fbpx
วิกิพีเดีย

รายการการคว่ำบาตรกีฬาโอลิมปิก

การคว่ำบาตรในกีฬาโอลิมปิก เป็นการแสดงออกทางการเมืองของคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ เพื่อประท้วงหรือต่อต้านประเทศเจ้าภาพหรือประเทศสมาชิกอื่น ๆ ด้วยการไม่เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกในครั้งนั้น ๆ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถือเป็นกิจกรรมที่มีการแข่งขันหลายกีฬาใหญ่ที่สุด มีการคว่ำบาตรอยู่ทั้งหมด 7 ครั้งของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน การคว่ำบาตรครั้งแรกเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และการคว่ำบาตรครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ประเทศโรดีเชียเป็นประเทศเดียวที่ไม่มีสิทธิ์ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน เกิดเหตุเมื่อการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติยกเลิกการให้ประเทศโรดีเชียเข้าร่วม เนื่องจากบางประเทศในกลุ่มแอฟริกันประท้วง

รายการการคว่ำบาตรทั้งหมด

การแข่งขัน ปี ประเทศเจ้าภาพ เมืองเจ้าภาพ ประเทศที่คว่ำบาตร (พร้อมแผนที่)
ฤดูร้อน 1936 1936   ไรช์เยอรมัน เบอร์ลิน  
  1.   สเปน
  2.   สหภาพโซเวียต
ฤดูร้อน 1956 1956   ออสเตรเลีย เมลเบิร์น  
  1.   อียิปต์
  2.   อิรัก
  3.   เลบานอน
  4.   เนเธอร์แลนด์
  5.   กัมพูชา
  6.   สเปน
  7.   สวิตเซอร์แลนด์
  8.   จีน
ฤดูร้อน 1964 1964   ญี่ปุ่น โตเกียว  
  1.   เกาหลีเหนือ
  2.   อินโดนีเซีย
  3.   จีน
ฤดูร้อน 1976 1976   แคนาดา มอนทรีออล  
  1.   แอลจีเรีย
  2.   เบนิน
  3.   พม่า
  4.   แคเมอรูน
  5.   สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
  6.   ชาด
  7.   สาธารณรัฐคองโก
  8.   อียิปต์
  9.   เอธิโอเปีย
  10.   กาบอง
  11.   แกมเบีย
  12.   กานา
  13.   กายอานา
  14.   อิรัก
  15.   เคนยา
  16.   ลิเบีย
  17.   เลโซโท
  18.   มาดากัสการ์
  19.   มาลาวี
  20.   มาลี
  21.   โมร็อกโก
  22.   ไนเจอร์
  23.   ไนจีเรีย
  24.   สาธารณรัฐจีน
  25.   โซมาเลีย
  26.   ศรีลังกา
  27.   ซูดาน
  28.   เอสวาตินี
  29.   แทนซาเนีย
  30.   โตโก
  31.   ตูนิเซีย
  32.   ยูกันดา
  33.   อัปเปอร์วอลตา
  34.   แซมเบีย
ฤดูร้อน 1980 1980   สหภาพโซเวียต มอสโก  
  1.   แอลเบเนีย
  2.   แอนทีกาและบาร์บิวดา
  3.   อาร์เจนตินา
  4.   บาฮามาส
  5.   บาห์เรน
  6.   บังกลาเทศ
  7.   บาร์เบโดส
  8.   เบลีซ
  9.   เบอร์มิวดา
  10.   โบลิเวีย
  11.   แคนาดา
  12.   หมู่เกาะเคย์แมน
  13.   สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
  14.   ชาด
  15.   ชิลี
  16.   จีน
  17.   อียิปต์
  18.   เอลซัลวาดอร์
  19.   ฟีจี
  20.   กาบอง
  21.   แกมเบีย
  22.   กานา
  23.   เฮติ
  24.   ฮอนดูรัส
  25.   ฮ่องกง
  26.   อินโดนีเซีย
  27.   อิหร่าน
  28.   อิสราเอล
  29.   โกตดิวัวร์
  30.   ญี่ปุ่น
  31.   เคนยา
  32.   เกาหลีใต้
  33.   ไลบีเรีย
  34.   ลิกเตนสไตน์
  35.   มาลาวี
  36.   มาเลเซีย
  37.   มอริเตเนีย
  38.   โมนาโก
  39.   มอริเชียส
  40.   โมร็อกโก
  41.   เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส
  42.   ไนเจอร์
  43.   นอร์เวย์
  44.   ปากีสถาน
  45.   ปานามา
  46.   ปาปัวนิวกินี
  47.   ปารากวัย
  48.   ฟิลิปปินส์
  49.   กาตาร์
  50.   ซาอุดีอาระเบีย
  51.   สิงคโปร์
  52.   โซมาเลีย
  53.   ซูดาน
  54.   ซูรินาม
  55.   เอสวาตีนี
  56.   ไต้หวัน
  57.   ไทย
  58.   โตโก
  59.   ตูนิเซีย
  60.   ตุรกี
  61.   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  62.   สหรัฐ
  63.   อุรุกวัย
  64.   หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
  65.   เยอรมนีตะวันตก
  66.   ซาอีร์
ฤดูร้อน 1984 1984   สหรัฐ ลอสแอนเจลิส  
  1.   สหภาพโซเวียต
  2.   บัลแกเรีย
  3.   เยอรมนีตะวันออก
  4.   มองโกเลีย
  5.   เวียดนาม
  6.   ลาว
  7.   เชโกสโลวาเกีย
  8.   อัฟกานิสถาน
  9.   ฮังการี
  10.   โปแลนด์
  11.   คิวบา
  12.   เยเมนใต้
  13.   เกาหลีเหนือ
  14.   เอธิโอเปีย
  15.   แองโกลา
  16.   แอลเบเนีย
  17.   อิหร่าน
  18.   ลิเบีย
ฤดูร้อน 1988 1988   เกาหลีใต้ โซล  
  1.   เอธิโอเปีย
  2.   นิการากัว
  3.   มาดากัสการ์
  4.   คิวบา
  5.   แอลเบเนีย
  6.   เกาหลีเหนือ
  7.   เซเชลส์

รายการการคว่ำบาตรบางส่วน

การแข่งขัน ปี ประเทศเจ้าภาพ เมืองเจ้าภาพ ประเทศที่คว่ำบาตรบางส่วน
ฤดูหนาว 2022 2022   จีน ปักกิ่ง  
  1.   ลิทัวเนีย
  2.   สหรัฐ
  3.   ออสเตรเลีย
  4.   สหราชอาณาจักร
  5.   แคนาดา
  6.   คอซอวอ
  7.   เอสโตเนีย
  8.   เบลเยียม
  9.   เดนมาร์ก
  10.   จีนไทเป
  11.   อินเดีย

หมายเหตุ

  1. เนื่องจากสงครามภายในประเทศ
  2. สหภาพโซเวียตไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันจนถึงปี พ.ศ. 2495

อ้างอิง

  1. "Lithuania confirms diplomatic boycott of Beijing 2022 Winter Olympics". ANI News. 3 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  2. CNN, Allie Malloy and Kate Sullivan. "White House announces US diplomatic boycott of 2022 Winter Olympics in Beijing". CNN. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  3. "Australia joins diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics". ABC News (ภาษาอังกฤษ). 7 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  4. "UK 'effectively' plans a diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics, joining the United States, Australia and Lithuania". chicagotribune.com. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  5. Tasker, John Paul (8 December 2021). "Trudeau announces diplomatic boycott of Beijing Olympics". CBC/Radio-Canada. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  6. "Kosovo boycotts Beijing Winter Olympics". Alsat News. 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  7. "Which Countries Are Boycotting China's Winter Olympics? Full List". Newsweek. 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 18 December 2021.
  8. "Denmark to join diplomatic boycott of Beijing Olympics over human rights". Reuters. 14 January 2022. สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
  9. "Taiwan to boycott Beijing Winter Olympics: source". taipeitimes.com. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 26 January 2022.
  10. IndiaToday, Geeta Mohan 3rd Feb'22. "Indian diplomats to boycott Beijing Winter Olympics after China makes Galwan PLA soldier torchbearer". IndiaToday. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.

รายการการคว, ำบาตรก, ฬาโอล, มป, การคว, ำบาตรในก, ฬาโอล, มป, เป, นการแสดงออกทางการเม, องของคณะกรรมการโอล, มป, กแห, งชาต, ของประเทศต, าง, เพ, อประท, วงหร, อต, อต, านประเทศเจ, าภาพหร, อประเทศสมาช, กอ, วยการไม, เข, าร, วมการแข, งข, นโอล, มป, กในคร, งน, การแข, งข, . karkhwabatrinkilaoxlimpik epnkaraesdngxxkthangkaremuxngkhxngkhnakrrmkaroxlimpikaehngchatikhxngpraethstang ephuxprathwnghruxtxtanpraethsecaphaphhruxpraethssmachikxun dwykarimekharwmkaraekhngkhnoxlimpikinkhrngnn karaekhngkhnkilaoxlimpikthuxepnkickrrmthimikaraekhngkhnhlaykilaihythisud mikarkhwabatrxyuthnghmd 7 khrngkhxngkaraekhngkhnoxlimpikvdurxn karkhwabatrkhrngaerkekidkhuninkaraekhngkhnoxlimpikvdurxn 1936 aelakarkhwabatrkhrnglasudekidkhuninkaraekhngkhnoxlimpikvdurxn 1988 praethsordiechiyepnpraethsediywthiimmisiththiinkaraekhngkhnoxlimpikvdurxn ekidehtuemuxkaraekhngkhnoxlimpikvdurxn 1972 khnakrrmkaroxlimpikaehngchatiykelikkarihpraethsordiechiyekharwm enuxngcakbangpraethsinklumaexfriknprathwng enuxha 1 raykarkarkhwabatrthnghmd 2 raykarkarkhwabatrbangswn 3 hmayehtu 4 xangxingraykarkarkhwabatrthnghmd aekikhkaraekhngkhn pi praethsecaphaph emuxngecaphaph praethsthikhwabatr phrxmaephnthi vdurxn 1936 1936 ircheyxrmn ebxrlin sepn a shphaphosewiyt b vdurxn 1956 1956 xxsetreliy emlebirn xiyipt xirk elbanxn enethxraelnd kmphucha sepn switesxraelnd cinvdurxn 1964 1964 yipun otekiyw ekahliehnux xinodniesiy cinvdurxn 1976 1976 aekhnada mxnthrixxl aexlcieriy ebnin phma aekhemxrun satharnrthaexfrikaklang chad satharnrthkhxngok xiyipt exthioxepiy kabxng aekmebiy kana kayxana xirk ekhnya liebiy elosoth madakskar malawi mali omrxkok inecxr incieriy satharnrthcin osmaeliy srilngka sudan exswatini aethnsaeniy otok tuniesiy yuknda xpepxrwxlta aesmebiyvdurxn 1980 1980 shphaphosewiyt mxsok aexlebeniy aexnthikaaelabarbiwda xarecntina bahamas bahern bngklaeths barebods eblis ebxrmiwda obliewiy aekhnada hmuekaaekhyaemn satharnrthaexfrikaklang chad chili cin xiyipt exlslwadxr fici kabxng aekmebiy kana ehti hxndurs hxngkng xinodniesiy xihran xisraexl oktdiwwr yipun ekhnya ekahliit ilbieriy liketnsitn malawi maelesiy mxrieteniy omnaok mxriechiys omrxkok enethxraelndaexnthillis inecxr nxrewy pakisthan panama papwniwkini parakwy filippins katar saxudixaraebiy singkhopr osmaeliy sudan surinam exswatini ithwn ithy otok tuniesiy turki shrthxahrbexmierts shrth xurukwy hmuekaaewxrcinkhxngshrth eyxrmnitawntk saxirvdurxn 1984 1984 shrth lxsaexneclis shphaphosewiyt blaekeriy eyxrmnitawnxxk mxngokeliy ewiydnam law echoksolwaekiy xfkanisthan hngkari opaelnd khiwba eyemnit ekahliehnux exthioxepiy aexngokla aexlebeniy xihran liebiyvdurxn 1988 1988 ekahliit osl exthioxepiy nikarakw madakskar khiwba aexlebeniy ekahliehnux esechlsraykarkarkhwabatrbangswn aekikhkaraekhngkhn pi praethsecaphaph emuxngecaphaph praethsthikhwabatrbangswnvduhnaw 2022 2022 cin pkking lithweniy 1 shrth 2 xxsetreliy 3 shrachxanackr 4 aekhnada 5 khxsxwx 6 exsoteniy 7 ebleyiym 7 ednmark 8 cinithep 9 xinediy 10 hmayehtu aekikh enuxngcaksngkhramphayinpraeths shphaphosewiytimidekharwmkaraekhngkhncnthungpi ph s 2495xangxing aekikh Lithuania confirms diplomatic boycott of Beijing 2022 Winter Olympics ANI News 3 December 2021 subkhnemux 8 December 2021 CNN Allie Malloy and Kate Sullivan White House announces US diplomatic boycott of 2022 Winter Olympics in Beijing CNN subkhnemux 8 December 2021 Australia joins diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics ABC News phasaxngkvs 7 December 2021 subkhnemux 8 December 2021 UK effectively plans a diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics joining the United States Australia and Lithuania chicagotribune com subkhnemux 8 December 2021 Tasker John Paul 8 December 2021 Trudeau announces diplomatic boycott of Beijing Olympics CBC Radio Canada subkhnemux 8 December 2021 Kosovo boycotts Beijing Winter Olympics Alsat News 8 December 2021 subkhnemux 8 December 2021 7 0 7 1 Which Countries Are Boycotting China s Winter Olympics Full List Newsweek 8 December 2021 subkhnemux 18 December 2021 Denmark to join diplomatic boycott of Beijing Olympics over human rights Reuters 14 January 2022 subkhnemux 14 January 2022 Taiwan to boycott Beijing Winter Olympics source taipeitimes com 26 January 2022 subkhnemux 26 January 2022 IndiaToday Geeta Mohan 3rd Feb 22 Indian diplomats to boycott Beijing Winter Olympics after China makes Galwan PLA soldier torchbearer IndiaToday subkhnemux 3 February 2022 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title raykarkarkhwabatrkilaoxlimpik amp oldid 9964337, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม