที่ต่างไปจากปกติ แต่เพียงแค่ 1.7% มีทาลัสซีเมียแบบแอลฟาหรือบีตา ทั้งชายหญิงมีโรคเท่า ๆ กัน โดยมีอัตราที่ 4.4 ต่อเด็กที่เกิดโดยรอดชีวิต 10,000 คน แบบอัลฟาเกิดบ่อยที่สุดในคนแอฟริกาและคนเอเชียอาคเนย์ แบบเบตาเกิดบ่อยที่สุดในคนเขตเมดิเตอร์เรนียน คนแอฟริกา และคนเอเชียอาคเนย์ โดยมีความชุกของโรคในหมู่คนเหล่านี้ประมาณ 5-30%

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Muncie, Herbert L, Jr (MD); Campbell, James S (MD) (2009-08-15). "Alpha and Beta Thalassemia". Am Fam Physician. 80 (4).CS1 maint: uses authors parameter (link)
  2. Online 'Mendelian Inheritance in Man' (OMIM) Hemoglobin—Alpha locus 1; HBA1 -141800
  3. Online 'Mendelian Inheritance in Man' (OMIM) Hemoglobin—Alpha locus 2; HBA2 -141850
  4. "Alpha Thalassemia Workup: Approach Considerations, Laboratory Studies, Hemoglobin Electrophoresis". emedicine.medscape.com. สืบค้นเมื่อ 2016-05-24.
  5. Reference, Genetics Home. "alpha thalassemia". Genetics Home Reference. สืบค้นเมื่อ 2016-09-08.
  6. Origa, Raffaella; Moi, Paolo; Galanello, Renzo; Cao, Antonio (1993-01-01). "Alpha-Thalassemia". GeneReviews (®). University of Washington, Seattle. สืบค้นเมื่อ 2016-09-22. update 2013
  7. BRS Pathology (4th ed.). Lippincott Williams & Wilkins medical. 2009-12. p. 162. ISBN 978-1451115871. Check date values in: |date= (help)
  8. Steensma, DP; Gibbons, RJ; Higgs, DR (2005-01). "Acquired alpha-thalassemia in association with myelodysplastic syndrome and other hematologic malignancies". Blood. 105 (2): 443–52. doi:10.1182/blood-2004-07-2792. PMID 15358626. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link)
  9. Galanello, Renzo; Cao, Antonio (2011-01-05). "Alpha-thalassemia". Genetics in Medicine (ภาษาอังกฤษ). 13 (2): 83–88. doi:10.1097/GIM.0b013e3181fcb468. ISSN 1098-3600. สืบค้นเมื่อ 2016-09-22.
  10. "Hemoglobin H disease". Orphanet. สืบค้นเมื่อ 2016-09-22.
  11. Vichinsky, Elliott P. (2009-01-01). "Alpha thalassemia major—new mutations, intrauterine management, and outcomes". ASH Education Program Book (ภาษาอังกฤษ). 2009 (1): 35–41. doi:10.1182/asheducation-2009.1.35. ISSN 1520-4391. PMID 20008180.
  12. "Complications and Treatment | Thalassemia | Blood Disorders | NCBDDD | CDC". www.cdc.gov. สืบค้นเมื่อ 2016-09-22.
  13. "Thalassaemia | Doctor | Patient". Patient. สืบค้นเมื่อ 2016-09-22.
  14. Harteveld, Cornelis L; Higgs, Douglas R (2010). "α-thalassaemia". Orphanet Journal of Rare Diseases. 5 (1): 13. doi:10.1186/1750-1172-5-13. ISSN 1750-1172. สืบค้นเมื่อ 2016-09-22.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Anie, Kofi A; Massaglia, Pia (2014-03-06). "Psychological therapies for thalassaemia". Cochrane Database of Systematic Reviews (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons, Ltd. doi:10.1002/14651858.cd002890.pub2/full. สืบค้นเมื่อ 2016-09-15.
  • Galanello, Renzo; Cao, Antonio (2011-01-05). "Alpha-thalassemia". Genetics in Medicine (ภาษาอังกฤษ). 13 (2): 83–88. doi:10.1097/GIM.0b013e3181fcb468. ISSN 1098-3600. สืบค้นเมื่อ 2016-09-15.
  • "What Are Thalassemias? - NHLBI, NIH". www.nhlbi.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2016-09-15.

ทาล, สซ, เม, ยแบบแอลฟา, งกฤษ, alpha, thalassemia, thalassemia, thalassaemi, เป, นทาล, สซ, เม, ยประเภทหน, งเป, นกล, มโรคเล, อดท, บทอดทางกรรมพ, นธ, และเก, ดจากความผ, ดปกต, ในการส, งเคราะห, วงล, กโซ, โปรต, นของเฮโมโกลบ, โดยเฉพาะแล, แบบแอลฟาเก, ดจากความผ, ดปกต, ขอ. thalssiemiyaebbaexlfa xngkvs Alpha thalassemia a thalassemia a thalassaemi epnthalssiemiypraephthhnung sungepnklumorkheluxdthisubthxdthangkrrmphnthuaelaekidcakkhwamphidpktiinkarsngekhraahhwnglukosoprtinkhxngehomoklbin 1 odyechphaaaelw aebbaexlfaekidcakkhwamphidpktikhxngyin HBA1 2 aela hrux HBA2 3 bnokhromosm 16 1 thaihphlithwnglukosaebbaexlfacakyin globin 1 2 3 hruxthng 4 yinxyangphidpkti miphlihhwnglukosaebbaexlfaldlnghruximmi aelaekidhwnglukosaebbbitamakekinsdswn radbkhwamphikarthiekidcakhunxyukblksnathangphnthukrrm phenotype thimi khux miyinkitaaehnngthiepliynip 4 5 1 aetodythwipaelwkhwamimsmdulkhxnghwnglukosaexlfaaelabitacathaihekidkarslaykhxngemdeluxdaedng hemolysis aelakarsrangemdeluxdaedngthiimmiprasiththiphaph khnthimikrrmphnthuaebbphahaengiyb silent carrier aelaaebblksnasubsayphnthu trait caimmixakar imtxngrksa aelacamikarkhadhmaykhngchiphthixayupkti khnthiepnradbpanklang intermedia camiphawaeluxdcangephraakarslayeluxd aelatharkthimiradbhnk major mkcaimrxdchiwit bukhkhlthimiorkhkhwrcapruksaaephthykxnmibutr kxnaetngngan aelabukhkhlthiepn trait khwrtrwcbutrthixyuinkhrrph chorionic villus sampling 1 thalssiemiyaebbaexlfa Alpha thalassemia karsubthxdthalssiemiyaebbaexlfathangphnthukrrmbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10D56 0ICD 9282 43OMIM141800 141850 142310 604131DiseasesDB448 33334eMedicinearticle 955496MeSHD017085GeneReviewsAlpha Thalassemia enuxha 1 xakar 2 ehtu 3 phyathisrirphaph 4 karwinicchy 4 1 chnid 5 karrksa 6 withyakarrabad 7 duephim 8 echingxrrthaelaxangxing 9 aehlngkhxmulxunxakar aekikhxakarpraktkhxngbukhkhlthimiphawanirwmthng 5 6 disan khwamxxnepliy hnaphaknunxxk niwinthungnadi khwamdnolhitsung emuxtngkhrrph ehtu aekikhphawanisubthxdthangkrrmphnthuinrupaebb Mendelian recessive lksnadxykhxngemnedl phanxxotosm aelasmphnthkbkarhludhaykhxngokhromosm 16p 7 aetorkhsamarth ekidkhun idinsthankarnthiminxy 8 phyathisrirphaph aekikhehomoklbinineluxdmilksnaepnwngaehwn heme mihnwyyxyepnhwnglukosoprtin globin 4 hnwy ody 2 hnwyepnaebbaexlfa aelaxiksxnghnwyaebbxunnxkcakaexlfa hnwyyxyehlanicaepntwkahndpraephthkhxngehomoklbin ehomoklbinkhxngthark HbF camiaexlfa 2 hnwyaelaaekmma 2 hnwy a2g2 ehomoklbinkhxngphuihy HbA camiaexlfa 2 hnwyaelamibita 2 hnwy a2b2 aelaehomoklbinkhxngphuihypraephththi 2 HbA2 camiaexlfa 2 hnwyaelaedlta 2 hnwy a2d2 phuihypkticami HbA odymak gt 96 aela HbA2 odyswnnxy lt 4 1 klikkhxngorkhthaihekidkarphlithwngos globin aebbaexlfanxylng thaihhwngosaebbbitamiekininphuihy aelaaebbaekmmaekinintharkekidihm lukosbitathiekincaprakxbepnomelkulmihnwyyxy 4 swn tetramer thiimesthiyrsungeriykwa Hemoglobin H HbH epnhwngosbita 4 hwngtxkn b4 sungepnrupaebbthisngxxksiecnidimdi ephraawasmphrrkhphaph affinity khxngomelkulkbxxksiecnsungekinip aeladngnn cungimplxyxxksiecninthithikhwr thalssiemiyaexlfa0 aebb homozygote sungcamihwngosaekmma4 mak g4 aetimmiaebbaexlfaely eriykwa Hemoglobin Barts bxykhrngcathaihesiychiwithlngekidimnan 6 4 9 karwinicchy aekikhkarwinicchythalssiemiyaebbaexlfaodyhlkthaodykarthdsxbinaelb aela haemoglobin electrophoresis aetsamarthwinicchyphidwaepnphawaeluxdcangehtukhadthatuehlkidngay odyxasykartrwcnbemdeluxdxyangsmburn hruxcakkartrwcfilmeluxd ephraaxakarthngsxnglwnmiphawaeluxdcangaebbemdeluxdelk microcytic radbehlkaela ferritin ineluxdsamarthichknphawaolhitcangehtukhadthatuehlkxxkid 4 odymakkhncaphb trait thalssiemiyodybngexiyemuxtrwceluxdodykartrwcnbemdeluxdxyangsmburnaelwphbwamiphawaeluxdcangaebbemdeluxdelk microcytic xyangeba sungxacmiehtucakphawatang rwmthngkarkhadthatuehlk thalssiemiy takwepnphis sideroblastic anemia hruxphawaeluxdcangehtuorkheruxrngxun primatrkhxngemdeluxdaedngodyechliy MCV khwamkwangkhxngkarkracaykhnademdeluxdaedng RDW aelaprawtikhnikhsamarthknehtubangxyangehlanixxkip khux sahrbthalssiemiy MCV pkticanxykwa 75 fl aelasahrbkarkhadthatuehlk MCV pkticaimnxykwa 80 fl ykewnemuxhimaothkhritnxykwa 30 sahrbedk Mentzer index khux xtra MCV red blood cell count samarthepntwcaaenk khuxsahrbkarkhadthatuehlk xtrapkticasungkwa 13 ethiybkbthalssiemiythinxykwa 13 thaxyuthi 13 nibngwaimchdecn 1 RDW xaccaaenkkarkhadthatuehlkaela sideroblastic anemia xxkcakthalssiemiy khux ekin 90 inbukhkhlthikhadthatuehlk RDW camikhasung aetcasungephiynginaekh 50 khxngkhnthimithalssiemiy aelasahrb sideroblastic anemia khanikcasungdwy dngnn phawaeluxdcangaebbemdeluxdelkthimikha RDW pkti odymakcaepnephraathalssiemiy swnbukhkhlthimi RDW sungcatxngtrwcsxbmakkhun 1 khaeluxdepriybethiybrahwangkarkhadthatuehlk thalssiemiyaexlfaaelabita 1 khawdeluxd karkhadthatuehlk a thalassemia b thalassemiaMCV phidpktitha lt 80 fl inphuihy ta ta taRDW sung pkti bangkhrngsung pktiferritin ta pkti pktiMentzer index sahrbedk MCV red blood cell count gt 13 lt 13 lt 13Hb electrophoresis pkti hruxHbA2 xacnxy HbA2 mak HbA nxy HbF mak phuihy pkti radb ferritin epnkartrwcthiiwtxphawaolhitcangehtukhadthatuehlkmakthisud dngnnthaimmikarxkesb radb ferritin pktiodythwipcaknkarkhadthatuehlkxxk 1 phawaeluxdcangehtuorkheruxrngbxythisudcaepnaebbeba miemdeluxdkhnadpkti normocytic aelamisipkti normochromic 1 thalssiemiyaebbbitacamiradb HbA thildlnghruxhruximmi mi HbA2 sungkhun aelami HbF sungkhun aetwakarmiradb HbA2 pktiimidknthalssiemiyaebbbitaxxkodyechphaathamikarkhadthatuehlkphrxm kn sungsamarthld HbA2 suradbpkti thalssiemiyaebbaexlfaodythwipcaaesdng HbA aela HbA2 inradbpkti thaedktharkekidihmmiehomoklbinaebb HbH hrux Hb Bart edkcamithalssiemiyaebbaexlfa 1 chnid aekikh mitaaehnngyinsxngaehngsahrb globin aebbaexlfa aeladngnn cungmiyinsiyininesllaebb diploid yinsxngyinmacakaem aelasxngyinmacakphx khwamrunaerngkhxngphawanimishsmphnthkbcanwnyin globin aebbaexlfathimipyha yingmakethair kcarunaerngkhunethann intarangtxipni karbng genotype wa a hmaythungepnlukosaexlfathipkti 5 9 6 xllilthiphidpkti raylaexiyd Genotypehnung niruckwaepn thalssiemiyaebbaexlfaengiyb alpha thalassemia silent ephraamiphlnxythisudtxkarsngekhraahehomoklbin odyyin a globin 3 aehngphxihphlitehomoklbintampkti aelacaimpraktxakarxair epnkhwamphidpktithiekidcakkarklayphnthuaebbhludhay deletion hruximidhludhay non deletion 6 a a asxng karphlitemdeluxd Haematopoiesis phawanieriykwa alpha thalassemia trait ephraawa miyinaexlfa 2 yinthithaihsamarthsrangemdeluxdaedngidekuxbepnpkti aetxacmiphawaolhitcangaebb microcytic emdeluxdelk aela hypochromic siemdeluxngcang orkhrupaebbnisamarthwinicchyphidwaepnphawaeluxdcangehtukhadthatuehlkaelarksaxyangimthuktxngodykarihthatuehlk 6 4 aebbnimi sxngrupaebbyxy khux 6 alpha thal 1 aa mikarhludhaykhxngyinaebb cis thiyinaexlfathngsxnginokhromosmhnung alpha thal 2 a a mikarhludhaykhxngyinaebb trans thiyininokhromosm homologous thngsxng a a hrux a asam phawanieriykwa Hemoglobin H disease ephraamiehomoklbinthiimesthiyrsxngxyangineluxd khux Hemoglobin Barts tetrameric g chains aela Hemoglobin H tetrameric b chains aelaehomoklbinthngsxngnimismphrrkhphaph affinity kbxxksiecninradbsungkwapkti 10 miphawaolhitcangenuxngcakkarslaykhxngemdeluxdaedngpraktthngaebbemdeluxdelk microcytic aelasieluxdcang hypochromic odymithng codocyte hrux target cell aela Heinz body hrux precipitated HbH infilmeluxd odypraktkbmamtbot hepatosplenomegaly odycasngektehnidtngaetedkhruxphuihywytn dwyehtuphawaolhitcangaelamamtbot asi nieriykwa alpha thalassemia major tharkinkhrrphcamixakarbwmna aelamiehomoklbinthihmunewiynipnxy aelathimithnghmdkcaepnaebb tetrameric g chains emuxxllilthng 4 xnesiyhay tharkcaimsamarthrxdchiwitodyimchwy ephraawa tharkodymakcataykhlxddwyxakartharkbwmna hydrops fetalis aettharkinkhrrphthiidrbkarthayeluxdtlxdkartngkhrrpherimtngaettn samarthrxdchiwitcnekidxxkmaid odymiphawaorkhinradbthiyxmrbid aelahlngcakekid thangeluxkinkarrksarwmthngkarplukthayikhkraduk hruxkarthayepliyneluxdepnpraca 11 karrksa aekikhbukhkhlthimi trait thalssiemiyimcaepntxngrksa imtxngsxdsxng pkticaimkhadthatuehlk karesrimthatuehlkcaimchwyphawaeluxdcangkhxngbukhkhlni aela dngnn cungimkhwrthanthatuehlkesrimykewnthakhadthatuehlk 1 karrksaorkhnixacrwmkarthayeluxd kartdmam splenectomy nxkcaknnaelw niwinthungnadixacepnpyhathitxngxasykarphatd pyharadbthutiyphumicakkhrawepnikh febrile episode khwrcasxdsxngduael aetwakhnikhodymaksamarthichchiwitidodyimtxngrksaxair 6 12 nxkcaknnaelw karplukthayeslltnkaenid yngsamarthichrksaidodythatngaetxayunxy withikarxun echn yinbabd gene therapy kalngphthnaxyu 13 malaeriywithyakarrabad aekikhtamwithyakarrabad karkracaytwthwolkkhxngthalssiemiyaebbaexlfathisubthangkrrmphnthuepniptamekhtorkhmalaeriy sungaesdngnywamibthbathpxngknorkh epnorkhthisamyinekhtaexfrikaitsahara inekhtthaelemdietxrereniyn aelaodythwipinekhtrxnaelakungekhtrxn karrabadkhxngorkhniinshrthxemrikasathxnkarkracaythwolk odyechphaakkhux Hemoglobin H disease mkcamakbkhnexechiyxakhenyaelakhntawnxxkklang swn Hb Bart Hydrops fetalis macakekhtexechiyxakhenyethann 14 5 khxngprachakrolkmioprtin globin thitangipcakpkti aetephiyngaekh 1 7 mithalssiemiyaebbaexlfahruxbita thngchayhyingmiorkhetha kn odymixtrathi 4 4 txedkthiekidodyrxdchiwit 10 000 khn aebbxlfaekidbxythisudinkhnaexfrikaaelakhnexechiyxakheny aebbebtaekidbxythisudinkhnekhtemdietxrerniyn khnaexfrika aelakhnexechiyxakheny odymikhwamchukkhxngorkhinhmukhnehlanipraman 5 30 1 duephim aekikhthalssiemiyaebbbita thalssiemiyaebbedlta bita thalssiemiy orkhemdeluxdaedngrupekhiyw hiomoklbinphidpktiechingxrrthaelaxangxing aekikh 1 00 1 01 1 02 1 03 1 04 1 05 1 06 1 07 1 08 1 09 1 10 1 11 1 12 Muncie Herbert L Jr MD Campbell James S MD 2009 08 15 Alpha and Beta Thalassemia Am Fam Physician 80 4 CS1 maint uses authors parameter link Online Mendelian Inheritance in Man OMIM Hemoglobin Alpha locus 1 HBA1 141800 Online Mendelian Inheritance in Man OMIM Hemoglobin Alpha locus 2 HBA2 141850 4 0 4 1 4 2 4 3 Alpha Thalassemia Workup Approach Considerations Laboratory Studies Hemoglobin Electrophoresis emedicine medscape com subkhnemux 2016 05 24 5 0 5 1 5 2 Reference Genetics Home alpha thalassemia Genetics Home Reference subkhnemux 2016 09 08 6 0 6 1 6 2 6 3 6 4 6 5 6 6 Origa Raffaella Moi Paolo Galanello Renzo Cao Antonio 1993 01 01 Alpha Thalassemia GeneReviews University of Washington Seattle subkhnemux 2016 09 22 update 2013 BRS Pathology 4th ed Lippincott Williams amp Wilkins medical 2009 12 p 162 ISBN 978 1451115871 Check date values in date help Steensma DP Gibbons RJ Higgs DR 2005 01 Acquired alpha thalassemia in association with myelodysplastic syndrome and other hematologic malignancies Blood 105 2 443 52 doi 10 1182 blood 2004 07 2792 PMID 15358626 Check date values in date help CS1 maint uses authors parameter link 9 0 9 1 Galanello Renzo Cao Antonio 2011 01 05 Alpha thalassemia Genetics in Medicine phasaxngkvs 13 2 83 88 doi 10 1097 GIM 0b013e3181fcb468 ISSN 1098 3600 subkhnemux 2016 09 22 Hemoglobin H disease Orphanet subkhnemux 2016 09 22 Vichinsky Elliott P 2009 01 01 Alpha thalassemia major new mutations intrauterine management and outcomes ASH Education Program Book phasaxngkvs 2009 1 35 41 doi 10 1182 asheducation 2009 1 35 ISSN 1520 4391 PMID 20008180 Complications and Treatment Thalassemia Blood Disorders NCBDDD CDC www cdc gov subkhnemux 2016 09 22 Thalassaemia Doctor Patient Patient subkhnemux 2016 09 22 Harteveld Cornelis L Higgs Douglas R 2010 a thalassaemia Orphanet Journal of Rare Diseases 5 1 13 doi 10 1186 1750 1172 5 13 ISSN 1750 1172 subkhnemux 2016 09 22 aehlngkhxmulxun aekikhAnie Kofi A Massaglia Pia 2014 03 06 Psychological therapies for thalassaemia Cochrane Database of Systematic Reviews phasaxngkvs John Wiley amp Sons Ltd doi 10 1002 14651858 cd002890 pub2 full subkhnemux 2016 09 15 Galanello Renzo Cao Antonio 2011 01 05 Alpha thalassemia Genetics in Medicine phasaxngkvs 13 2 83 88 doi 10 1097 GIM 0b013e3181fcb468 ISSN 1098 3600 subkhnemux 2016 09 15 What Are Thalassemias NHLBI NIH www nhlbi nih gov subkhnemux 2016 09 15 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thalssiemiyaebbaexlfa amp oldid 6766098, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม