fbpx
วิกิพีเดีย

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (อังกฤษ: Upsilon Andromedae b; υ Andromedae b / υ And b / υ Andromedae Ab / υ And Ab ) หรืออิปไซลอนแอนดรอมิดา เอบี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวอิปไซลอนแอนดรอมิดา เอในระยะทางที่ใกล้ที่สุด ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกประกาศการค้นพบพร้อมกันกับ 55 ปู บี และ เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี เมื่อเดือนมิถุนายน ปีพ.ศ. 2539 อิปไซลอนแอนดรอมิดา บีก็เป็นดาวพฤหัสร้อนดวงแรกๆที่ถูกพบ อิปไซลอนแอนดรอมิดา บีเป็นดาวเคราะห์ที่มีมวลสูง จึงน่าจะเป็นดาวแก๊สยักษ์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ได้ค้นพบว่าดาวเคราะห์ดวงนี้มีอุณหภูมิประมาณ -20℃ ถึง 230℃ ในด้านที่ไม่ได้หันหน้าเข้าดาวเอกของมันและ 1,400℃ ถึง 1,650℃ ในด้านที่หันหน้าเข้าดาวเอกของมัน ซึ่งคล้ายกับดาวพุธ และด้านหลังของดาวเคราะห์ดวงนี้ สามารถเห็นสีแดงท่วมเต็มไปหมด คงมีจุดๆเดียวบริเวณขั้วดาวเคราะห์ที่เห็นเป็นรอยด่างเพราะเป็นจุดไกลที่สุด

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี
ดาวเคราะห์นอกระบบ รายชื่อ

ภาพในจินตนาการของอิปไซลอนแอนดรอมิดา บี
ดาวฤกษ์แม่
ดาวฤกษ์ อิปไซลอนแอนดรอมิดา เอ
กลุ่มดาว กลุ่มดาวแอนดรอมิดา
ไรต์แอสเซนชัน (α) 01h 36m 47.8s
เดคลิเนชัน (δ) +41° 24′ 20″
ความส่องสว่างปรากฏ (mV) 4.09
ระยะห่าง44.0 ± 0.1 ly
(13.49 ± 0.03 pc)
ชนิดสเปกตรัม F8V
มวล (m) 1.28 M
รัศมี (r) 1.480 ± 0.087 R
อุณหภูมิ (T) 6074 ± 13.1 K
ความเป็นโลหะ [Fe/H] 0
อายุ 3.3 พันล้านปี
องค์ประกอบวงโคจร
กึ่งแกนเอก(a) 0.0595 ± 0.0034 AU
    ~4.41 mas
จุดใกล้ที่สุดจากดาวฤกษ์แม่ (q) 0.0549 ± 0.0046 AU
จุดไกลที่สุดจากดาวฤกษ์แม่ (Q) 0.0609 ± 0.0046 AU
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) 0.023 ± 0.018
คาบโคจร(P)4.617113 ± 0.000082 d
(0.01264 y)
ความเอียง (i) ~25°
ระยะมุมจุดใกล้ศูนย์กลางที่สุด (ω) 63.4°
เวลาที่เข้าใกล้ดาวฤกษ์แม่ที่สุด (T0) 2,451,802.64 ± 0.71 JD
ครึ่งแอมพลิจูด (K) 69.8 ± 1.5 m/s
ลักษณะทางกายภาพ
มวล(m)1.4 MJ
ข้อมูลการค้นพบ
ค้นพบเมื่อ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2539
ค้นพบโดย จอฟฟรีย์ มาร์ซี
วิธีตรวจจับ ความเร็วแนวเล็ง
สถานที่ที่ค้นพบ สถานที่หาดาวเคราะห์นอกระบบแคลิฟอร์เนีย
 สหรัฐ
สถานะการค้นพบ ยืนยันแล้ว
ชื่ออื่น
50 แอนโดรเมดา บี, อิปไซลอนแอนดรอมิดา เอบี

สีดาวเคราะห์

สีของดาวเคราะห์น่าจะอยู่ในสีโทนร้อน เช่นสีแดง สีส้ม สีเหลือง ฯลฯ เพราะโคจรอยู่ใกล้ดาวเอกของมันมาก

จุดร้อนประหลาด

 
ภาพในจินตนาการของอิปไซลอนแอนดรอมิดา บี กับจุดร้อนของมัน (โทนสีส้ม)

นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบจุดร้อนประหลาดบนดาวเคราะห์ดวงนี้ แล้วก็ยังตั้งข้อเสนอว่ามี่จุดร้อนที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของดาวเอกของมันบนดาวเคราะห์ดวงนี้ด้วย

การมีดาวบริวาร

นักวิจัยหลายคนคาดว่าด้านที่ถูกแสงแดดของดาวเคราะห์ดังกล่าวอาจหันเข้าหาดวงฤกษ์ของมันตลอดเวลาด้วยแรงไทดัล เหมือนกับกรณีที่ดวงจันทร์หันด้านเดิมเข้าหาโลกเสมอซึ่งเกิดจากเวลาที่ใช้หมุนรอบตัวเองเท่ากับเวลาที่ดวงจันทร์ใช้โคจรรอบโลก จึงไม่น่าสามารถที่จะมีดาวบริวารได้ แต่ ณ ตอนนี้ คงไม่อาจพิสูจน์ได้จากเทคโนโลยีสมัยนี้

อ้างอิง

  1. McArthur; และคณะ (2010). "New Observational Constraints on the υ Andromedae System with Data from the Hubble Space Telescope and Hobby Eberly Telescope" (PDF). Bibcode:2010ApJ...715.1203M. doi:10.1088/0004-637X/715/2/1203. Explicit use of et al. in: |author= (help); Cite journal requires |journal= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • "A Triple-Planet System Orbiting Ups Andromedae". San Francisco State University. Lick Observatory. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • "Mystery Solved: How The Orbits Of Extrasolar Planets Became So Eccentric". SpaceDaily. 2005-04-14. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • "NASA's Spitzer Sees Day and Night on Exotic World". NASA. Spitzer Space Telescope. 2006-10-12. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-22. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • "Upsilon Andromedae". The Internet Encyclopedia of Science. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • . The Planet Project. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-05-18. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • "Upsilon Andromedae 2". SolStation. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • . Extrasolar Visions. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-11-11. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  • "The Upsilon Andromedae Planetary System". Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.

พิกัด:   01h 36m 47.8s, +41° 24′ 20″

ปไซลอนแอนดรอม, ดา, ดาวเคราะห, ปไซลอนแอนดรอม, ดา, งกฤษ, upsilon, andromedae, andromedae, andromedae, หร, ออ, ปไซลอนแอนดรอม, ดา, เอบ, เป, นดาวเคราะห, นอกระบบท, โคจรรอบดาวอ, ปไซลอนแอนดรอม, ดา, เอในระยะทางท, ใกล, ดาวเคราะห, ดวงน, กประกาศการค, นพบพร, อมก, นก, และ, . xipislxnaexndrxmida bi xngkvs Upsilon Andromedae b y Andromedae b y And b y Andromedae Ab y And Ab hruxxipislxnaexndrxmida exbi epndawekhraahnxkrabbthiokhcrrxbdawxipislxnaexndrxmida exinrayathangthiiklthisud dawekhraahdwngnithukprakaskarkhnphbphrxmknkb 55 pu bi aela etha khneliyngstw bi emuxeduxnmithunayn piph s 2539 xipislxnaexndrxmida bikepndawphvhsrxndwngaerkthithukphb xipislxnaexndrxmida biepndawekhraahthimimwlsung cungnacaepndawaeksyks klxngothrthrrsnxwkasspitesxridkhnphbwadawekhraahdwngnimixunhphumipraman 20 thung 230 indanthiimidhnhnaekhadawexkkhxngmnaela 1 400 thung 1 650 indanthihnhnaekhadawexkkhxngmn sungkhlaykbdawphuth aeladanhlngkhxngdawekhraahdwngni samarthehnsiaedngthwmetmiphmd khngmicudediywbriewnkhwdawekhraahthiehnepnrxydangephraaepncudiklthisudxipislxnaexndrxmida bi dawekhraahnxkrabb raychuxphaphincintnakarkhxngxipislxnaexndrxmida bidawvksaemdawvks xipislxnaexndrxmida exklumdaw klumdawaexndrxmidairtaexsesnchn a 01h 36m 47 8sedkhlienchn d 41 24 20 khwamsxngswangprakt mV 4 09rayahang44 0 0 1 ly 13 49 0 03 pc chnidsepktrm F8Vmwl m 1 28 M rsmi r 1 480 0 087 R xunhphumi T 6074 13 1 Kkhwamepnolha Fe H 0xayu 3 3 phnlanpixngkhprakxbwngokhcrkungaeknexk a 0 0595 0 0034 AU 4 41 mascudiklthisudcakdawvksaem q 0 0549 0 0046 AUcudiklthisudcakdawvksaem Q 0 0609 0 0046 AUkhwameyuxngsunyklang e 0 023 0 018khabokhcr P 4 617113 0 000082 d 0 01264 y khwamexiyng i 25 1 rayamumcudiklsunyklangthisud w 63 4 ewlathiekhaikldawvksaemthisud T0 2 451 802 64 0 71 JDkhrungaexmphlicud K 69 8 1 5 m slksnathangkayphaphmwl m 1 4 1 MJkhxmulkarkhnphbkhnphbemux 23 mithunayn ph s 2539khnphbody cxffriy marsiwithitrwccb khwamerwaenwelngsthanthithikhnphb sthanthihadawekhraahnxkrabbaekhlifxreniy shrthsthanakarkhnphb yunynaelwchuxxun50 aexnodremda bi xipislxnaexndrxmida exbi enuxha 1 sidawekhraah 2 cudrxnprahlad 3 karmidawbriwar 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunsidawekhraah aekikhsikhxngdawekhraahnacaxyuinsiothnrxn echnsiaedng sism siehluxng l ephraaokhcrxyuikldawexkkhxngmnmakcudrxnprahlad aekikh phaphincintnakarkhxngxipislxnaexndrxmida bi kbcudrxnkhxngmn othnsism nkdarasastridkhnphbcudrxnprahladbndawekhraahdwngni aelwkyngtngkhxesnxwamicudrxnthiekidkhuncakphlkrathbkhxngdawexkkhxngmnbndawekhraahdwngnidwykarmidawbriwar aekikhnkwicyhlaykhnkhadwadanthithukaesngaeddkhxngdawekhraahdngklawxachnekhahadwngvkskhxngmntlxdewladwyaerngithdl ehmuxnkbkrnithidwngcnthrhndanedimekhahaolkesmxsungekidcakewlathiichhmunrxbtwexngethakbewlathidwngcnthrichokhcrrxbolk cungimnasamarththicamidawbriwarid aet n txnni khngimxacphisucnidcakethkhonolyismynixangxing aekikh 1 0 1 1 McArthur aelakhna 2010 New Observational Constraints on the y Andromedae System with Data from the Hubble Space Telescope and Hobby Eberly Telescope PDF Bibcode 2010ApJ 715 1203M doi 10 1088 0004 637X 715 2 1203 Explicit use of et al in author help Cite journal requires journal help aehlngkhxmulxun aekikh A Triple Planet System Orbiting Ups Andromedae San Francisco State University Lick Observatory subkhnemux 2008 06 23 Mystery Solved How The Orbits Of Extrasolar Planets Became So Eccentric SpaceDaily 2005 04 14 subkhnemux 2008 06 23 NASA s Spitzer Sees Day and Night on Exotic World NASA Spitzer Space Telescope 2006 10 12 ekb cakaehlngedimemux 2007 10 22 subkhnemux 2008 06 23 Upsilon Andromedae The Internet Encyclopedia of Science subkhnemux 2008 06 23 Upsilon Andromedae The Planet Project khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 05 18 subkhnemux 2008 06 23 Upsilon Andromedae 2 SolStation subkhnemux 2008 06 23 Upsilon Andromedae b Extrasolar Visions khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 11 11 subkhnemux 2008 06 23 The Upsilon Andromedae Planetary System Harvard Smithsonian Center for Astrophysics subkhnemux 2008 06 23 phikd 01h 36m 47 8s 41 24 20 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xipislxnaexndrxmida bi dawekhraah amp oldid 9546635, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม