fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาดัตช์

ภาษาดัตช์ (Nederlands) เป็นกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 ล้านคน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และเบลเยียม ภาษาดัตช์เป็นภาษาราชการในประเทศเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ประเทศซูรินาม และดินแดนโพ้นทะเลของเนเธอร์แลนด์ในแถบแคริบเบียนอันได้แก่ อารูบา ซินต์มาร์เติน และกือราเซา

ภาษาดัตช์
Nederlands เนเดอร์ลานด์ส
ประเทศที่มีการพูดเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ซูรินาม อารูบา กือราเซา ซินต์มาร์เติน อินโดนีเซีย และฝรั่งเศส
จำนวนผู้พูด23 ล้านคน  (2019)
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการอารูบา (เนเธอร์แลนด์) เบลเยียม สหภาพยุโรป เนเธอร์แลนด์ กือราเซา (เนเธอร์แลนด์) ซินต์มาร์เติน (เนเธอร์แลนด์) และซูรินาม
ผู้วางระเบียบNederlandse Taalunie
(สหภาพภาษาดัตช์)
รหัสภาษา
ISO 639-1nl
ISO 639-2dut (B)
nld (T)
ISO 639-3nld
ประเทศที่ใช้ภาษาดัตช์เป็นภาษาราชการ
Distribution of the Dutch language and its dialects in Western Europe

ภาษาดัตช์มีความใกล้เคียงมากที่สุดกับภาษาอาฟรีกานส์ซึ่งเป็นภาษาที่มีที่มาจากภาษาดัตช์ในประเทศแอฟริกาใต้ในศตวรรษที่ 17 และภาษาเยอรมันต่ำในประเทศเยอรมนีตอนเหนือ

ชื่อเรียก

คำว่า "ดัตช์" (Dutch) เป็นคำคุณศัพท์ในภาษาอังกฤษที่หมายถึงประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นคำที่มีรากศัพท์เดียวกับคำภาษาเยอรมันว่า "ด็อยทช์" (deutsch) และคำภาษาดัตช์ "เดาท์ซ" (duits) ซึ่งในปัจจุบันเป็นคำคุณศัพท์ที่หมายถึงประเทศเยอรมนี คำนี้มีที่มาจากรากศัพท์ในภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมว่า *þeudō ซึ่งหมายถึงกลุ่มชน ในยุคกลาง คำนี้ได้กลายมาเป็นคำเรียกแทนชนชาติและภาษาของตนเองในภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกต่างๆ เช่น diutsch ในภาษาเยอรมันสูงยุคกลาง และ duutsc หรือ dietsc ในภาษาดัตช์ยุคกลาง โดยมีความหมายในลักษณะ "ภาษาของประชา" ที่ไม่ใช่ภาษาละติน ในภาษาอังกฤษสมัยศตวรรษที่ 15-16 คำว่า Dutch ในภาษาอังกฤษยังคงมีความหมายถึง "เยอรมัน" ในความหมายอย่างกว้าง (ที่รวมถึงเนเธอร์แลนด์) ก่อนที่จะมีความหมายเจาะจงถึงเนเธอร์แลนด์หลังจากที่สาธารณรัฐดัตช์กลายเป็นรัฐเอกราช

คำเรียกภาษาดัตช์ในภาษาดัตช์ในปัจจุบันคือ "เนเดอร์ลันดส์" (Nederlands) ในประเทศเบลเยียมบางครั้งจะเรียกภาษาดัตช์ที่ใช้ในแฟลนเดอส์ว่า "ฟลามส์" (Vlaams; ภาษาเฟลมิช)

สัทวิทยา

พยัญชนะ

ภาษาดัตช์มาตรฐานมีหน่วยเสียงพยัญชนะดังต่อไปนี้

  ริมฝีปาก ริมฝีปาก-ฟัน ปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก เพดานอ่อน/
ลิ้นไก่
เส้นเสียง
นาสิก m n ŋ
ระเบิด p b t d k (ɡ)
เสียดแทรก f v s z (ʃ) (ʒ) x ɣ h
โรทิก r
เปิด ʋ l j

เสียงหยุด เพดานอ่อน ก้อง /g/ เป็นหน่วยเสียงที่มีใช้เฉพาะในคำยืมจากภาษาต่างประเทศ เช่น goal หรือเป็นหน่วยเสียงย่อย ของเสียงไม่ก้อง /k/ หากว่าอยู่ติดกับเสียงพยัญชนะก้องอื่น เช่น zakdoek [zɑgduk] (ผ้าเช็ดหน้า):7

เสียง /s, z, t/ หากว่าอยู่หน้าเสียง /j/ แล้ว จะกลายเป็นเสียงเพดานแข็ง [ʃ, ʒ, c] ตามลำดับ เสียงเหล่านี้อาจมีปรากฎในลักษณะหน่วยเสียงในคำยืมเช่นกัน เช่น chique [ʃik] และ jury [ʒyri] โดยสามารถวิเคราะห์ในเชิงสัทวิทยาได้ว่าเป็นหน่วยเสียงเดียวกับเสียงควบ /sj/ และ /zj/ ตามลำดับ:7

เสียงพยัญชนะระเบิด ไม่ก้อง ในภาษาดัตช์ /p, t, k/ ในภาษาดัตช์มีลักษณะเป็นเสียงไม่พ่นลม (เสียงสิถิล)

ภาษาดัตช์ลดเสียงก้อง (devoicing) ของเสียงพยัญชนะสุดท้ายของคำ เช่น หน่วยเสียง /d/ และ /z/ จะออกเสียงเป็น [t] และ [s] ตามลำดับ การลดเสียงก้องนี้สามารถสังเกตได้โดยการเปรียบเทียบการออกเสียงรูปเอกพจน์และพหูพจน์ของหน่วยศัพท์เดียวกัน เช่น huizen (บ้าน) ในรูปพหูพจน์ เอกพจน์กลายเป็น huis เช่นเดียวกับ duiven (นกพิราบ) เอกพจน์กลายเป็น duif ในกรณีอื่นๆ โดยเฉพาะ p/b และ d/t แม้จะคงรูปพยัญชนะในเอกพจน์แต่ก็ยังมีการลดเสียงก้องเหมือนเดิม อาทิ baarden (เครา) รูปเอกพจน์คือ baard แต่อ่านเหมือน baart หรืออีกตัวอย่างหนึ่ง ribben (ซี่โครง) รูปเอกพจน์คือ rib แต่อ่านเหมือน rip

บ่อยครั้งที่พยัญชนะต้นของคำถัดไปก็ถูกลดเสียงก้องไปด้วย เช่น het vee (วัวควาย) ออกเสียงเป็น /(h)ətfe/ การลดเสียงก้องในกรณีเช่นนี้ถือว่าเป็นเรื่องร้ายแรงในบางภูมิภาค (อาทิ อัมสเตอดัม, ฟรีสลันด์) ที่ซึ่งหน่วยเสียง /v/, /z/ และ /ɣ/ กำลังจะสูญหาย ในทางตอนใต้ของเนเธอร์แลนด์ หน่วยเสียงเหล่านี้ยังคงออกเสียงได้อย่างถูกต้องในตำแหน่งกึ่งกลางของคำ

สระ

ภาษาดัตช์มีหน่วยเสียงสระเดี่ยวดังต่อไปนี้:4

  หน้า กลาง หลัง
ปากไม่ห่อ ปากห่อ
คลาย เกร็ง คลาย เกร็ง คลาย เกร็ง
ปิด ɪ i ɵ y (ʊ) u
ระดับกลาง ɛ øː ə ɔ
เปิด ɑ

ภาษาดัตช์มีหน่วยเสียงสระประสมสามหน่วย ได้แก่ /ɛi/, /œy/ และ /ɔu/:4

การเน้นเสียงหนัก

ภาษาดัตช์เป็นภาษาที่ออกเสียงเน้นหนัก (stress) บนตำแหน่งของคำ การเน้นหนักสามารถปรากฏได้ทุกแห่งในคำคำหนึ่ง แต่โดยปกติแล้วจะเน้นที่ต้นคำ ในคำประสมก็มักจะมีการเน้นระดับรองอยู่ด้วย มีเพียงบางกรณีเท่านั้นที่การเน้นหนักใช้แยกแยะความแตกต่างของความหมาย ตัวอย่างเช่น vóórkomen (ปรากฏ) และ voorkómen (ป้องกัน) การใส่เครื่องหมายเน้นหนัก (´) ในภาษาดัตช์นั้นไม่จำเป็นต้องกระทำ ไม่ได้เป็นข้อปฏิบัติ แต่บางครั้งก็แนะนำให้ใช้

สัทสัมผัส

โครงสร้างพยางค์โดยทั่วไปของภาษาดัตช์คือ (C)(C)(C)V(C)(C)(C)(C) หมายความว่าสามารถมีพยัญชนะต้นได้ 3 ตัวเหมือนภาษาอังกฤษ เช่น straat (ถนน) และมีพยัญชนะสะกดได้ 4 ตัว เช่น herfst (ฤดูใบไม้ร่วง) interessantst (น่าสนใจที่สุด) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำวิเศษณ์รูปขั้นกว่าหรือขั้นสุด

จำนวนพยัญชนะที่มากที่สุดในหนึ่งคำพบได้ในคำว่า slechtstschrijvend (งานเขียนที่แย่ที่สุด) ซึ่งมีพยัญชนะติดกัน 9 ตัว ตามทฤษฎีจะมีเพียง 7 หน่วยเสียง เนื่องจาก ch ใช้แทนหน่วยเสียงเสียงเดียว แต่การพูดโดยทั่วไปอาจลดลงเหลือเพียง 5-6 หน่วยเสียง

การเขียน

ภาษาดัตช์เขียนด้วยอักษรละตินมาตรฐาน 26 ตัว แต่มีทวิอักษร ij ที่ถือว่าเป็นตัวอักษรตัวหนึ่ง

ตัวพิมพ์เล็ก a - b - c - d - e - f - g - h - i - j - k - l - m - n - o - p - q - r - s - t - u - v - w - x - y - (ij) - z

ตัวพิมพ์ใหญ่ A - B - C - D - E - F - G - H - I - J - K - L - M - N - O - P - Q - R - S - T - U - V - W - X - Y - (IJ) - Z

สระในภาษาดัตช์มี 5 ตัว คือ a - e - i - o - u ซึ่งถ้าหากพิจารณารวมตัวอักษร ij ซึ่งเป็นได้ทั้งพยัญชนะและสระ ด้วยแล้ว จะมีสระรวมเป็น 6 ตัว

ตัวอักษร Q จะพบในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น และเช่นกัน อักษร X และ Y ส่วนมากจะใช้ในคำที่ยืมมา แต่ก็มีบ้างที่ใช้ในชื่อหรือคำเก่า ๆ เช่น hypnose (แปลว่า hypnosis ในภาษาอังกฤษ)

ตัวอักษร E เป็นตัวอักษรที่ใช้มากที่สุดในภาษาดัตช์ โดยเฉพาะหน้าที่เป็นสระ ส่วนตัวอักษรที่ใช้น้อยที่สุด ได้แก่ ตัวอักษร Q, X, และ Y

IJ

 
การเขียน ij ติดกันมีลักษณะคล้าย ÿ

อักษร ij (/ɛi/ แอย) เป็นตัวที่ค่อนข้างจะเป็นปัญหา โรงเรียนประถมหลายแห่งสอนให้นักเรียนท่อง x ij z แทนที่จะเป็น x y z และเรียกอักษร y ว่า "Griekse y" (หมายถึง "y กรีก") อักษร ij ไม่ใช่เป็นการนำ i และ j มารวมกัน อย่างไรก็ตามในพจนานุกรมจะพบตัวอักษร ij อยู่ระหว่าง ih กับ ik ส่วนในสมุดโทรศัพท์จะพบว่าอักษร ij จะอยู่แทนที่ตัวอักษร y เลย (เพราะว่านามสกุลหลายชื่อไม่มีมาตรฐานในการสะกด เช่น Bruijn อาจสะกดได้เป็น Bruyn)

ในการขึ้นต้นประโยคที่มี IJ เป็นตัวอักษรตัวแรก เช่น ijs (น้ำแข็ง) ให้เขียนตัว i และ j เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งสอง คือ IJs เพราะถือว่า ij คืออักษรตัวหนึ่ง อย่างไรก็ตามในภาษาถิ่นบางแห่งพิจารณา ij เป็นสระประสมเสียงเดียว (ตัว i กับ j ควบกัน) ทำให้เมื่อขึ้นต้นประโยคจะเขียน Ijs แทน IJs

อักษร ij ในการเขียนด้วยลายมือจะปรากฏคล้ายอักษร ÿ ส่วนยูนิโคดมีทวิอักษรแบบตัวเดียวคือ IJ (U+0132) และ ij (U+0133)

อ้างอิง

  1. "Dutch". Oxford English Dictionary Online. Oxford University Press. 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-08-09.
  2. Mees, Inger; Collins, Beverley (1982). "A phonetic description of the consonant system of Standard Dutch (ABN)". Journal of the International Phonetic Association. 12 (1): 2–12. doi:10.1017/S0025100300002358.
  3. Booij, Geert (1995). The Phonology of Dutch. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-823869-0.

ภาษาด, ตช, nederlands, เป, นกล, มภาษาเจอร, แมน, กตะว, นตกท, คนพ, ดเป, นภาษาแม, ประมาณ, านคน, วนใหญ, อาศ, ยอย, ในประเทศเนเธอร, แลนด, และเบลเย, ยม, เป, นภาษาราชการในประเทศเนเธอร, แลนด, เบลเย, ยม, ประเทศซ, นาม, และด, นแดนโพ, นทะเลของเนเธอร, แลนด, ในแถบแคร, บเบ, ย. phasadtch Nederlands epnklumphasaecxraemniktawntkthimikhnphudepnphasaaempraman 23 lankhn swnihyxasyxyuinpraethsenethxraelndaelaebleyiym phasadtchepnphasarachkarinpraethsenethxraelnd ebleyiym praethssurinam aeladinaednophnthaelkhxngenethxraelndinaethbaekhribebiynxnidaek xaruba sintmaretin aelakuxraesaphasadtchNederlands enedxrlandspraethsthimikarphudenethxraelnd ebleyiym surinam xaruba kuxraesa sintmaretin xinodniesiy aelafrngesscanwnphuphud23 lankhn 2019 trakulphasaxinod yuorepiyn ecxraemnikecxraemniktawntkaefrngokheniyntaphasadtchsthanphaphthangkarphasathangkarxaruba enethxraelnd ebleyiym shphaphyuorp enethxraelnd kuxraesa enethxraelnd sintmaretin enethxraelnd aelasurinamphuwangraebiybNederlandse Taalunie shphaphphasadtch rhsphasaISO 639 1nlISO 639 2dut B nld T ISO 639 3nldpraethsthiichphasadtchepnphasarachkarDistribution of the Dutch language and its dialects in Western Europephasadtchmikhwamiklekhiyngmakthisudkbphasaxafrikanssungepnphasathimithimacakphasadtchinpraethsaexfrikaitinstwrrsthi 17 aelaphasaeyxrmntainpraethseyxrmnitxnehnux enuxha 1 chuxeriyk 2 sthwithya 2 1 phyychna 2 2 sra 2 3 karennesiynghnk 2 4 sthsmphs 3 karekhiyn 3 1 IJ 4 xangxingchuxeriyk aekikhkhawa dtch Dutch epnkhakhunsphthinphasaxngkvsthihmaythungpraethsenethxraelnd epnkhathimiraksphthediywkbkhaphasaeyxrmnwa dxythch deutsch aelakhaphasadtch edaths duits sunginpccubnepnkhakhunsphththihmaythungpraethseyxrmni khanimithimacakraksphthinphasaecxraemnikdngedimwa theudō sunghmaythungklumchn inyukhklang khaniidklaymaepnkhaeriykaethnchnchatiaelaphasakhxngtnexnginphasaecxraemniktawntktang echn diutsch inphasaeyxrmnsungyukhklang aela duutsc hrux dietsc inphasadtchyukhklang odymikhwamhmayinlksna phasakhxngpracha thiimichphasalatin inphasaxngkvssmystwrrsthi 15 16 khawa Dutch inphasaxngkvsyngkhngmikhwamhmaythung eyxrmn inkhwamhmayxyangkwang thirwmthungenethxraelnd kxnthicamikhwamhmayecaacngthungenethxraelndhlngcakthisatharnrthdtchklayepnrthexkrach 1 khaeriykphasadtchinphasadtchinpccubnkhux enedxrlnds Nederlands inpraethsebleyiymbangkhrngcaeriykphasadtchthiichinaeflnedxswa flams Vlaams phasaeflmich sthwithya aekikhphyychna aekikh phasadtchmatrthanmihnwyesiyngphyychnadngtxipni 2 3 rimfipak rimfipak fn pumehnguxk hlngpumehnguxk ephdanxxn linik esnesiyngnasik m n ŋraebid p b t d k ɡ esiydaethrk f v s z ʃ ʒ x ɣ horthik repid ʋ l jesiynghyud ephdanxxn kxng g epnhnwyesiyngthimiichechphaainkhayumcakphasatangpraeths echn goal hruxepnhnwyesiyngyxy khxngesiyngimkxng k hakwaxyutidkbesiyngphyychnakxngxun echn zakdoek zɑgduk phaechdhna 3 7esiyng s z t hakwaxyuhnaesiyng j aelw caklayepnesiyngephdanaekhng ʃ ʒ c tamladb esiyngehlanixacmiprakdinlksnahnwyesiynginkhayumechnkn echn chique ʃik aela jury ʒyri odysamarthwiekhraahinechingsthwithyaidwaepnhnwyesiyngediywkbesiyngkhwb sj aela zj tamladb 3 7esiyngphyychnaraebid imkxng inphasadtch p t k inphasadtchmilksnaepnesiyngimphnlm esiyngsithil 2 phasadtchldesiyngkxng devoicing khxngesiyngphyychnasudthaykhxngkha echn hnwyesiyng d aela z caxxkesiyngepn t aela s tamladb karldesiyngkxngnisamarthsngektidodykarepriybethiybkarxxkesiyngrupexkphcnaelaphhuphcnkhxnghnwysphthediywkn echn huizen ban inrupphhuphcn exkphcnklayepn huis echnediywkb duiven nkphirab exkphcnklayepn duif inkrnixun odyechphaa p b aela d t aemcakhngrupphyychnainexkphcnaetkyngmikarldesiyngkxngehmuxnedim xathi baarden ekhra rupexkphcnkhux baard aetxanehmuxn baart hruxxiktwxyanghnung ribben siokhrng rupexkphcnkhux rib aetxanehmuxn ripbxykhrngthiphyychnatnkhxngkhathdipkthukldesiyngkxngipdwy echn het vee wwkhway xxkesiyngepn h etfe karldesiyngkxnginkrniechnnithuxwaepneruxngrayaernginbangphumiphakh xathi xmsetxdm frislnd thisunghnwyesiyng v z aela ɣ kalngcasuyhay inthangtxnitkhxngenethxraelnd hnwyesiyngehlaniyngkhngxxkesiyngidxyangthuktxngintaaehnngkungklangkhxngkha sra aekikh phasadtchmihnwyesiyngsraediywdngtxipni 3 4 hna klang hlngpakimhx pakhxkhlay ekrng khlay ekrng khlay ekrngpid ɪ i ɵ y ʊ uradbklang ɛ eː oː e ɔ oːepid ɑ aːphasadtchmihnwyesiyngsraprasmsamhnwy idaek ɛi œy aela ɔu 3 4 karennesiynghnk aekikh phasadtchepnphasathixxkesiyngennhnk stress bntaaehnngkhxngkha karennhnksamarthpraktidthukaehnginkhakhahnung aetodypktiaelwcaennthitnkha inkhaprasmkmkcamikarennradbrxngxyudwy miephiyngbangkrniethannthikarennhnkichaeykaeyakhwamaetktangkhxngkhwamhmay twxyangechn voorkomen prakt aela voorkomen pxngkn karisekhruxnghmayennhnk inphasadtchnnimcaepntxngkratha imidepnkhxptibti aetbangkhrngkaenanaihich sthsmphs aekikh okhrngsrangphyangkhodythwipkhxngphasadtchkhux C C C V C C C C hmaykhwamwasamarthmiphyychnatnid 3 twehmuxnphasaxngkvs echn straat thnn aelamiphyychnasakdid 4 tw echn herfst vduibimrwng interessantst nasnicthisud sungswnihyepnkhawiessnrupkhnkwahruxkhnsudcanwnphyychnathimakthisudinhnungkhaphbidinkhawa slechtstschrijvend nganekhiynthiaeythisud sungmiphyychnatidkn 9 tw tamthvsdicamiephiyng 7 hnwyesiyng enuxngcak ch ichaethnhnwyesiyngesiyngediyw aetkarphudodythwipxacldlngehluxephiyng 5 6 hnwyesiyngkarekhiyn aekikhphasadtchekhiyndwyxksrlatinmatrthan 26 tw aetmithwixksr ij thithuxwaepntwxksrtwhnungtwphimphelk a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y ij ztwphimphihy A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y IJ Zsrainphasadtchmi 5 tw khux a e i o u sungthahakphicarnarwmtwxksr ij sungepnidthngphyychnaaelasra dwyaelw camisrarwmepn 6 twtwxksr Q caphbinkhathiyummacakphasatangpraethsethann aelaechnkn xksr X aela Y swnmakcaichinkhathiyumma aetkmibangthiichinchuxhruxkhaeka echn hypnose aeplwa hypnosis inphasaxngkvs twxksr E epntwxksrthiichmakthisudinphasadtch odyechphaahnathiepnsra swntwxksrthiichnxythisud idaek twxksr Q X aela Y IJ aekikh karekhiyn ij tidknmilksnakhlay y xksr ij ɛi aexy epntwthikhxnkhangcaepnpyha orngeriynprathmhlayaehngsxnihnkeriynthxng x ij z aethnthicaepn x y z aelaeriykxksr y wa Griekse y hmaythung y krik xksr ij imichepnkarna i aela j marwmkn xyangirktaminphcnanukrmcaphbtwxksr ij xyurahwang ih kb ik swninsmudothrsphthcaphbwaxksr ij caxyuaethnthitwxksr y ely ephraawanamskulhlaychuximmimatrthaninkarsakd echn Bruijn xacsakdidepn Bruyn inkarkhuntnpraoykhthimi IJ epntwxksrtwaerk echn ijs naaekhng ihekhiyntw i aela j epntwphimphihythngsxng khux IJs ephraathuxwa ij khuxxksrtwhnung xyangirktaminphasathinbangaehngphicarna ij epnsraprasmesiyngediyw tw i kb j khwbkn thaihemuxkhuntnpraoykhcaekhiyn Ijs aethn IJsxksr ij inkarekhiyndwylaymuxcapraktkhlayxksr y swnyuniokhdmithwixksraebbtwediywkhux IJ U 0132 aela ij U 0133 xangxing aekikh Dutch Oxford English Dictionary Online Oxford University Press 2019 subkhnemux 2019 08 09 2 0 2 1 Mees Inger Collins Beverley 1982 A phonetic description of the consonant system of Standard Dutch ABN Journal of the International Phonetic Association 12 1 2 12 doi 10 1017 S0025100300002358 3 0 3 1 3 2 3 3 3 4 Booij Geert 1995 The Phonology of Dutch Oxford University Press ISBN 978 0 19 823869 0 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasadtch amp oldid 8997226, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม