fbpx
วิกิพีเดีย

พิสัยการได้ยิน

พิสัยการได้ยิน (อังกฤษ: Hearing range) หมายถึงพิสัยความถี่เสียงที่มนุษย์หรือสัตว์อื่น ๆ ได้ยิน แม้ก็อาจหมายถึงระดับความดังเสียงได้ด้วยเหมือนกัน มนุษย์ปกติจะได้ยินในพิสัยความถี่ 20-20,000 เฮิรตซ์ (Hz) แต่ก็จะต่างไปตามบุคคลพอสมควรโดยเฉพาะเสียงความถี่สูง และการสูญความไวเสียงความถี่สูงอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามอายุก็เป็นเรื่องปกติ ความไวต่อความถี่ต่าง ๆ แม้ในบุคคลก็ยังไม่เท่ากันอีกด้วย (ดูหัวข้อ เส้นชั้นความดังเสียงเท่า) มีสัตว์หลายอย่างที่สามารถได้ยินเสียงเกินพิสัยของมนุษย์ ยกตัวอย่างเช่น โลมาและค้างคาวสามารถได้ยินเสียงสูงจนถึง 100,000 Hz ช้างสามารถได้ยินเสียงต่ำจนถึง 14-16 Hz ในขณะที่วาฬบางชนิดสามารถได้ยินเสียงต่ำในน้ำจนถึง 7 Hz

การวัดการได้ยิน

การตรวจการได้ยินบ่อยครั้งจะใช้ผัง audiogram ซึ่งแสดงเส้นขีดเริ่มเปลี่ยนที่บุคคลได้ยินเทียบกับของผู้ที่ได้ยินเป็นปกติ เป็นกราฟแสดงเสียงดังน้อยสุดที่ได้ยินตลอดพิสัยความถี่เสียงที่สัตว์ชนิดนั้นได้ยิน

การทดสอบการได้ยินทางพฤติกรรมหรือทางสรีรภาพ สามารถใช้ตรวจหาจุดเริ่มเปลี่ยนของการได้ยินในทั้งมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ เมื่อทดสอบมนุษย์ จะมีการปล่อยเสียงที่ความถี่และความดังหนึ่ง ๆ เมื่อผู้รับการทดสอบได้ยินเสียง ก็จะยกมือหรือกดปุ่ม เสียงดังน้อยที่สุดที่ได้ยินก็จะบันทึกเอาไว้ การตรวจสอบต่างกันบ้างในเด็ก คืออาจแสดงการได้ยินโดยให้หันศีรษะหรือใช้ของเล่น

คือสามารถสอนเด็กให้ทำอะไรบางอย่างเมื่อได้ยินเสียง เช่น ใส่ตุ๊กตาในเรือ เทคนิคคล้ายกันสามารถใช้ทดสอบสัตว์ โดยมีอาหารเป็นรางวัลเมื่อตอบสนองต่อเสียง

ส่วนการทดสอบทางสรีรภาพไม่จำเป็นต้องให้ผู้รับการทดสอบตั้งใจตอบสนอง ข้อมูลการได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต่าง ๆ โดยหลักมาจากการทดสอบทางพฤติกรรม ความถี่เสียงจะวัดเป็นเฮิรตซ์ (Hz) ซึ่งก็คือ จำนวนรอบคลื่นเสียงต่อวินาที

ในสัตว์

พิสัยการได้ยินในสัตว์บางชนิดรวมทั้งมนุษย์ (แผนภูมิแบบลอการิทึม)
(ม่วงมนุษย์ (น้ำเงินปลา (เขียวสัตว์เลื้อยคลาน (เทาสัตว์ปีก (ส้มแดงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบนบก (น้ำตาล) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในน้ำ

 
เส้นชั้นความดังเสียงเท่า (equal-loudness contours) ของ ISO โดยความถี่มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ - เป็นเส้นชั้นแสดงความถี่สัมพันธ์กับความดังของเสียงที่มนุษย์รู้สึกว่าดังเท่ากัน โดยเส้นที่ 0 phon (threshold) จะเป็นเส้นแสดงขีดเริ่มเปลี่ยนมาตรฐานของการได้ยินในมนุษย์

มนุษย์

ข้อมูลเพิ่มเติม: ระบบการได้ยิน

ในมนุษย์ คลื่นเสียงจะวิ่งเข้าไปในหูผ่านรูหูด้านนอกเข้าไปถึงแก้วหู โดยการบีบอัด (compression) แล้วขยายออก (rarefaction) ของคลื่นเสียงจะเป็นแรงสั่นแก้วหู ทำให้เกิดแรงสั่นผ่านกระดูกหูในหูชั้นกลาง (คือ กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน) ผ่านของเหลวในคอเคลีย แล้วในที่สุดก็จะสั่นขนภายในคอเคลียที่เรียกว่า Stereocilia ขนจะปกคลุมเยื่อในคอเคลียจากฐานไปถึงยอด โดยส่วนที่ได้การกระตุ้นและระดับการกระตุ้นจะชี้ถึงคุณสมบัติของเสียง แล้วเซลล์ขนก็จะส่งต่อข้อมูลผ่านโสตประสาท (auditory nerve) ไปยังสมองเพื่อประมวลผล

พิสัยการได้ยินที่มักอ้างอิงอยู่ระหว่าง 20 Hz-20 kHz ในภาวะอุดมคติของห้องทดลอง มนุษย์อาจได้ยินเสียงความถี่ต่ำถึง 12 Hz และความถี่สูงถึง 28 kHz (> 100 dB SPL) แม้ว่าความดังที่เป็นขีดเริ่มเปลี่ยนจะเพิ่มอย่างเป็นมุมหักที่ความถี่ 15 kHz ในผู้ใหญ่ (ดูรูป) มนุษย์ไวเสียงที่ความถี่ 2,000-5,000 Hz มากที่สุด คือสามารถได้ยินเสียงที่ค่อยที่สุดในช่วงความถี่นั้น (ดูรูป) พิสัยการได้ยินของแต่ละคนจะขึ้นอยู่กับสภาพทั่วไปของหูและระบบประสาท

พิสัยจะลดลงในช่วงอายุ ปกติเริ่มตั้งแต่ราวอายุ 8 ขวบที่ได้ยินเสียงสูงน้อยลง หญิงจะเสียการได้ยินน้อยกว่าผู้ชาย และเกิดขึ้นทีหลังกว่า ชายจะเสียการได้ยินเสียงความถี่สูงราว 5-10 เดซิเบลมากกว่าหญิงก่อนถึงอายุ 40 ปี

 
ผัง audiogram แสดงความแตกต่างของการได้ยินทั่วไปเทียบกับมาตรฐาน

แผนภูมิ audiogram ของการได้ยินในมนุษย์สามารถสร้างโดยใช้มีเตอร์วัดเสียง (audiometer) ซึ่งปล่อยเสียงที่ความถี่และความดังต่าง ๆ ให้ผู้รับการทดสองได้ยินผ่านหูฟังสวมศีรษะที่ปรับเทียบมาตรฐานแล้ว ความดังจะถ่วงน้ำหนักด้วยความถี่โดยเปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานที่เรียกว่า minimum audibility curve (เส้นโค้งการได้ยินต่ำสุด) ซึ่งหมายให้เป็นตัวแทนของการได้ยินปกติ ขีดเริ่มเปลี่ยนการได้ยิน (threshold of hearing) จะกำหนดตามเส้น 0 phon (threshold) ดังที่ปรากฏบนเส้นชั้นความดังเสียงเท่า เท่ากับความดันเสียงต่ออากาศที่ 20 ไมโครปาสกาล ที่ความถี่ 1 kHz ซึ่งเป็นเสียงดังน้อยสุดที่มนุษย์วัยเยาว์ปกติจะได้ยิน (เท่ากับเสียงยุงบินห่างประมาณ 3 เมตร) แต่มาตรฐาน ANSI จะกำหนดสูงกว่า 1 kHz

เนื่องจากมาตรฐานต่าง ๆ ใช้ระดับอ้างอิงที่ต่างกัน ก็จะทำให้ audiogram ตามมาตรฐานต่าง ๆ กัน เช่น มาตรฐาน ASA-1951 ใช้ความดัง 16.5 dB SPL ที่ 1 kHz, เทียบกับ มาตรฐานอันกำหนดทีหลังคือ ANSI-1969/ISO-1963 ซึ่งใช้ความดังที่ 6.5 dB SPL ที่ 1 kHz และโดยปกติให้เพิ่ม 10 dB สำหรับคนสูงอายุ

ไพรเมตอื่น ๆ

ไพรเมตหลายชนิดโดยเฉพาะที่ตัวเล็ก ๆ สามารถได้ยินเสียงความถี่ต่ำกว่าระดับที่มนุษย์ได้ยิน ลิง/ลีเมอร์แอฟริกา Galago senegalensis (Senegal bushbaby) สามารถได้ยินในพิสัย 92 Hz-65 kHz และลีเมอร์หางแหวน Lemur catta (ประเทศมาดากัสการ์) ในพิสัย 67 Hz-58 kHz ในบรรดาไพรเมต 19 ชนิดที่ตรวจสอบ ลิงกังญี่ปุ่นมีพิสัยกว้างที่สุดคือระหว่าง 28 Hz-34.5 kHz เทียบกับมนุษย์ที่ 31 Hz-17.6 kHz

แมว

แมวมีหูดีและสามารถได้ยินความถี่เสียงในพิสัยที่กว้างมาก สามารถได้ยินเสียงสูงกว่ามนุษย์และสุนัขโดยมาก คือได้ยินเสียงระหว่าง 55 Hz จนถึง 79 kHz แมวไม่ได้ใช้ความสามารถได้ยินเหนือเสียงเพื่อการสื่อสาร แต่น่าจะสำคัญในการล่าสัตว์ เพราะสัตว์ฟันแทะหลายสปีชีส์สื่อสารด้วยความถี่เหนือเสียง

หูของแมวยังไวมากโดยดีเป็นระดับต้น ๆ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และไวที่สุดในพิสัย 500 Hz-32 kHz ความไวยังเพิ่มขึ้นอาศัยใบหูใหญ่ข้างนอกที่เคลื่อนไหวได้ ซึ่งทั้งขยายเสียงและช่วยตรวจจับทิศทางของแหล่งเสียง

สุนัข

สมรรถภาพการได้ยินของสุนัขจะขึ้นอยู่กับพันธุ์และอายุ แต่ปกติจะอยู่ที่ราว ๆ 67 Hz-45 kHz แต่เหมือนกับมนุษย์ สุนัขบางพันธุ์มีพิสัยที่ลดลงเมื่ออายุมากขึ้น เช่น เยอรมันเชเพิร์ดและพูเดิลแคระ

เมื่อได้ยินเสียง สุนัขจะขยับใบหูไปทางแหล่งเสียงเพื่อให้ได้ยินดีที่สุด เพื่อจะทำอย่างนี้ได้ หูสุนัขจึงมีกล้ามเนื้ออย่างน้อย 18 มัด ซึ่งทำให้เอียงหูหมุนหูได้ รูปร่างของหูยังช่วยให้ได้ยินเสียงดีขึ้น หลายพันธุ์บ่อยครังมีหูตั้งตรงหรือตั้งโค้ง ซึ่งช่วยส่งและขยายเสียง

เพราะสุนัขได้ยินเสียงสูงกว่ามนุษย์ จึงมีโลกการได้ยินที่ต่างจากมนุษย์ เสียงที่มนุษย์ฟังแล้วรู้สึกแค่ดังอาจมีเสียงความถี่สูงที่ไล่สุนัขไป นกหวีดที่ส่งเสียงอัลตราโซนิกที่บางครั้งเรียกว่านกหวีดสุนัข สามารถใช้ฝึกสุนัข เพราะสุนัขตอบสนองต่อเสียงระดับนี้ดีกว่า ในธรรมชาติ สุนัขจะใช้การได้ยินเพื่อล่าสัตว์และหาอาหาร ส่วนสุนัขบ้านมักใช้เพื่อเฝ้าบ้านเพราะได้ยินเสียงดีกว่ามนุษย์

ค้างคาว

ค้างคาวได้วิวัฒนาการให้ไวเสียงมากเพื่อหากินเวลากลางคืน พิสัยความถี่เสียงจะขึ้นอยู่กับชนิดต่าง ๆ บางชนิดอาจได้ยินความถี่ต่ำสุดถึง 1 kHz และสูงสุดถึง 200 kHz แต่ชนิดที่ได้ยินถึง 200 kHz จะไม่ได้ยินเสียงที่ต่ำกว่า 10 kHz ได้ดี และพิสัยที่ค้างคาวได้ยินเสียงดีสุดจะแคบกว่า ราว ๆ 15 kHz-90 kHz

ค้างคาว "เห็น" วัตถุรอบ ๆ ตัวและหาเหยื่อด้วยการกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อน (echolocation) คือจะส่งเสียงที่ดังมากสั้น ๆ แล้วประเมินเสียงที่สะท้อนกลับมา ค้างคาวสามารถล่าแมลงที่บินอยู่ในอากาศ เพระาแมลงเหล่านี้จะสะท้อนเสียงของค้างคาวกลับเบา ๆ ชนิดและขนาดของแมลงสามารถกำหนดด้วยคุณสมบัติเสียงและเวลาที่ใช้สะท้อนเสียง ค้างคาวใช้เสียงร้องสองชนิด คือ ร้องที่เสียงความถี่เดียว (constant frequency, CF) และร้องเสียงที่ต่ำลงเรื่อย ๆ (frequency modulated, FM)

เสียงร้องแต่ละอย่างจะแสดงข้อมูลต่าง ๆ CF สามารถใช้ตรวจจับว่ามีวัตถุหรือไม่ ส่วน FM ใช้ประเมินระยะทางจากวัตถุ เสียงสะท้อนจาก FM และ CF จะบอกค้างคาวถึงขนาดและระยะทางไปถึงเหยื่อ พัลส์เสียงที่ค้างคาวส่งจะยาวเพียงไม่กี่มิลลิวินาที ความเงียบในหว่างจะใช้เป็นเวลาฟังหาข้อมูลที่กลับมากับเสียงสะท้อน หลักฐานแสดงว่า ค้างคาวใช้ความสูงต่ำของเสียงที่เปลี่ยนไปเนื่องจากปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เพื่อประเมินความเร็วการบินของตนเทียบกับวัตถุที่อยู่รอบ ๆ ตัว

ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งขนาด รูปร่าง และลักษณะเนื้อวัตถุ จะใช้กำหนดสิ่งแวดล้อมและตำแหน่งของเหยื่อ ค้างคาวจึงสามารถตรวจจับการเคลื่อนไหวแล้วแล้วล่าเหยื่อได้

หนูหริ่ง

หนูหริ่งมีหูที่ใหญ่เทียบกับร่างกาย สามารถได้ยินเสียงสูงกว่ามนุษย์ คือในพิสัยความถี่ระหว่าง 1 kHz-70 kHz แต่ก็ไม่สามารถได้ยินเสียงที่ต่ำกว่ามนุษย์

หนูสื่อสารใช้เสียงความถี่สูงที่บางส่วนมนุษย์ไม่สามารถได้ยิน เสียงร้องให้ช่วยของลูกหนูอาจอยู่ที่ 40 kHz หนูใช้ความสามารถส่งเสียงนอกพิสัยสัตว์อื่น คือมันสามารถเตือนเพื่อน ๆ ถึงอันตรายโดยไม่ต้องแสดงตำแหน่งของตัวเองกับสัตว์ล่าเหยื่อ ส่วนเสียงร้องอี๊ด ๆ ที่มนุษย์ได้ยินมีความถี่ต่ำกว่า ที่หนูใช้เพื่อส่งเสียงไกล ๆ เพราะเสียงความถี่ต่ำสามารถไปได้ไกลกว่าเสียงสูง

นก

การได้ยินเป็นประสาทสัมผัสสำคัญเป็นที่สองของนก โดยมีหูเป็นรูปกรวยเพื่อรวบรวมเสียง หูจะอยู่ข้างหลังและใต้ตาเล็กน้อย ปกคลุมด้วยขนอ่อน ๆ (auricular - ขนบริเวณหู) เพื่อช่วยป้องกัน รูปร่างของหัวยังมีผลต่อการได้ยิน เช่น ในนกเค้า ตาที่กลมเว้า (facial disc) จะช่วยรวบรวมเสียงส่งไปทางหู

นกไวความถี่เสียงที่สุดระหว่าง 1 kHz-4 kHz แต่พิสัยกว้างสุดคร่าว ๆ คล้ายกับของมนุษย์ โดยมีจุดจำกัดสูงหรือต่ำกว่าขึ้นอยู่กับชนิด "นกไวความเปลี่ยนแปลงในเสียงสูงเสียงต่ำ คุณภาพเสียง และจังหวะมาก และใช้ความต่าง ๆ เหล่านี้เพื่อรู้จักนกตัวอื่น ๆ แม้จะอยู่ในฝูงเสียงดัง นกยังใช้เสียง, เพลง และการร้องเรียกต่าง ๆ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ดังนั้นการรู้จักเสียงต่าง ๆ จึงสำคัญเพื่อกำหนดว่าเป็นสัญญาณเตือนภัยเกี่ยวกับสัตว์ล่า การประกาศอาณาเขต หรือสัญญาณเสนอแบ่งอาหาร"

"นกบางชนิด โดยเฉพาะ Steatornis caripensis (oilbird) ก็กำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อนเหมือนกับค้างคาวเหมือนกัน นกเหล่านี้อยู่ในถ้ำและใช้เสียงร้องจ๊อก ๆ แจ๊ก ๆ กริ๊ก ๆ ที่เร็วเพื่อกำหนดทิศทางในถ้ำมืดซึ่งแม้แต่การเห็นที่ไวก็อาจยังไม่พอ"

ปลา

ปลามีพิสัยการได้ยินที่แคบถ้าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก (ดูรูป) ปลาต่าง ๆ ได้ยินไม่เท่ากัน เช่น ปลาทองและปลาหนังมี Weberian apparatus (โครงสร้างที่เชื่อมกระเพาะลมกับระบบการได้ยิน) และมีพิสัยการได้ยินที่กว้างกว่าปลาทูน่า

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในน้ำ

สิ่งแวดล้อมในน้ำมีคุณสมบัติทางกายภาพที่ต่างจากบนบกมาก การได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในน้ำจึงต่างจากสัตว์บก ความแตกต่างในระบบการได้ยินจึงทำให้มีการศึกษาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในน้ำอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในโลมา

ระบบการได้ยินของสัตว์บกจะทำงานโดยการถ่ายโอนคลื่นเสียงผ่านช่องหู ช่องหูของแมวน้ำ สิงโตทะเลและวอลรัส ก็เหมือนกับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบนบกและอาจทำงานแบบเดียวกัน แต่สำหรับวาฬและโลมา ก็ยังไม่ชัดเจนว่าเสียงส่งไปถึงหูได้อย่างไร แม้งานศึกษาบางงานจะยืนยันว่า เสียงส่งไปถึงหูผ่านเนื้อเยื่อของขากรรไกรล่าง วาฬมีฟันจะกำหนดที่ตั้งวัตถุเช่นเหยื่อด้วยเสียงสะท้อน วาฬกลุ่มนี้ยังแปลกเพราะมีหูที่แยกจากกะโหลกหัวและอยู่ห่างกันมาก ซึ่งช่วยกำหนดทิศทางของเสียง อันเป็นองค์ประกอบสำคัญของการกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อน

 
โลมา

งานศึกษาต่าง ๆ พบว่า โลมามีคอเคลียในหูชั้นในสองแบบ แบบ I จะพบในโลมาแม่น้ำแอมะซอนและพอร์พอยส์อ่าวจอดเรือ (Phocoena phocoena หรือ harbour porpoise) ซึ่งใช้เสียงความถี่สูงมากเพื่อกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อน โดยพอร์พอยส์อ่าวจอดเรือ จะส่งเสียงเป็นสองแถบที่ 2 kHz และเหนือ 110 kHz คอเคลียของโลมานี้ได้ปรับตัวโดยเฉพาะเพื่อให้ได้ยินเสียงความถี่สูงมาก โดยคอเคลียที่ฐานจะแคบมาก

ส่วนแบบ II จะพบในสปีชีส์วาฬที่อยู่ห่างจากฝั่งและในน้ำลึก เช่น โลมาปากขวด ซึ่งส่งเสียงในความถี่ที่ต่ำกว่า ตามปกติที่ 75-150,000 Hz โดยเสียงความถี่สูงจะใช้กำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อน และเสียงความถี่ต่ำมักสัมพันธ์กับปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เพราะสามารถส่งไปได้ไกล ๆ

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในน้ำใช้เสียงหลากหลาย โลมาสามารถสื่อสารด้วยเสียงกริ๊กและเสียงหวีด ส่วนวาฬใช้เสียงครางหรือเสียงเป็นพัลส์ที่มีความถี่ต่ำ สัญญาณแต่ละอย่างจะมีความถี่ต่าง ๆ กัน และสัญญาณต่าง ๆ จะใช้สื่อสารสิ่งต่าง ๆ กัน โลมาจะตรวจจับและระบุวัตถุด้วยการกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อน และใช้เสียงหวีดในกลุ่มสังคมเพื่อระบุโลมาแต่ละตัวและเพื่อสื่อสาร

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. ความถี่เสียงระหว่าง 20 Hz-20 kHz จะเท่ากับคลื่นเสียงในอากาศอุณหภูมิ 20°C ที่มีความยาวคลื่น 17 ม. จนถึง 1.7 ซม

อ้างอิง

  1. Marler, Peter (2004). Nature's Music: The Science of Birdsong. Academic Press Inc. p. 207. ISBN 978-0124730700.
  2. Katz, Jack (2002). Handbook of Clinical Audiology (5th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. ISBN 9780683307658.
    • Fay, RR (1988). Hearing in Vertebrates: a Psychophysics Databook. Winnetka IL: Hill-Fay Associates.CS1 maint: uses authors parameter (link)
    • Warfield, D (1973). Gay, W (บ.ก.). The study of hearing in animals. Methods of Animal Experimentation, IV. London: Academic Press. pp. 43–143.CS1 maint: uses authors parameter (link) CS1 maint: uses editors parameter (link)
    • Fay, RR; Popper, AN, บ.ก. (1994). Comparative Hearing: Mammals. Springer Handbook of Auditory Research Series. NY: Springer-Verlag.CS1 maint: uses editors parameter (link)
    • West, CD (1985). "The relationship of the spiral turns of the cochela and the length of the basilar membrane to the range of audible frequencies in ground dwelling mammals". Journal of the Acoustic Society of America. 77: 1091–1101.CS1 maint: uses authors parameter (link)
    • Lipman, EA; Grassi, JR (1942). "Comparative auditory sensitivity of man and dog". Amer J Psychol. 55: 84–89.CS1 maint: uses authors parameter (link)
    • Heffner, HE (1983). "Hearing in large and small dogs: Absolute thresholds and size of the tympanic membrane". Behav Neurosci. 97: 310–318.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  3. Rosen, Stuart (2011). Signals and Systems for Speech and Hearing (2nd ed.). BRILL. p. 163. For auditory signals and human listeners, the accepted range is 20Hz to 20kHz, the limits of human hearing
  4. Rossing, Thomas (2007). Springer Handbook of Acoustics. Springer. pp. 747, 748. ISBN 978-0387304465.
  5. Olson, Harry F. (1967). Music, Physics and Engineering. Dover Publications. p. 249. ISBN 0-486-21769-8. Under very favorable conditions most individuals can obtain tonal characteristics as low as 12 cycles.
  6. Ashihara, Kaoru (2007-09-01). "Hearing thresholds for pure tones above 16kHz". The Journal of the Acoustical Society of America. 122 (3): EL52–EL57. doi:10.1121/1.2761883. ISSN 0001-4966. The absolute threshold usually starts to increase sharply when the signal frequency exceeds about 15 kHz. ... The present results show that some humans can perceive tones up to at least 28 kHz when their level exceeds about 100 dB SPL.
  7. Gelfand, Stanley (2011). Essentials of Audiology. Thieme. p. 87. ISBN 1604061553. hearing is most sensitive (i.e., the least amount of intensity is needed to reach threshold) in the 2000 to 5000 Hz range
  8. Rodriguez, Valiente A; Trinidad, A; Garcia, Berrocal JR; Gorriz, C; Ramirez, Camacho R (2014-04). "Review: Extended high-frequency (9-20 kHz) audiometry reference thresholds in healthy subjects". Int J Audiol. 53 (8): 531–545. doi:10.3109/14992027.2014.893375. PMID 24749665. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. Dittmar, Tim (2011). Audio Engineering 101: A Beginner's Guide to Music Production. Taylor & Francis. p. 17. ISBN 9780240819150.
  10. Moller, Aage R. (2006). Hearing: Anatomy, Physiology, and Disorders of the Auditory System (2 ed.). Academic Press. p. 217. ISBN 9780080463841.
  11. Gelfand, S A (1990). Hearing: An introduction to psychological and physiological acoustics (2nd ed.). New York and Basel: Marcel Dekker.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  12. Sataloff, Robert Thayer; Sataloff, Joseph (1993-02-17). Hearing loss (3rd ed.). Dekker. ISBN 9780824790417.
  13. Heffner, Rickye S (2004). "Primate Hearing From a Mammalian Perspective" (PDF).CS1 maint: uses authors parameter (link)
  14. Heffner, Rickye S. (2004-11). (PDF). The Anatomical Record Part A: Discoveries in Molecular, Cellular, and Evolutionary Biology. 281 (1): 1111–1122. doi:10.1002/ar.a.20117. PMID 15472899. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2006-09-19. สืบค้นเมื่อ 2009-08-20. Unknown parameter |dead-url= ignored (help); Check date values in: |date= (help)
  15. Heffner, Henry E. (1998-05). "Auditory Awareness". Applied Animal Behaviour Science. 57 (3–4): 259–268. doi:10.1016/S0168-1591(98)00101-4. Check date values in: |date= (help)
  16. Sunquist, Melvin E.; Sunquist, Fiona (2002). Wild Cats of the World. University of Chicago Press. p. 10. ISBN 0-226-77999-8.
  17. Blumberg, M. S. (1992). "Rodent ultrasonic short calls: locomotion, biomechanics, and communication". Journal of Comparative Psychology. 106 (4): 360–365. doi:10.1037/0735-7036.106.4.360. PMID 1451418.
  18. Heffner, Rickye S. (1985). "Hearing Range of the Domestic Cat" (PDF). Hearing Research. 19: 85–88. doi:10.1016/0378-5955(85)90100-5. PMID 4066516. สืบค้นเมื่อ 2009-08-20.
  19. "Frequency Hearing Ranges in Dogs and Other Species". www.lsu.edu. สืบค้นเมื่อ 2016-12-28.
  20. Condon, Timothy (2003). Elert, Glenn (บ.ก.). "Frequency Range of Dog Hearing". The Physics Factbook. สืบค้นเมื่อ 2008-10-22.
  21. Hungerford, Laura. "Dog Hearing". NEWTON, Ask a Scientist. University of Nebraska. สืบค้นเมื่อ 2008-10-22.
  22. Adams, Rick A.; Pedersen, Scott C. (2000). Ontogeny, Functional Ecology, and Evolution of Bats. Cambridge University Press. pp. 139–140. ISBN 0521626323.
  23. Bennu, Devorah A. N. (2001-10-10). . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-09-21. สืบค้นเมื่อ 2012-02-04.
  24. Richardson, Phil. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2011-06-08. สืบค้นเมื่อ 2012-02-04.
  25. Lawlor, Monika. . Society & Animals. 8. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-10-13. สืบค้นเมื่อ 2012-02-04. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  26. Beason, C., Robert. "What Can Birds Hear?". USDA National Wildlife Research Center - Staff Publications. สืบค้นเมื่อ 2013-05-02.
  27. Mayntz, Melissa. "Bird Senses - How Birds Use Their 5 Senses". Birding / Wild Birds. About.com. สืบค้นเมื่อ 2012-02-04.
  28. Ketten, D. R.; Wartzok, D. Thomas, J.; Kastelein, R. (บ.ก.). (PDF). Sensory Abilities of Cetaceans: Field and Laboratory Evidence. Plenum Press. 196: 81–105. doi:10.1007/978-1-4899-0858-2_6. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2010-07-30.

อ้างอิงอื่น ๆ

  • D'Ambrose, Chris (2003). "Frequency Range of Human Hearing". The Physics Factbook. สืบค้นเมื่อ 2007-02-28.
  • Hoelzel, A. Rus, บ.ก. (2002). Marine Mammal Biology: An Evolutionary Approach. Oxford: Blackwell Science. ISBN 9780632052325.
  • Ketten, D. R. (2000). "Cetacean Ears". ใน Au, W. L.; Popper, Arthur N.; Fay, Richard R. (บ.ก.). Hearing by Whales and Dolphins. New York: Springer. pp. 43–108. ISBN 9780387949062.
  • Richardson, W. John (1998). Marine mammals and noise. London: Academic Press.
  • Rubel, Edwin W.; Popper, Arthur N.; Fay, Richard R. (1998). Development of the auditory system. New York: Springer. ISBN 9780387949840.

ยการได, งกฤษ, hearing, range, หมายถ, งพ, ยความถ, เส, ยงท, มน, ษย, หร, อส, ตว, ได, แม, อาจหมายถ, งระด, บความด, งเส, ยงได, วยเหม, อนก, มน, ษย, ปกต, จะได, นในพ, ยความถ, เฮ, รตซ, แต, จะต, างไปตามบ, คคลพอสมควรโดยเฉพาะเส, ยงความถ, และการส, ญความไวเส, ยงความถ, งอย, า. phisykaridyin xngkvs Hearing range hmaythungphisykhwamthiesiyngthimnusyhruxstwxun idyin aemkxachmaythungradbkhwamdngesiyngiddwyehmuxnkn mnusypkticaidyininphisykhwamthi 20 20 000 ehirts Hz aetkcatangiptambukhkhlphxsmkhwrodyechphaaesiyngkhwamthisung aelakarsuykhwamiwesiyngkhwamthisungxyangkhxyepnkhxyiptamxayukepneruxngpkti khwamiwtxkhwamthitang aeminbukhkhlkyngimethaknxikdwy duhwkhx esnchnkhwamdngesiyngetha mistwhlayxyangthisamarthidyinesiyngekinphisykhxngmnusy yktwxyangechn olmaaelakhangkhawsamarthidyinesiyngsungcnthung 100 000 Hz changsamarthidyinesiyngtacnthung 14 16 Hz inkhnathiwalbangchnidsamarthidyinesiyngtainnacnthung 7 Hz enuxha 1 karwdkaridyin 2 instw 2 1 mnusy 2 2 iphremtxun 2 3 aemw 2 4 sunkh 2 5 khangkhaw 2 6 hnuhring 2 7 nk 2 8 pla 3 stweliynglukdwynminna 4 duephim 5 echingxrrth 6 xangxing 7 xangxingxun karwdkaridyin aekikhkartrwckaridyinbxykhrngcaichphng audiogram sungaesdngesnkhiderimepliynthibukhkhlidyinethiybkbkhxngphuthiidyinepnpkti epnkrafaesdngesiyngdngnxysudthiidyintlxdphisykhwamthiesiyngthistwchnidnnidyin 1 karthdsxbkaridyinthangphvtikrrmhruxthangsrirphaph samarthichtrwchacuderimepliynkhxngkaridyininthngmnusyaelastwxun emuxthdsxbmnusy camikarplxyesiyngthikhwamthiaelakhwamdnghnung emuxphurbkarthdsxbidyinesiyng kcaykmuxhruxkdpum esiyngdngnxythisudthiidyinkcabnthukexaiw kartrwcsxbtangknbanginedk khuxxacaesdngkaridyinodyihhnsirsahruxichkhxngelnkhuxsamarthsxnedkihthaxairbangxyangemuxidyinesiyng echn istuktainerux ethkhnikhkhlayknsamarthichthdsxbstw odymixaharepnrangwlemuxtxbsnxngtxesiyngswnkarthdsxbthangsrirphaphimcaepntxngihphurbkarthdsxbtngictxbsnxng 2 khxmulkaridyinkhxngstweliynglukdwynmtang odyhlkmacakkarthdsxbthangphvtikrrm khwamthiesiyngcawdepnehirts Hz sungkkhux canwnrxbkhlunesiyngtxwinathiinstw aekikh phisykaridyininstwbangchnidrwmthngmnusy aephnphumiaebblxkarithum 3 mwng mnusy naengin pla ekhiyw stweluxykhlan etha stwpik smaedng stweliynglukdwynmbnbk natal stweliynglukdwynminna esnchnkhwamdngesiyngetha equal loudness contours khxng ISO odykhwamthimihnwyepnehirts epnesnchnaesdngkhwamthismphnthkbkhwamdngkhxngesiyngthimnusyrusukwadngethakn odyesnthi 0 phon threshold caepnesnaesdngkhiderimepliynmatrthankhxngkaridyininmnusy mnusy aekikh khxmulephimetim rabbkaridyin inmnusy khlunesiyngcawingekhaipinhuphanruhudannxkekhaipthungaekwhu odykarbibxd compression aelwkhyayxxk rarefaction khxngkhlunesiyngcaepnaerngsnaekwhu thaihekidaerngsnphankradukhuinhuchnklang khux kradukkhxn kradukthng aelakradukokln phankhxngehlwinkhxekhliy aelwinthisudkcasnkhnphayinkhxekhliythieriykwa Stereocilia khncapkkhlumeyuxinkhxekhliycakthanipthungyxd odyswnthiidkarkratunaelaradbkarkratuncachithungkhunsmbtikhxngesiyng aelwesllkhnkcasngtxkhxmulphanostprasath auditory nerve ipyngsmxngephuxpramwlphlphisykaridyinthimkxangxingxyurahwang 20 Hz 20 kHz 4 5 note 1 inphawaxudmkhtikhxnghxngthdlxng mnusyxacidyinesiyngkhwamthitathung 12 Hz 6 aelakhwamthisungthung 28 kHz gt 100 dB SPL aemwakhwamdngthiepnkhiderimepliyncaephimxyangepnmumhkthikhwamthi 15 kHz inphuihy durup 7 mnusyiwesiyngthikhwamthi 2 000 5 000 Hz makthisud khuxsamarthidyinesiyngthikhxythisudinchwngkhwamthinn durup 8 phisykaridyinkhxngaetlakhncakhunxyukbsphaphthwipkhxnghuaelarabbprasathphisycaldlnginchwngxayu 9 pktierimtngaetrawxayu 8 khwbthiidyinesiyngsungnxylng hyingcaesiykaridyinnxykwaphuchay aelaekidkhunthihlngkwa chaycaesiykaridyinesiyngkhwamthisungraw 5 10 edsieblmakkwahyingkxnthungxayu 40 pi 10 11 phng audiogram aesdngkhwamaetktangkhxngkaridyinthwipethiybkbmatrthan aephnphumi audiogram khxngkaridyininmnusysamarthsrangodyichmietxrwdesiyng audiometer sungplxyesiyngthikhwamthiaelakhwamdngtang ihphurbkarthdsxngidyinphanhufngswmsirsathiprbethiybmatrthanaelw khwamdngcathwngnahnkdwykhwamthiodyepriybethiybkbkrafmatrthanthieriykwa minimum audibility curve esnokhngkaridyintasud sunghmayihepntwaethnkhxngkaridyinpkti khiderimepliynkaridyin threshold of hearing cakahndtamesn 0 phon threshold dngthipraktbnesnchnkhwamdngesiyngetha ethakbkhwamdnesiyngtxxakasthi 20 imokhrpaskal thikhwamthi 1 kHz sungepnesiyngdngnxysudthimnusywyeyawpkticaidyin 12 ethakbesiyngyungbinhangpraman 3 emtr aetmatrthan ANSI cakahndsungkwa 1 kHz 13 enuxngcakmatrthantang ichradbxangxingthitangkn kcathaih audiogram tammatrthantang kn echn matrthan ASA 1951 ichkhwamdng 16 5 dB SPL thi 1 kHz ethiybkb matrthanxnkahndthihlngkhux ANSI 1969 ISO 1963 sungichkhwamdngthi 6 5 dB SPL thi 1 kHz aelaodypktiihephim 10 dB sahrbkhnsungxayu iphremtxun aekikh iphremthlaychnidodyechphaathitwelk samarthidyinesiyngkhwamthitakwaradbthimnusyidyin ling liemxraexfrika Galago senegalensis Senegal bushbaby samarthidyininphisy 92 Hz 65 kHz aelaliemxrhangaehwn Lemur catta praethsmadakskar inphisy 67 Hz 58 kHz inbrrdaiphremt 19 chnidthitrwcsxb lingkngyipunmiphisykwangthisudkhuxrahwang 28 Hz 34 5 kHz ethiybkbmnusythi 31 Hz 17 6 kHz 14 aemw aekikh aemwmihudiaelasamarthidyinkhwamthiesiynginphisythikwangmak samarthidyinesiyngsungkwamnusyaelasunkhodymak khuxidyinesiyngrahwang 55 Hz cnthung 79 kHz 15 16 aemwimidichkhwamsamarthidyinehnuxesiyngephuxkarsuxsar aetnacasakhyinkarlastw 17 ephraastwfnaethahlayspichissuxsardwykhwamthiehnuxesiyng 18 hukhxngaemwyngiwmakodydiepnradbtn khxngstweliynglukdwynm 15 aelaiwthisudinphisy 500 Hz 32 kHz 19 khwamiwyngephimkhunxasyibhuihykhangnxkthiekhluxnihwid sungthngkhyayesiyngaelachwytrwccbthisthangkhxngaehlngesiyng 17 sunkh aekikh smrrthphaphkaridyinkhxngsunkhcakhunxyukbphnthuaelaxayu aetpkticaxyuthiraw 67 Hz 45 kHz 20 21 aetehmuxnkbmnusy sunkhbangphnthumiphisythildlngemuxxayumakkhun 22 echn eyxrmnechephirdaelaphuedilaekhraemuxidyinesiyng sunkhcakhybibhuipthangaehlngesiyngephuxihidyindithisud ephuxcathaxyangniid husunkhcungmiklamenuxxyangnxy 18 md sungthaihexiynghuhmunhuid ruprangkhxnghuyngchwyihidyinesiyngdikhun hlayphnthubxykhrngmihutngtrnghruxtngokhng sungchwysngaelakhyayesiyngephraasunkhidyinesiyngsungkwamnusy cungmiolkkaridyinthitangcakmnusy 22 esiyngthimnusyfngaelwrusukaekhdngxacmiesiyngkhwamthisungthiilsunkhip nkhwidthisngesiyngxltraosnikthibangkhrngeriykwankhwidsunkh samarthichfuksunkh ephraasunkhtxbsnxngtxesiyngradbnidikwa inthrrmchati sunkhcaichkaridyinephuxlastwaelahaxahar swnsunkhbanmkichephuxefabanephraaidyinesiyngdikwamnusy 21 khangkhaw aekikh khangkhawidwiwthnakarihiwesiyngmakephuxhakinewlaklangkhun phisykhwamthiesiyngcakhunxyukbchnidtang bangchnidxacidyinkhwamthitasudthung 1 kHz aelasungsudthung 200 kHz aetchnidthiidyinthung 200 kHz caimidyinesiyngthitakwa 10 kHz iddi 23 aelaphisythikhangkhawidyinesiyngdisudcaaekhbkwa raw 15 kHz 90 kHz 23 khangkhaw ehn wtthurxb twaelahaehyuxdwykarkahndthitngwtthudwyesiyngsathxn echolocation khuxcasngesiyngthidngmaksn aelwpraeminesiyngthisathxnklbma khangkhawsamarthlaaemlngthibinxyuinxakas ephraaaemlngehlanicasathxnesiyngkhxngkhangkhawklbeba chnidaelakhnadkhxngaemlngsamarthkahnddwykhunsmbtiesiyngaelaewlathiichsathxnesiyng khangkhawichesiyngrxngsxngchnid khux rxngthiesiyngkhwamthiediyw constant frequency CF aelarxngesiyngthitalngeruxy frequency modulated FM 24 esiyngrxngaetlaxyangcaaesdngkhxmultang CF samarthichtrwccbwamiwtthuhruxim swn FM ichpraeminrayathangcakwtthu esiyngsathxncak FM aela CF cabxkkhangkhawthungkhnadaelarayathangipthungehyux phlsesiyngthikhangkhawsngcayawephiyngimkimilliwinathi khwamengiybinhwangcaichepnewlafnghakhxmulthiklbmakbesiyngsathxn hlkthanaesdngwa khangkhawichkhwamsungtakhxngesiyngthiepliynipenuxngcakpraktkarndxpephlxr ephuxpraeminkhwamerwkarbinkhxngtnethiybkbwtthuthixyurxb tw 25 khxmultang rwmthngkhnad ruprang aelalksnaenuxwtthu caichkahndsingaewdlxmaelataaehnngkhxngehyux khangkhawcungsamarthtrwccbkarekhluxnihwaelwaelwlaehyuxid hnuhring aekikh hnuhringmihuthiihyethiybkbrangkay samarthidyinesiyngsungkwamnusy khuxinphisykhwamthirahwang 1 kHz 70 kHz aetkimsamarthidyinesiyngthitakwamnusyhnusuxsarichesiyngkhwamthisungthibangswnmnusyimsamarthidyin esiyngrxngihchwykhxnglukhnuxacxyuthi 40 kHz hnuichkhwamsamarthsngesiyngnxkphisystwxun khuxmnsamarthetuxnephuxn thungxntrayodyimtxngaesdngtaaehnngkhxngtwexngkbstwlaehyux swnesiyngrxngxid thimnusyidyinmikhwamthitakwa thihnuichephuxsngesiyngikl ephraaesiyngkhwamthitasamarthipidiklkwaesiyngsung 26 nk aekikh karidyinepnprasathsmphssakhyepnthisxngkhxngnk odymihuepnrupkrwyephuxrwbrwmesiyng hucaxyukhanghlngaelaittaelknxy pkkhlumdwykhnxxn auricular khnbriewnhu ephuxchwypxngkn ruprangkhxnghwyngmiphltxkaridyin echn innkekha tathiklmewa facial disc cachwyrwbrwmesiyngsngipthanghunkiwkhwamthiesiyngthisudrahwang 1 kHz 4 kHz aetphisykwangsudkhraw khlaykbkhxngmnusy odymicudcakdsunghruxtakwakhunxyukbchnid 27 nkiwkhwamepliynaeplnginesiyngsungesiyngta khunphaphesiyng aelacnghwamak aelaichkhwamtang ehlaniephuxrucknktwxun aemcaxyuinfungesiyngdng nkyngichesiyng ephlng aelakarrxngeriyktang insthankarntang dngnnkarruckesiyngtang cungsakhyephuxkahndwaepnsyyanetuxnphyekiywkbstwla karprakasxanaekht hruxsyyanesnxaebngxahar 28 nkbangchnid odyechphaa Steatornis caripensis oilbird kkahndthitngwtthudwyesiyngsathxnehmuxnkbkhangkhawehmuxnkn nkehlanixyuinthaaelaichesiyngrxngcxk aeck krik thierwephuxkahndthisthanginthamudsungaemaetkarehnthiiwkxacyngimphx 28 pla aekikh plamiphisykaridyinthiaekhbthaethiybkbstweliynglukdwynmodymak durup platang idyinimethakn echn plathxngaelaplahnngmi Weberian apparatus okhrngsrangthiechuxmkraephaalmkbrabbkaridyin aelamiphisykaridyinthikwangkwaplathunastweliynglukdwynminna aekikhsingaewdlxminnamikhunsmbtithangkayphaphthitangcakbnbkmak karidyinkhxngstweliynglukdwynminnacungtangcakstwbk khwamaetktanginrabbkaridyincungthaihmikarsuksastweliynglukdwynminnaxyangkwangkhwang odyechphaainolmarabbkaridyinkhxngstwbkcathanganodykarthayoxnkhlunesiyngphanchxnghu chxnghukhxngaemwna singotthaelaelawxlrs kehmuxnkbkhxngstweliynglukdwynmbnbkaelaxacthanganaebbediywkn aetsahrbwalaelaolma kyngimchdecnwaesiyngsngipthunghuidxyangir aemngansuksabangngancayunynwa esiyngsngipthunghuphanenuxeyuxkhxngkhakrrikrlang walmifncakahndthitngwtthuechnehyuxdwyesiyngsathxn walklumniyngaeplkephraamihuthiaeykcakkaohlkhwaelaxyuhangknmak sungchwykahndthisthangkhxngesiyng xnepnxngkhprakxbsakhykhxngkarkahndthitngwtthudwyesiyngsathxn olma ngansuksatang 29 phbwa olmamikhxekhliyinhuchninsxngaebb aebb I caphbinolmaaemnaaexmasxnaelaphxrphxysxawcxderux Phocoena phocoena hrux harbour porpoise sungichesiyngkhwamthisungmakephuxkahndthitngwtthudwyesiyngsathxn odyphxrphxysxawcxderux casngesiyngepnsxngaethbthi 2 kHz aelaehnux 110 kHz khxekhliykhxngolmaniidprbtwodyechphaaephuxihidyinesiyngkhwamthisungmak odykhxekhliythithancaaekhbmakswnaebb II caphbinspichiswalthixyuhangcakfngaelainnaluk echn olmapakkhwd sungsngesiynginkhwamthithitakwa tampktithi 75 150 000 Hz odyesiyngkhwamthisungcaichkahndthitngwtthudwyesiyngsathxn aelaesiyngkhwamthitamksmphnthkbptismphnththangsngkhm ephraasamarthsngipidikl stweliynglukdwynminnaichesiynghlakhlay olmasamarthsuxsardwyesiyngkrikaelaesiynghwid swnwalichesiyngkhranghruxesiyngepnphlsthimikhwamthita syyanaetlaxyangcamikhwamthitang kn aelasyyantang caichsuxsarsingtang kn olmacatrwccbaelarabuwtthudwykarkahndthitngwtthudwyesiyngsathxn aelaichesiynghwidinklumsngkhmephuxrabuolmaaetlatwaelaephuxsuxsarduephim aekikhrabbkaridyinechingxrrth aekikh khwamthiesiyngrahwang 20 Hz 20 kHz caethakbkhlunesiynginxakas n xunhphumi 20 C thimikhwamyawkhlun 17 m cnthung 1 7 smxangxing aekikh Marler Peter 2004 Nature s Music The Science of Birdsong Academic Press Inc p 207 ISBN 978 0124730700 Katz Jack 2002 Handbook of Clinical Audiology 5th ed Philadelphia Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9780683307658 Fay RR 1988 Hearing in Vertebrates a Psychophysics Databook Winnetka IL Hill Fay Associates CS1 maint uses authors parameter link Warfield D 1973 Gay W b k The study of hearing in animals Methods of Animal Experimentation IV London Academic Press pp 43 143 CS1 maint uses authors parameter link CS1 maint uses editors parameter link Fay RR Popper AN b k 1994 Comparative Hearing Mammals Springer Handbook of Auditory Research Series NY Springer Verlag CS1 maint uses editors parameter link West CD 1985 The relationship of the spiral turns of the cochela and the length of the basilar membrane to the range of audible frequencies in ground dwelling mammals Journal of the Acoustic Society of America 77 1091 1101 CS1 maint uses authors parameter link Lipman EA Grassi JR 1942 Comparative auditory sensitivity of man and dog Amer J Psychol 55 84 89 CS1 maint uses authors parameter link Heffner HE 1983 Hearing in large and small dogs Absolute thresholds and size of the tympanic membrane Behav Neurosci 97 310 318 CS1 maint uses authors parameter link Rosen Stuart 2011 Signals and Systems for Speech and Hearing 2nd ed BRILL p 163 For auditory signals and human listeners the accepted range is 20Hz to 20kHz the limits of human hearing Rossing Thomas 2007 Springer Handbook of Acoustics Springer pp 747 748 ISBN 978 0387304465 Olson Harry F 1967 Music Physics and Engineering Dover Publications p 249 ISBN 0 486 21769 8 Under very favorable conditions most individuals can obtain tonal characteristics as low as 12 cycles Ashihara Kaoru 2007 09 01 Hearing thresholds for pure tones above 16kHz The Journal of the Acoustical Society of America 122 3 EL52 EL57 doi 10 1121 1 2761883 ISSN 0001 4966 The absolute threshold usually starts to increase sharply when the signal frequency exceeds about 15 kHz The present results show that some humans can perceive tones up to at least 28 kHz when their level exceeds about 100 dB SPL Gelfand Stanley 2011 Essentials of Audiology Thieme p 87 ISBN 1604061553 hearing is most sensitive i e the least amount of intensity is needed to reach threshold in the 2000 to 5000 Hz range Rodriguez Valiente A Trinidad A Garcia Berrocal JR Gorriz C Ramirez Camacho R 2014 04 Review Extended high frequency 9 20 kHz audiometry reference thresholds in healthy subjects Int J Audiol 53 8 531 545 doi 10 3109 14992027 2014 893375 PMID 24749665 Check date values in date help CS1 maint multiple names authors list link Dittmar Tim 2011 Audio Engineering 101 A Beginner s Guide to Music Production Taylor amp Francis p 17 ISBN 9780240819150 Moller Aage R 2006 Hearing Anatomy Physiology and Disorders of the Auditory System 2 ed Academic Press p 217 ISBN 9780080463841 Gelfand S A 1990 Hearing An introduction to psychological and physiological acoustics 2nd ed New York and Basel Marcel Dekker CS1 maint uses authors parameter link Sataloff Robert Thayer Sataloff Joseph 1993 02 17 Hearing loss 3rd ed Dekker ISBN 9780824790417 Heffner Rickye S 2004 Primate Hearing From a Mammalian Perspective PDF CS1 maint uses authors parameter link 15 0 15 1 Heffner Rickye S 2004 11 Primate Hearing from a Mammalian Perspective PDF The Anatomical Record Part A Discoveries in Molecular Cellular and Evolutionary Biology 281 1 1111 1122 doi 10 1002 ar a 20117 PMID 15472899 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2006 09 19 subkhnemux 2009 08 20 Unknown parameter dead url ignored help Check date values in date help Heffner Henry E 1998 05 Auditory Awareness Applied Animal Behaviour Science 57 3 4 259 268 doi 10 1016 S0168 1591 98 00101 4 Check date values in date help 17 0 17 1 Sunquist Melvin E Sunquist Fiona 2002 Wild Cats of the World University of Chicago Press p 10 ISBN 0 226 77999 8 Blumberg M S 1992 Rodent ultrasonic short calls locomotion biomechanics and communication Journal of Comparative Psychology 106 4 360 365 doi 10 1037 0735 7036 106 4 360 PMID 1451418 Heffner Rickye S 1985 Hearing Range of the Domestic Cat PDF Hearing Research 19 85 88 doi 10 1016 0378 5955 85 90100 5 PMID 4066516 subkhnemux 2009 08 20 Frequency Hearing Ranges in Dogs and Other Species www lsu edu subkhnemux 2016 12 28 21 0 21 1 Condon Timothy 2003 Elert Glenn b k Frequency Range of Dog Hearing The Physics Factbook subkhnemux 2008 10 22 22 0 22 1 Hungerford Laura Dog Hearing NEWTON Ask a Scientist University of Nebraska subkhnemux 2008 10 22 23 0 23 1 Adams Rick A Pedersen Scott C 2000 Ontogeny Functional Ecology and Evolution of Bats Cambridge University Press pp 139 140 ISBN 0521626323 Bennu Devorah A N 2001 10 10 The Night is Alive With the Sound of Echoes khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 09 21 subkhnemux 2012 02 04 Richardson Phil The Secret Life of Bats khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2011 06 08 subkhnemux 2012 02 04 Lawlor Monika A Home For A Mouse Society amp Animals 8 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 10 13 subkhnemux 2012 02 04 Unknown parameter deadurl ignored help Beason C Robert What Can Birds Hear USDA National Wildlife Research Center Staff Publications subkhnemux 2013 05 02 28 0 28 1 Mayntz Melissa Bird Senses How Birds Use Their 5 Senses Birding Wild Birds About com subkhnemux 2012 02 04 Ketten D R Wartzok D Thomas J Kastelein R b k Three Dimensional Reconstructions of the Dolphin Ear PDF Sensory Abilities of Cetaceans Field and Laboratory Evidence Plenum Press 196 81 105 doi 10 1007 978 1 4899 0858 2 6 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2010 07 30 xangxingxun aekikhD Ambrose Chris 2003 Frequency Range of Human Hearing The Physics Factbook subkhnemux 2007 02 28 Hoelzel A Rus b k 2002 Marine Mammal Biology An Evolutionary Approach Oxford Blackwell Science ISBN 9780632052325 Ketten D R 2000 Cetacean Ears in Au W L Popper Arthur N Fay Richard R b k Hearing by Whales and Dolphins New York Springer pp 43 108 ISBN 9780387949062 Richardson W John 1998 Marine mammals and noise London Academic Press Rubel Edwin W Popper Arthur N Fay Richard R 1998 Development of the auditory system New York Springer ISBN 9780387949840 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phisykaridyin amp oldid 9046348, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม