fbpx
วิกิพีเดีย

เครื่องวัดแดด

เครื่องวัดแดด หรือ เซกซ์แทนต์ (อังกฤษ: sextant) คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับการวัดมุมสัมพันธ์ระหว่างวัตถุสองสิ่งที่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาในการเดินเรือดาราศาสตร์ วัตถุประสงค์หลักคือการใช้วัดมุมระหว่างวัตถุบนท้องฟ้า (ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หรือ ดวงดาวต่าง ๆ) กับเส้นขอบฟ้า แล้วนำค่าความสูงที่ได้มาคำนวณหาละติจูด เพื่อบอกตำแหน่งของเรือในเวลาที่ทำการสังเกต มีการใช้ครั้งแรกในช่วงปี ค.ศ. 1730 โดยนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ จอห์น แฮดลีย์ (ค.ศ. 1682 - 1744) และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน โทมัส กอดฟรีย์ (ค.ศ. 1704 - 1749) นอกจากนี้ได้มีการค้นพบในภายหลังจากงานเขียนที่ไม่ได้ตีพิมพ์ของนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยาชาวอังกฤษ เซอร์ไอแซก นิวตัน (ค.ศ. 1643 - 1727)

ภาพการถือและใช้เครื่องวัดแดด

ลักษณะ

 
เครื่องวัดแดดทะเล

เครื่องวัดแดดมีส่วนประกอบที่เป็นส่วนโค้งที่เรียกว่า อาร์ก ซึ่งมีขนาดประมาณหนึ่งในหกของวงกลม (60 องศา) ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ เซกซ์แทนต์ (sextant; มีที่มาจากภาษาละติน sextāns มีความหมายว่าหนึ่งส่วนหก) ส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องวัดแดดมีดังนี้

  • ลำกล้อง (Telescope) ใช้ในการมองวัตถุและเส้นขอบฟ้า
  • ฉาก (Horizontal Glass) ใช้ในการมองดูเส้นขอบฟ้าผ่านทางกระจกใส ไม่เคลื่อนที่
  • กระจกดัชนี (Index Glass) คือกระจกที่ติดอยู่บนแขนดัชนี มีหน้าที่สะท้อนภาพวัตถุให้ไปปรากฏภาพบนฉาก
  • แขนดัชนี (Index Arm) ใช้ในการปรับเลื่อนเพื่อให้ภาพของวัตถุปรากฏบนฉาก
  • เกลียวไมโครมิเตอร์ (Micrometer Drum) มีลักษณะเป็นเกลียววงกลมใช้ในการหมุนเพื่อปรับค่ามุมสัมพันธ์ที่ได้ให้มีความแม่นยำเพิ่มมากขึ้น
  • อาร์ก (Arc) ส่วนโค้งความยาวประมาณ 60 องศา มีเลขแสงค่าความสูง (มุม) ของวัตถุที่สังเกต

ประโยชน์ในการใช้งาน

เครื่องวัดแดดสามารถใช้วัดมุมสัมพันธ์ระหว่างวัตถุบนท้องฟ้ากับเส้นขอบฟ้า ในการใช้งานเวลากลางวันตัวเครื่องวัดแดดมีตัวกรองแสงเพื่อช่วยในการมองเห็นและความปลอดภัยในการวัดมุมระหว่างดวงอาทิตย์และเส้นขอบฟ้า ในช่วงสนธยาทั้งก่อนที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นและหลังจากดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว สามารถใช้ในการวัดดาวได้โดยตรง เนื่องจากเป็นการวัดมุมแบบสัมพันธ์ ถึงแม้จะอยู่ในสถานที่ที่ไม่มีความเสถียร ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้สังเกตอยู่บนเรือที่ไม่อยู่นิ่งในทะเล เครื่องวัดแดดก็ยังสามารถใช้วัดมุมวัตถุได้อย่างแม่นยำ โดยที่ภาพของวัตถุและเส้นขอบฟ้าจะถูกทำให้เคลื่อนตัวบนขอบเขตการมองเห็นของผู้สังเกต อย่างไรก็ตาม ความแม่นยำของค่าของมุมสัมพันธ์ขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการอ่านค่าของผู้สังเกตเมื่อภาพวัตถุที่สังเกตสัมผัสเส้นขอบฟ้าและเครื่องวัดแดดได้รับการแก้ไขค่าความผิดพลาดแล้ว เครื่องวัดแดดไม่จำเป็นต้องอาศัยไฟฟ้าในการทำงาน แตกต่างจากเครื่องมือสมัยใหม่ที่ช่วยในการเดินเรือ เช่น จีพีเอส ด้วยด้วยเหตุนี้เครื่องวัดแดดจึงเป็นอุปกรณ์สำรองที่ช่วยในการเดินเรือได้เป็นอย่างดี

หลักการทำงาน

 
ภาพแสดงหลักการทำงานของเครื่องวัดแดด

หลักการทำงานพื้นฐานของเครื่องวัดแดดคือการสะท้อนแสงซึ่งในที่นี้คือภาพของวัตถุ ให้ไปปรากฏบนฉาก (Horizontal Glass) เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบหาค่ามุมสัมพันธ์ โดยเมื่อใช้สายตามองภาพผ่านกล้องโทรทัศน์ ภาพของเส้นขอบฟ้าจะมองเห็นผ่านฉาก การปรับเลื่อนแขนดัชนี (ซึ่งมีกระจกดัชนีที่ทำหน้าที่สะท้อนภาพวัตถุให้ไปปรากฏบนฉาก) จะแสดงค่าความสูงหรือค่ามุมสัมพันธ์ระหว่างวัตถุและเส้นขอบฟ้า

อ้างอิง

  1. Institute and Museum of the History of Science, Florence, Italy: Picture of Hadley's octant [1]
  2. Franklin, Benjamin (1996). The Autobiography of Benjamin Franklin. Mineola: Dover. ISBN 978-0-486-29073-7.
  3. Seddon, J. Carl (June 1968). "Line of Position from a Horizontal Angle". Journal of Navigation. 21 (03): 367–369. doi:10.1017/S0373463300024838. ISSN 1469-7785.

เคร, องว, ดแดด, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, หร, เซกซ, แทนต, งกฤษ, sextant, เคร, องม, อท, ใช, สำหร, บการว, ดม, มส, มพ, . lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudekhruxngwdaedd hrux esksaethnt xngkvs sextant khux ekhruxngmuxthiichsahrbkarwdmumsmphnthrahwangwtthusxngsingthisamarthmxngehniddwysaytainkaredineruxdarasastr wtthuprasngkhhlkkhuxkarichwdmumrahwangwtthubnthxngfa dwngxathity dwngcnthr hrux dwngdawtang kbesnkhxbfa aelwnakhakhwamsungthiidmakhanwnhalaticud ephuxbxktaaehnngkhxngeruxinewlathithakarsngekt mikarichkhrngaerkinchwngpi kh s 1730 odynkkhnitsastrchawxngkvs cxhn aehdliy kh s 1682 1744 1 aelankpradisthchawxemrikn othms kxdfriy kh s 1704 1749 2 nxkcakniidmikarkhnphbinphayhlngcaknganekhiynthiimidtiphimphkhxngnkfisiks nkkhnitsastr nkdarasastr nkprchya nkelnaeraeprthatu aelankethwwithyachawxngkvs esxrixaesk niwtn kh s 1643 1727 phaphkarthuxaelaichekhruxngwdaedd enuxha 1 lksna 2 praoychninkarichngan 3 hlkkarthangan 4 xangxinglksna aekikh ekhruxngwdaeddthael ekhruxngwdaeddmiswnprakxbthiepnswnokhngthieriykwa xark sungmikhnadpramanhnunginhkkhxngwngklm 60 xngsa dwyehtunicungmichuxeriykinphasaxngkvs esksaethnt sextant mithimacakphasalatin sextans mikhwamhmaywahnungswnhk swnprakxbthisakhykhxngekhruxngwdaeddmidngni laklxng Telescope ichinkarmxngwtthuaelaesnkhxbfa chak Horizontal Glass ichinkarmxngduesnkhxbfaphanthangkrackis imekhluxnthi krackdchni Index Glass khuxkrackthitidxyubnaekhndchni mihnathisathxnphaphwtthuihippraktphaphbnchak aekhndchni Index Arm ichinkarprbeluxnephuxihphaphkhxngwtthupraktbnchak ekliywimokhrmietxr Micrometer Drum milksnaepnekliywwngklmichinkarhmunephuxprbkhamumsmphnththiidihmikhwamaemnyaephimmakkhun xark Arc swnokhngkhwamyawpraman 60 xngsa mielkhaesngkhakhwamsung mum khxngwtthuthisngektpraoychninkarichngan aekikhekhruxngwdaeddsamarthichwdmumsmphnthrahwangwtthubnthxngfakbesnkhxbfa inkarichnganewlaklangwntwekhruxngwdaeddmitwkrxngaesngephuxchwyinkarmxngehnaelakhwamplxdphyinkarwdmumrahwangdwngxathityaelaesnkhxbfa inchwngsnthyathngkxnthidwngxathitycakhunaelahlngcakdwngxathitylbkhxbfaipaelw samarthichinkarwddawidodytrng enuxngcakepnkarwdmumaebbsmphnth thungaemcaxyuinsthanthithiimmikhwamesthiyr twxyangechn emuxphusngektxyubneruxthiimxyuninginthael ekhruxngwdaeddkyngsamarthichwdmumwtthuidxyangaemnya odythiphaphkhxngwtthuaelaesnkhxbfacathukthaihekhluxntwbnkhxbekhtkarmxngehnkhxngphusngekt xyangirktam khwamaemnyakhxngkhakhxngmumsmphnthkhunxyukbkhwamthuktxnginkarxankhakhxngphusngektemuxphaphwtthuthisngektsmphsesnkhxbfaaelaekhruxngwdaeddidrbkaraekikhkhakhwamphidphladaelw ekhruxngwdaeddimcaepntxngxasyiffainkarthangan aetktangcakekhruxngmuxsmyihmthichwyinkaredinerux echn ciphiexs dwydwyehtuniekhruxngwdaeddcungepnxupkrnsarxngthichwyinkaredineruxidepnxyangdihlkkarthangan aekikh phaphaesdnghlkkarthangankhxngekhruxngwdaedd hlkkarthanganphunthankhxngekhruxngwdaeddkhuxkarsathxnaesngsunginthinikhuxphaphkhxngwtthu ihippraktbnchak Horizontal Glass ephuxichinkarepriybethiybhakhamumsmphnth odyemuxichsaytamxngphaphphanklxngothrthsn phaphkhxngesnkhxbfacamxngehnphanchak karprbeluxnaekhndchni sungmikrackdchnithithahnathisathxnphaphwtthuihippraktbnchak caaesdngkhakhwamsunghruxkhamumsmphnthrahwangwtthuaelaesnkhxbfa 3 xangxing aekikh Institute and Museum of the History of Science Florence Italy Picture of Hadley s octant 1 Franklin Benjamin 1996 The Autobiography of Benjamin Franklin Mineola Dover ISBN 978 0 486 29073 7 Seddon J Carl June 1968 Line of Position from a Horizontal Angle Journal of Navigation 21 03 367 369 doi 10 1017 S0373463300024838 ISSN 1469 7785 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhruxngwdaedd amp oldid 6104184, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม