fbpx
วิกิพีเดีย

ไดคลอโรมีเทน

ไดคลอโรมีเทน หรือ เมทิลีนคลอไรด์ (อังกฤษ: Dichloromethane หรือ Methylene chloride) คือ สารประกอบชนิดหนึ่ง มีสูตรเป็น CH2Cl2 เป็นของเหลวไม่มีสี ระเหยได้ง่าย มีกลิ่นหอม มักใช้เป็นตัวทำละลาย เนื่องจากเป็นที่รู้กันว่าเป็นสารประกอบคลอโรคาร์บอนที่มีอันตรายน้อยที่สุดชนิดหนึ่ง

ไดคลอโรมีเทน
ชื่อตาม IUPAC Dichloromethane
ชื่ออื่น Methylene chloride, methylene dichloride, Solmethine, Narkotil, Solaesthin, Di-clo, Freon 30, R-30, DCM, UN 1593, MDC
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [75-09-2][CAS]
PubChem 6344
EC number 200-838-9
KEGG C02271
ChEBI 15767
RTECS number PA8050000
SMILES
InChI
คุณสมบัติ
สูตรเคมี CH2Cl2
มวลต่อหนึ่งโมล 84.93 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Colorless liquid
ความหนาแน่น 1.3266 g/cm³, liquid
จุดหลอมเหลว

-96.7 °C (175.7 K)

จุดเดือด

40 °C (312.8 K)

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 13 g/l at 20 °C
ความดันไอ 47 kPa at 20 °C
ความอันตราย
อันตรายหลัก Harmful (Xn), Carc. Cat. 2B
NFPA 704
1
2
0
 
R-phrases R40
S-phrases S23, S24/25, S36/37
จุดวาบไฟ None
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

การเตรียมไดคลอโรมีเทนสามารถทำได้เป็นครั้งแรกเมื่อปี 1840 โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อว่า อองรี วิกเตอร์ เรโญลต์ (Henri Victor Regnault) โดยแยกไดคลอโรมีเทนออกจากของผสมของคลอโรมีเทนกับคลอรีนระหว่างที่ถูกแสงอาทิตย์

ปฏิกิริยาและผลิตภัณฑ์

ในทางอุตสาหกรรม ไดคลอโรมีเทนถูกผลิตขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างเมทิลคลอไรด์ หรือมีเทน กับแก๊สคลอรีน ที่อุณหภูมิ 400-500 °C ที่อุณหภูมิในช่วงนี้ ทั้งมีเทนและเมทิลคลอไรด์จะผ่านปฏิกิริยาที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่มีคลอรีนขึ้น

CH4 + Cl2CH3Cl + HCl

CH3Cl + Cl2CH2Cl2 + HCl

CH2Cl2 + Cl2CHCl3 + HCl

CHCl3 + Cl2CCl4 + HCl

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการเหล่านี้ ได้แก่ เมทิลคลอไรด์ ไดคลอโรมีเทน คลอโรฟอร์ม และคาร์บอนเตตระคลอไรด์ สารประกอบเหล่านี้จะถูกแยกโดยการกลั่น

การนำไปใช้ประโยชน์

เนื่องจากไดคลอโรมีเทนระเหยได้ง่าย และสามารถละลายสารประกอบอินทรีย์ได้หลายชนิด จึงเป็นตัวทำละลายที่มีประโยชน์มากในหลาย ๆ กระบวนการทางเคมี โดยทั่วไปมักใช้สำหรับล้างสีออกจากภาพวาด ในทางอุตสาหกรรมอาหาร จะใช้ในการสกัดคาเฟอีนจากกาแฟ และใช้ผลิตสารปรุงแต่งกลิ่นหรือรส

สภาพความเป็นพิษ

แม้ว่าไดคลอโรมีเทนจะเป็นสารคลอโรไฮโดรคาร์บอนที่มีความเป็นพิษน้อยที่สุด แต่เนื่องจากมีสมบัติระเหยได้ง่าย จึงเกิดอันตรายจากการสูดดมได้ เมื่อร่างกายเผาผลาญไดคลอโรมีเทน จะได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ซึ่งเป็นแก๊สพิษ และเมื่อไดคลอโรมีเทนสัมผัสกับผิวหนัง จะทำละลายไขมันบางส่วนบนผิวหนัง ทำให้เกิดการระคายเคืองหรือแห้งแตก

ไดคลอโรมีเทนยังถือได้ว่าเป็นสารก่อมะเร็ง เนื่องจากผลการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่ามีส่วนทำให้เกิดมะเร็งที่ปอด ตับ และตับอ่อนในสัตว์ และยังมีส่วนทำให้เกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม และเป็นพิษต่อทารกหรือตัวอ่อนในครรภ์

ในหลาย ๆ ประเทศ ผลิตภัณฑ์ที่มีไดคลอโรมีเทนเป็นส่วนประกอบต้องมีข้อความเตือนถึงอันตรายต่อสุขภาพ

ไดคลอโรม, เทน, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, หร, เมท, นคลอไรด, งกฤษ. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir idkhlxormiethn hrux emthilinkhlxird xngkvs Dichloromethane hrux Methylene chloride khux sarprakxbchnidhnung misutrepn CH2Cl2 epnkhxngehlwimmisi raehyidngay miklinhxm mkichepntwthalalay enuxngcakepnthiruknwaepnsarprakxbkhlxorkharbxnthimixntraynxythisudchnidhnungidkhlxormiethnchuxtam IUPAC Dichloromethanechuxxun Methylene chloride methylene dichloride Solmethine Narkotil Solaesthin Di clo Freon 30 R 30 DCM UN 1593 MDCelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 75 09 2 CAS PubChem 6344EC number 200 838 9KEGG C02271ChEBI 15767RTECS number PA8050000SMILES C Cl ClInChI 1 CH2Cl2 c2 1 3 h1H2khunsmbtisutrekhmi CH2Cl2mwltxhnungoml 84 93 g mollksnathangkayphaph Colorless liquidkhwamhnaaenn 1 3266 g cm liquidcudhlxmehlw 96 7 C 175 7 K cudeduxd 40 C 312 8 K khwamsamarthlalayid in na 13 g l at 20 Ckhwamdnix 47 kPa at 20 Ckhwamxntrayxntrayhlk Harmful Xn Carc Cat 2BNFPA 704 1 2 0 R phrases R40S phrases S23 S24 25 S36 37cudwabif Nonehakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmikaretriymidkhlxormiethnsamarththaidepnkhrngaerkemuxpi 1840 odynkekhmichawfrngesschuxwa xxngri wiketxr eroylt Henri Victor Regnault odyaeykidkhlxormiethnxxkcakkhxngphsmkhxngkhlxormiethnkbkhlxrinrahwangthithukaesngxathityptikiriyaaelaphlitphnth aekikhinthangxutsahkrrm idkhlxormiethnthukphlitkhuncakptikiriyarahwangemthilkhlxird hruxmiethn kbaekskhlxrin thixunhphumi 400 500 C thixunhphumiinchwngni thngmiethnaelaemthilkhlxirdcaphanptikiriyathithaihekidphlitphnththimikhlxrinkhunCH4 Cl2 CH3Cl HClCH3Cl Cl2 CH2Cl2 HClCH2Cl2 Cl2 CHCl3 HClCHCl3 Cl2 CCl4 HClphlitphnththiidcakkrabwnkarehlani idaek emthilkhlxird idkhlxormiethn khlxorfxrm aelakharbxnettrakhlxird sarprakxbehlanicathukaeykodykarklnkarnaipichpraoychn aekikhenuxngcakidkhlxormiethnraehyidngay aelasamarthlalaysarprakxbxinthriyidhlaychnid cungepntwthalalaythimipraoychnmakinhlay krabwnkarthangekhmi odythwipmkichsahrblangsixxkcakphaphwad inthangxutsahkrrmxahar caichinkarskdkhaefxincakkaaef aelaichphlitsarprungaetngklinhruxrssphaphkhwamepnphis aekikhaemwaidkhlxormiethncaepnsarkhlxorihodrkharbxnthimikhwamepnphisnxythisud aetenuxngcakmismbtiraehyidngay cungekidxntraycakkarsuddmid emuxrangkayephaphlayidkhlxormiethn caidaekskharbxnmxnxkisdsungepnaeksphis aelaemuxidkhlxormiethnsmphskbphiwhnng cathalalayikhmnbangswnbnphiwhnng thaihekidkarrakhayekhuxnghruxaehngaetkidkhlxormiethnyngthuxidwaepnsarkxmaerng enuxngcakphlkarthdlxnginhxngptibtikarphbwamiswnthaihekidmaerngthipxd tb aelatbxxninstw aelayngmiswnthaihekidkhwamphidpktithangphnthukrrm aelaepnphistxtharkhruxtwxxninkhrrphinhlay praeths phlitphnththimiidkhlxormiethnepnswnprakxbtxngmikhxkhwametuxnthungxntraytxsukhphaph bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title idkhlxormiethn amp oldid 8561757, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม