fbpx
วิกิพีเดีย

ผลรวมเชิงเส้นของออร์บิทัลเชิงอะตอม

ผลรวมเชิงเส้นของออร์บิทัลเชิงอะตอม (อังกฤษ: linear combination of atomic orbitals; LCAO) เป็นหลักการซ้อนทับทางควอนตัม (quantum superposition) ของออร์บิทัลเชิงอะตอม (atomic orbitals) และเป็นเทคนิคที่ใช้ในการคำนวณออร์บิทัลเชิงโมเลกุล(molecular orbital) ในเคมีควอนตัม ในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น โครงแบบอิเล็กตรอนของอะตอมถูกอธิบายเป็นฟังก์ชันคลื่น (wavefunctions) ในทางคณิตศาสตร์ฟังก์ชันคลื่นเหล่านี้สามารถบวกและลบกันได้และหลักการนี้ได้ถูกใช้ในการอธิบายการเกิดพันธะเคมี สำหรับโมเลกุลอะตอมคู่ อาทิ ไฮโดรเจน H2

ประวัติ

ผลรวมเชิงเส้นของออร์บิทัลเชิงอะตอมถูกนำมาใช้ในปี ค.ศ. 1929 โดยเซอร์จอห์น เลนนาร์ด-โจนส์ (Sir John Lennard-Jones) ในการอธิบายพันธะเคมีในโมเลกุลอะตอมคู่ของธาตุหมู่หลักคาบแรก โดยคนแรกที่ใช้คือ ลินัส เพาลิง (Linus Pauling) เขาใช้อธิบายโมเลกุล H2+

ผลรวมฟังก์ชันคลื่นแบบเชิงเส้นของออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็น ดังนี้

 

เมื่อ ψ คือ ฟังก์ชันคลื่นของโมเลกุล ψa และ ψb คือ ฟังก์ชันคลื่นของอะตอม ส่วน ca และ cb คือสัมประสิทธิ์ที่ปรับค่าได้ โดยสัมประสิทธิ์นี้อาจเท่ากันหรือไม่ก็ได้และอาจมีค่าเป็นบวกหรือมีค่าเป็นลบขึ้นอยู่กับออร์บิทัลแต่ละออร์บิทัลและพลังงานของออร์บิทัลนั้นๆ

 
แผนภาพพลังงานของออร์บิทัลเชิงเชิงโมเลกุลของ H2 ที่ได้จากการรวมกันเชิงเส้นตรงของออร์บิทัลเชิงอะตอม

หลักการโดยทั่วไป

หลักการโดยทั่วไปในการประยุกต์คณิตศาสตร์เริ่มต้นจากการกำหนดให้จำนวนออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเท่ากับออร์บิทัลเชิงอะตอม โดยออร์บิทัลเชิงอะตอมจำนวน n ออร์บิทัล รวมตัวกันเกิดเป็นออร์บิทัลเชิงโมเลกุล n ออร์บิทัล ซึ่งสามารถเขียนแทนด้วยตัวเลข i โดย i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n สำหรับออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่ i จะได้ว่า:

 

หรือ

 

เมื่อ   คือ ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่แสดงด้วยผลรวมของออร์บิทัลเชิงอะตอมจำนวน n ออร์บิทัล  ,   และ r (มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n) แทนออร์บิทัลเชิงอะตอมที่รวมกันเป็นออร์บิทัลเชิงโมเลกุล ค่าสัมประสิทธิ์เป็นการถ่วงน้ำหนักการมีส่วนร่วมของออร์บิทัลเชิงอะตอมในออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Huheey, James. Inorganic Chemistry:Principles of Structure and Reactivity
  2. Friedrich Hund and Chemistry, Werner Kutzelnigg , on the occasion of Hund's 100th birthday, Angewandte Chemie , 35, 572–586, (1996)
  3. Robert S. Mulliken's Nobel Lecture, Science, 157, no. 3784, 13 - 24, (1967)
  4. Gary L. Miessler, Paul J. Fischer, Donald A. Tarr, 'Inorganic Chemistry 5 ed., Prentice Hall., 110

ผลรวมเช, งเส, นของออร, ลเช, งอะตอม, งกฤษ, linear, combination, atomic, orbitals, lcao, เป, นหล, กการซ, อนท, บทางควอนต, quantum, superposition, ของออร, ลเช, งอะตอม, atomic, orbitals, และเป, นเทคน, คท, ใช, ในการคำนวณออร, ลเช, งโมเลก, molecular, orbital, ในเคม, ค. phlrwmechingesnkhxngxxrbithlechingxatxm xngkvs linear combination of atomic orbitals LCAO epnhlkkarsxnthbthangkhwxntm quantum superposition khxngxxrbithlechingxatxm atomic orbitals aelaepnethkhnikhthiichinkarkhanwnxxrbithlechingomelkul molecular orbital inekhmikhwxntm 1 inthangklsastrkhwxntmnn okhrngaebbxielktrxnkhxngxatxmthukxthibayepnfngkchnkhlun wavefunctions inthangkhnitsastrfngkchnkhlunehlanisamarthbwkaelalbknidaelahlkkarniidthukichinkarxthibaykarekidphnthaekhmi sahrbomelkulxatxmkhu xathi ihodrecn H2 enuxha 1 prawti 2 hlkkarodythwip 3 duephim 4 xangxingprawti aekikhphlrwmechingesnkhxngxxrbithlechingxatxmthuknamaichinpi kh s 1929 odyesxrcxhn elnnard ocns Sir John Lennard Jones inkarxthibayphnthaekhmiinomelkulxatxmkhukhxngthatuhmuhlkkhabaerk odykhnaerkthiichkhux lins ephaling Linus Pauling ekhaichxthibayomelkul H2 2 3 phlrwmfngkchnkhlunaebbechingesnkhxngxxrbithlechingxatxmepn dngni ps c a ps a c b ps b displaystyle psi c a psi a c b psi b emux ps khux fngkchnkhlunkhxngomelkul psa aela psb khux fngkchnkhlunkhxngxatxm swn ca aela cb khuxsmprasiththithiprbkhaid odysmprasiththinixacethaknhruximkidaelaxacmikhaepnbwkhruxmikhaepnlbkhunxyukbxxrbithlaetlaxxrbithlaelaphlngngankhxngxxrbithlnn 4 aephnphaphphlngngankhxngxxrbithlechingechingomelkulkhxng H2 thiidcakkarrwmknechingesntrngkhxngxxrbithlechingxatxmhlkkarodythwip aekikhhlkkarodythwipinkarprayuktkhnitsastrerimtncakkarkahndihcanwnxxrbithlechingomelkulethakbxxrbithlechingxatxm odyxxrbithlechingxatxmcanwn n xxrbithl rwmtwknekidepnxxrbithlechingomelkul n xxrbithl sungsamarthekhiynaethndwytwelkh i ody i mikhatngaet 1 thung n sahrbxxrbithlechingomelkulthi i caidwa ϕ i c 1 i x 1 c 2 i x 2 c 3 i x 3 c n i x n displaystyle phi i c 1i chi 1 c 2i chi 2 c 3i chi 3 cdots c ni chi n hrux ϕ i r c r i x r displaystyle phi i sum r c ri chi r emux ϕ i displaystyle phi i khux xxrbithlechingomelkulthiaesdngdwyphlrwmkhxngxxrbithlechingxatxmcanwn n xxrbithl x r displaystyle chi r c r i displaystyle c ri aela r mikhatngaet 1 thung n aethnxxrbithlechingxatxmthirwmknepnxxrbithlechingomelkul khasmprasiththiepnkarthwngnahnkkarmiswnrwmkhxngxxrbithlechingxatxminxxrbithlechingomelkulduephim aekikhewelns ewelnsxielktrxn sarprakxbokhxxrdienchn thvsdixxrbithlechingomelkul thvsdisnamphluk xxrbithlechingomelkulxangxing aekikh Huheey James Inorganic Chemistry Principles of Structure and Reactivity Friedrich Hund and Chemistry Werner Kutzelnigg on the occasion of Hund s 100th birthday Angewandte Chemie 35 572 586 1996 Robert S Mulliken s Nobel Lecture Science 157 no 3784 13 24 1967 Gary L Miessler Paul J Fischer Donald A Tarr Inorganic Chemistry 5 ed Prentice Hall 110ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phlrwmechingesnkhxngxxrbithlechingxatxm amp oldid 6397098, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม