fbpx
วิกิพีเดีย

กาเฟอีน

กาเฟอีน (ฝรั่งเศส: caféine) เป็นสารแซนทีนอัลคาลอยด์ ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารหลายชนิดได้แก่ เมล็ดกาแฟ, ชา, โคล่า กาเฟอีนถือว่าเป็นยากำจัดศัตรูพืชโดยธรรมชาติ เพราะมันออกฤทธิ์ทำให้อัมพาต และสามารถฆ่าแมลงบางชนิดได้ กาเฟอีนยังมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ร่างกายเกิดความตื่นตัวและลดความง่วงได้ เครื่องดื่มหลายชนิดมีกาเฟอีนเป็นส่วนผสม เช่นในกาแฟ น้ำชา น้ำอัดลม รวมทั้งเครื่องดื่มชูกำลัง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก

กาเฟอีน
ชื่อตาม IUPAC 1,3,7-trimethyl- 1H-purine- 2,6(3H,7H)-dione
ชื่ออื่น 1,3,7-trimethylxanthine, trimethylxanthine,
theine, methyltheobromine
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [58-08-2][CAS]
RTECS number EV6475000
SMILES
ChemSpider ID 2424
คุณสมบัติ
สูตรเคมี C8H10N4O2
มวลต่อหนึ่งโมล 194.191 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ Odorless, white needles or powder
ความหนาแน่น 1.23 g·cm−3, solid
จุดหลอมเหลว

227-228 °C (anhydrous) 234-235 °C (monohydrate)

จุดเดือด

178 °C (sublimes)

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 21.7 mg·mL−1 (25 °C)
180 mg·mL−1 (80 °C)
670 mg·mL−1 (100 °C)
pKa −0.13 – 1.22
Dipole moment 3.64 D (calculated)
ความอันตราย
MSDS External MSDS
อันตรายหลัก May be fatal if inhaled, swallowed
or absorbed through the skin.
NFPA 704
1
2
0
 
จุดวาบไฟ N/A
LD50 192 mg/kg (rat, oral)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

แหล่งของกาเฟอีน

เมล็ดกาแฟจัดเป็นพืชที่เป็นแหล่งของกาเฟอีนที่ใหญ่ที่สุด ปริมาณกาเฟอีนที่อยู่ในกาแฟจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสองประการ คือชนิดของเมล็ดกาแฟที่เป็นแหล่งผลิต และกรรมวิธีในการเตรียมกาแฟ เช่น เมล็ดกาแฟที่คั่วจนเป็นสีเข้มจะมีปริมาณกาเฟอีนน้อยกว่าเมล็ดที่คั่วไม่นาน เนื่องจากกาเฟอีนสามารถสลายตัวไปได้ระหว่างการคั่ว และกาแฟพันธุ์อาราบิกาจะมีปริมาณกาเฟอีนน้อยกว่ากาแฟพันธุ์โรบัสตา เป็นต้น โดยทั่วไปกาแฟเอสเปรสโซจากเมล็ดกาแฟพันธุ์อาราบิกาจะมีกาเฟอีนประมาณ 40 มิลลิกรัม นอกจากนี้ในเมล็ดกาแฟยังพบอนุพันธุ์ของกาเฟอีน คือธีโอฟิลลีน (Theophyllin) ในปริมาณเล็กน้อยอีกด้วย

ใบชายังเป็นแหล่งของกาเฟอีนที่สำคัญอีกแหล่งหนึ่ง พบว่าจะมีกาเฟอีนมากกว่ากาแฟในปริมาณเดียวกัน แต่วิธีชงดื่มของชานั้น ทำให้ปริมาณกาเฟอีนลดลงไปมาก แต่ชาจะมีปริมาณของธีโอฟิลลีนอยู่มาก และพบอนุพันธุ์อีกชนิดของกาเฟอีน คือธีโอโบรมีน (Theobromine) อยู่เล็กน้อยด้วย ชนิดของใบชาและกระบวนวิธีการเตรียมก็เป็นปัจจัยสำคัญของกาเฟอีนในน้ำชาเช่นเดียวกับในกาแฟ เช่นในชาดำและชาอูหลงจะมีกาเฟอีนมากกว่าในชาชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม สีของน้ำชาไม่ได้เป็นลักษณะบ่งชี้ถึงปริมาณกาเฟอีนในน้ำชา เช่นในชาเขียวญี่ปุ่นซึ่งจะมีปริมาณกาเฟอีนสูงกว่าชาดำบางชนิด

ช็อคโกแลตซึ่งผลิตมาจากเมล็ดโกโก้ก็เป็นแหล่งของกาเฟอีนเช่นเดียวกัน แต่ในปริมาณที่น้อยกว่าเมล็ดกาแฟและใบชา แต่เนื่องจากในเมล็ดโกโก้มีสารธีโอฟิลลีนและธีโอโบรมีนอยู่มาก จึงมีฤทธิ์อ่อนๆในการกระตุ้นประสาท อย่างไรก็ตาม ปริมาณของสารดังกล่าวนี้ก็ยังน้อยเกินไปที่จะให้เกิดผลกระตุ้นประสาทเช่นเดียวกับกาแฟในปริมาณที่เท่ากัน

น้ำอัดลมและเครื่องดื่มชูกำลังเป็นเครื่องดื่มที่พบกาเฟอีนได้มากเช่นเดียวกัน น้ำอัดลมทั่วไปจะมีกาเฟอีนประมาณ 10-50 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ขณะที่เครื่องดื่มชูกำลัง เช่นกระทิงแดง จะมีกาเฟอีนอยู่มากถึง 80 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค กาเฟอีนที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มเหล่านี้อาจมาจากพืชที่เป็นแหล่งผลิต แต่ส่วนใหญ่จะได้จากกาเฟอีนที่สกัดออกระหว่างการผลิตกาแฟพร่องกาเฟอีน (decaffeinated coffee)

สถานะทางเคมี

กาเฟอีน เป็นสารอัลคาลอยด์ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลเมทิลแซนทีน ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกันกับสารประกอบธีโอฟิลลีน และ ธีโอโบรมีน ในสถานะบริสุทธิ์ จะมีสีขาวเป็นผง และมีรสขมจัด สูตรทางเคมีคือ C8H10N4O2,

เมแทบอลิซึมและเภสัชวิทยา

กาเฟอีนจัดเป็นสารกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางและเมแทบอลิซึมหรือกลไกการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย เพื่อลดความง่วง ความเหนื่อยล้า และจะส่งผลกระตุ้นเส้นประสาท โดยมีการปล่อยโปแตสเซียมและแคลเซียม เข้าสู่เซลล์ประสาท เพิ่มการตื่นตัวของร่างกาย โดยในระบบประสาท กาเฟอีนจะไปกระตุ้นการทำงานในระดับสูงของสมอง เพื่อเพิ่มความกระปรี้กระเปร่า ทำให้กลไกการคิดรวดเร็วและมีสมาธิมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ร่างกายมีกระบวนการต่างๆในการแปรรูปกาเฟอีนที่ได้รับมาเป็นสารอนุพันธุ์ชนิดอื่นซึ่งมีฤทธิ์ต่างๆกัน ซึ่งกล่าวถึงในหัวข้อถัดไป

เมแทบอลิซึม

 
กาเฟอีนถูกแปรสภาพโดนเอนไซม์ในตับ ได้เป็นอนุพันธุ์ของกาเฟอีนสามชนิด คือ พาราแซนทีน (84%), ธีโอโบรมีน (12%), and ธีโอฟิลลีน (4%)

กาเฟอีนจะถูกดูดซึมที่กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กภายใน 45 นาทีหลังจากการบริโภค หลังจากนั้นจะถูกนำเข้ากระแสเลือดและลำเลียงไปทั่วร่างกาย ครึ่งชีวิตของกาเฟอีนในร่างกาย หรือเวลาที่ร่างกายใช้ในการกำจัดกาเฟอีนในปริมาณครึ่งหนึ่งของที่บริโภค จะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคลโดยมีปัจจัยต่างๆ เช่นอายุ ระดับการทำงานของตับ ภาวะตั้งครรภ์และการใช้ยาอื่นร่วมด้วย ในผู้ใหญ่ปกติจะมีครึ่งชีวิตของกาเฟอีนประมาณ 3-4 ชั่วโมง ในขณะที่หญิงที่ทานยาคุมกำเนิดและหญิงตั้งครรภ์อาจมีครึ่งชีวิตของกาเฟอีนประมาณ 5-10 ชั่วโมง และ 9-11 ชั่วโมง . ตามลำดับ ในผู้ป่วยโรคตับระยะรุนแรง อาจมีการสะสมของกาเฟอีนในร่างกายได้นานถึง 96 ชั่วโมง. สำหรับในทารกและเด็กจะมีครึ่งชีวิตของกาเฟอีนที่นานกว่าผู้ใหญ่ พบว่าในทารกแรกเกิดจะมีครึ่งชีวิตของกาเฟอีนประมาณ 30 ชั่วโมง กาเฟอีนจะถูกเปลี่ยนแปลงสภาพที่ตับ โดยอาศัยการทำงานของเอนไซม์ ไซโตโครม พี 450 ออกซิเดส (Cytochrome P450 oxidase) ซึ่งเอนไซม์นี้จะเปลี่ยนกาเฟอีนให้เป็นอนุพันธุ์สามชนิด คือ

อนุพันธุ์ทั้งสามชนิดนี้จะถูกแปรสภาพต่อไป และขับออกทางปัสสาวะในที่สุด

การออกฤทธิ์

เนื่องจากกาเฟอีนเป็นสารในกลุ่มแซนทีนแอลคาลอยด์ที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับแอดิโนซีน (Adenosine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทชนิดหนึ่งในสมอง โมเลกุลของกาเฟอีนจึงสามารถจับกับตัวรับแอดิโนซีน (adenosine receptor) ในสมองและยับยั้งการทำงานของแอดิโนซีนได้ ผลโดยรวมคือทำให้มีการเพิ่มการทำงานของสารสื่อประสาทโดปามีน (dopamine) ซึ่งทำให้สมองเกิดการตื่นตัว นอกจากนี้พบว่าอาจจะมีการเพิ่มปริมาณของซีโรโทนิน (serotonin) ซึ่งมีผลต่ออารมณ์ของผู้บริโภค ทำให้รู้สึกพึงพอใจและมีความสุขมากขึ้น อย่างไรก็ตาม กาเฟอีนมิได้ลดความต้องการนอนหลับของสมอง เพียงแต่ลดความรู้สึกเหนื่อยล้าลงเท่านั้น

อย่างไรก็ดี สมองจะมีการตอบสนองต่อกาเฟอีนโดยการเพิ่มปริมาณของตัวรับแอดิโนซีน ทำให้ฤทธิ์ของกาเฟอีนในการบริโภคครั้งต่อไปลดลง เราเรียกภาวะนี้ว่าภาวะทนต่อกาเฟอีน (caffeine tolerance) และทำให้ผู้บริโภคต้องการกาเฟอีนมากขึ้นเพื่อให้เกิดผลต่อร่างกาย ผลอีกประการที่เกิดจากการที่สมองเพิ่มปริมาณของตัวรับแอดิโนซีน นั่นคือทำให้ร่างกายไวต่อปริมาณแอดิโนซีนที่ผลิตตามปกติมากขึ้น เมื่อหยุดการบริโภคกาเฟอีนในทันที จะทำให้เกิดผลข้างเคียงคืออาการปวดศีรษะและรู้สึกคลื่นไส้อาเจียน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ร่างกายตอบสนองต่อแอดิโนซีนมากเกินไปนั่นเอง นอกจากนี้ ในผู้ที่หยุดบริโภคกาเฟอีนจะทำให้ปริมาณของโดปามีนและซีโรโทนินลดลงในทันที ส่งผลให้สูญเสียสมาธิและความตั้งใจ รวมทั้งอาจเกิดอาการซึมเศร้าอย่างอ่อนๆได้ อาการดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นประมาณ 12-24 ชั่วโมงหลังจากการหยุดบริโภคกาเฟอีน แต่จะหายไปได้เองภายใน 2-3 วัน อาการของการอดกาเฟอีนดังกล่าวสามารถบรรเทาได้โดยการใช้ยาแอสไพริน หรือการได้รับกาเฟอีนในปริมาณน้อย

ภาวะเสพติดกาเฟอีน และภาวะพิษกาเฟอีน

การบริโภคกาเฟอีนปริมาณมากเป็นเวลานาน อาจนำไปสู่ภาวะเสพติดกาเฟอีน (caffeinism) ซึ่งจะปรากฏอาการต่างๆทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย วิตกกังวล กล้ามเนื้อกระตุก นอนไม่หลับ ใจสั่น เป็นต้น นอกจากนี้การบริโภคกาเฟอีนเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กอักเสบ และโรคน้ำย่อยไหลย้อนกลับ (gastroesophageal reflux disease)

ในผู้ที่บริโภคกาเฟอีนปริมาณมากๆในเวลาเดียว (มากกว่า 400 มิลลิกรัม) อาจทำให้ระบบประสาทส่วนกลางถูกกระตุ้นมากเกินไป ภาวะนี้เรียกว่าภาวะพิษกาเฟอีน (caffeine intoxication) ซึ่งจะทำให้เกิดอาการกระสับกระส่าย นอนไม่หลับ ความคิดและการพูดสับสน หน้าแดง ปัสสาวะมากผิดปกติ ปวดท้อง หัวใจเต้นแรง ในกรณีที่ได้รับในปริมาณสูงมาก (150-200 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม) อาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ การรักษาผู้ที่เกิดภาวะพิษกาเฟอีนโดยทั่วไปจะเป็นการรักษาตามอาการที่เกิด แต่หากผู้ป่วยมีปริมาณกาเฟอีนในเลือดสูงมาก อาจต้องได้รับการล้างท้องหรือฟอกเลือด


อ้างอิง

  1. This is the pKa for protonated caffeine, given as a range of values included in Harry G. Brittain, Richard J. Prankerd (2007). Profiles of Drug Substances, Excipients and Related Methodology, volume 33: Critical Compilation of Pka Values for Pharmaceutical Substances. Academic Press. ISBN 012260833X.
  2. Peters JM (1967). . The Journal of Clinical Pharmacology and the Journal of New Drugs. 7 (3): 131–141. doi:10.1002/j.1552-4604.1967.tb00034.x. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 12 มกราคม 2012. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  3. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 113.
  4. Nehlig, A (1992 May-Aug). "Caffeine and the central nervous system: Mechanisms of action, biochemical, metabolic, and psychostimulant effects". Brain Res Brain Res Rev. 17 (2): 139–70. PMID 1356551. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Check date values in: |date= (help)
  5. Meyer, FP (1991). "Time course of inhibition of caffeine elimination in response to the oral depot contraceptive agent Deposiston. Hormonal contraceptives and caffeine elimination". Zentralbl Gynakol. 113 (6): 297–302. PMID 2058339. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  6. Ortweiler, W (1985). "Determination of caffeine and metamizole elimination in pregnancy and after delivery as an in vivo method for characterization of various cytochrome p-450 dependent biotransformation reactions". Biomed Biochim Acta. 44 (7–8): 1189–99. PMID 4084271. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  7. Bolton, Ph.D., Sanford (1981). "Caffeine: Psychological Effects, Use and Abuse" (PDF). Orthomolecular Psychiatry. 10 (3): 202–211. สืบค้นเมื่อ 2010-07-02. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  8. "Caffeine". The Pharmacogenetics and Pharmacogenomics Knowledge Base. สืบค้นเมื่อ 2006-08-14.
  9. Fisone G, G (2004 Apr). "Caffeine as a psychomotor stimulant: mechanism of action". Cell Mol Life Sci. 61 (7–8): 857–72. PMID 15095008. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Check date values in: |date= (help)[ลิงก์เสีย]
  10. Green, RM (Jan 1986). "Chronic caffeine ingestion sensitizes the A1 adenosine receptor-adenylate cyclase system in rat cerebral cortex". J Clin Invest. 77 (1): 222–227. PMID 3003150. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  11. Sawynok, J (Jan 1995). "Pharmacological rationale for the clinical use of caffeine". Drugs. 49 (1): 37–50. PMID 7705215. |access-date= requires |url= (help)
  12. "Caffeine-related disorders". Encyclopedia of Mental Disorders. สืบค้นเมื่อ 2006-08-14.
  13. "Gastroesophageal Reflux Disease (GERD)". Cedars-Sinai. สืบค้นเมื่อ 2006-08-14.
  14. Mrvos, RM (Dec 1989). "Massive caffeine ingestion resulting in death". Vet Hum Toxicol. 31 (6): 571–2. PMID 2617841. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ฉบับที่ 3
  • "กาแฟให้อะไรกับคุณบ้าง" นิตยสารใกล้หมอ ฉบับเดือน ม.ค.53 http://www.sistersandcompany.com

กาเฟอ, ฝร, งเศส, caféine, เป, นสารแซนท, นอ, ลคาลอยด, งสามารถพบได, ในอาหารหลายชน, ดได, แก, เมล, ดกาแฟ, ชา, โคล, อว, าเป, นยากำจ, ดศ, ตร, ชโดยธรรมชาต, เพราะม, นออกฤทธ, ทำให, มพาต, และสามารถฆ, าแมลงบางชน, ดได, งม, ฤทธ, กระต, นระบบประสาทส, วนกลาง, ทำให, างกายเก, ด. kaefxin 3 frngess cafeine epnsaraesnthinxlkhalxyd sungsamarthphbidinxaharhlaychnididaek emldkaaef cha okhla kaefxinthuxwaepnyakacdstruphuchodythrrmchati ephraamnxxkvththithaihxmphat aelasamarthkhaaemlngbangchnidid kaefxinyngmivththikratunrabbprasathswnklang thaihrangkayekidkhwamtuntwaelaldkhwamngwngid ekhruxngdumhlaychnidmikaefxinepnswnphsm echninkaaef nacha naxdlm rwmthngekhruxngdumchukalng dwyehtunicungthaihkaefxinepnsarkratunprasaththiidrbkhwamniymmakthisudinolkkaefxinchuxtam IUPAC 1 3 7 trimethyl 1H purine 2 6 3H 7H dionechuxxun 1 3 7 trimethylxanthine trimethylxanthine theine methyltheobromineelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 58 08 2 CAS RTECS number EV6475000SMILES C n 1cnc2N C C O N C C O c12ChemSpider ID 2424khunsmbtisutrekhmi C8H10N4O2mwltxhnungoml 194 191 g mol 1lksnathangkayphaph Odorless white needles or powderkhwamhnaaenn 1 23 g cm 3 solidcudhlxmehlw 227 228 C anhydrous 234 235 C monohydrate cudeduxd 178 C sublimes khwamsamarthlalayid in na 21 7 mg mL 1 25 C 180 mg mL 1 80 C 670 mg mL 1 100 C pKa 0 13 1 22 1 Dipole moment 3 64 D calculated khwamxntrayMSDS External MSDSxntrayhlk May be fatal if inhaled swallowedor absorbed through the skin NFPA 704 1 2 0 cudwabif N ALD50 192 mg kg rat oral 2 hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmi enuxha 1 aehlngkhxngkaefxin 2 sthanathangekhmi 3 emaethbxlisumaelaephschwithya 3 1 emaethbxlisum 3 2 karxxkvththi 4 phawaesphtidkaefxin aelaphawaphiskaefxin 5 xangxingaehlngkhxngkaefxin aekikhemldkaaefcdepnphuchthiepnaehlngkhxngkaefxinthiihythisud primankaefxinthixyuinkaaefcakhunxyukbpccyhlksxngprakar khuxchnidkhxngemldkaaefthiepnaehlngphlit aelakrrmwithiinkaretriymkaaef echn emldkaaefthikhwcnepnsiekhmcamiprimankaefxinnxykwaemldthikhwimnan enuxngcakkaefxinsamarthslaytwipidrahwangkarkhw aelakaaefphnthuxarabikacamiprimankaefxinnxykwakaaefphnthuorbsta epntn odythwipkaaefexseprsoscakemldkaaefphnthuxarabikacamikaefxinpraman 40 millikrm nxkcakniinemldkaaefyngphbxnuphnthukhxngkaefxin khuxthioxfillin Theophyllin inprimanelknxyxikdwyibchayngepnaehlngkhxngkaefxinthisakhyxikaehlnghnung phbwacamikaefxinmakkwakaaefinprimanediywkn aetwithichngdumkhxngchann thaihprimankaefxinldlngipmak aetchacamiprimankhxngthioxfillinxyumak aelaphbxnuphnthuxikchnidkhxngkaefxin khuxthioxobrmin Theobromine xyuelknxydwy chnidkhxngibchaaelakrabwnwithikaretriymkepnpccysakhykhxngkaefxininnachaechnediywkbinkaaef echninchadaaelachaxuhlngcamikaefxinmakkwainchachnidxun xyangirktam sikhxngnachaimidepnlksnabngchithungprimankaefxininnacha echninchaekhiywyipunsungcamiprimankaefxinsungkwachadabangchnidchxkhokaeltsungphlitmacakemldokokkepnaehlngkhxngkaefxinechnediywkn aetinprimanthinxykwaemldkaaefaelaibcha aetenuxngcakinemldokokmisarthioxfillinaelathioxobrminxyumak cungmivththixxninkarkratunprasath xyangirktam primankhxngsardngklawnikyngnxyekinipthicaihekidphlkratunprasathechnediywkbkaaefinprimanthiethaknnaxdlmaelaekhruxngdumchukalngepnekhruxngdumthiphbkaefxinidmakechnediywkn naxdlmthwipcamikaefxinpraman 10 50 millikrmtxhnunghnwybriophkh khnathiekhruxngdumchukalng echnkrathingaedng camikaefxinxyumakthung 80 millikrmtxhnunghnwybriophkh kaefxinthiphsmxyuinekhruxngdumehlanixacmacakphuchthiepnaehlngphlit aetswnihycaidcakkaefxinthiskdxxkrahwangkarphlitkaaefphrxngkaefxin decaffeinated coffee sthanathangekhmi aekikhkaefxin epnsarxlkhalxydsungcdxyuintrakulemthilaesnthin sungxyuintrakulediywknkbsarprakxbthioxfillin aela thioxobrmin insthanabrisuththi camisikhawepnphng aelamirskhmcd sutrthangekhmikhux C8H10N4O2 emaethbxlisumaelaephschwithya aekikhkaefxincdepnsarkratunrabbprasathswnklangaelaemaethbxlisumhruxklikkarephaphlaysarxaharinrangkay 4 ephuxldkhwamngwng khwamehnuxyla aelacasngphlkratunesnprasath odymikarplxyopaetsesiymaelaaekhlesiym ekhasuesllprasath ephimkartuntwkhxngrangkay odyinrabbprasath kaefxincaipkratunkarthanganinradbsungkhxngsmxng ephuxephimkhwamkraprikraepra thaihklikkarkhidrwderwaelamismathimakkhun xyangirktam rangkaymikrabwnkartanginkaraeprrupkaefxinthiidrbmaepnsarxnuphnthuchnidxunsungmivththitangkn sungklawthunginhwkhxthdip emaethbxlisum aekikh kaefxinthukaeprsphaphodnexnismintb idepnxnuphnthukhxngkaefxinsamchnid khux pharaaesnthin 84 thioxobrmin 12 and thioxfillin 4 kaefxincathukdudsumthikraephaaxaharaelalaiselkphayin 45 nathihlngcakkarbriophkh hlngcaknncathuknaekhakraaeseluxdaelalaeliyngipthwrangkay khrungchiwitkhxngkaefxininrangkay hruxewlathirangkayichinkarkacdkaefxininprimankhrunghnungkhxngthibriophkh caaetktangknipinaetlabukhkhlodymipccytang echnxayu radbkarthangankhxngtb phawatngkhrrphaelakarichyaxunrwmdwy inphuihypkticamikhrungchiwitkhxngkaefxinpraman 3 4 chwomng inkhnathihyingthithanyakhumkaenidaelahyingtngkhrrphxacmikhrungchiwitkhxngkaefxinpraman 5 10 chwomng 5 aela 9 11 chwomng 6 tamladb inphupwyorkhtbrayarunaerng xacmikarsasmkhxngkaefxininrangkayidnanthung 96 chwomng 7 sahrbintharkaelaedkcamikhrungchiwitkhxngkaefxinthinankwaphuihy phbwaintharkaerkekidcamikhrungchiwitkhxngkaefxinpraman 30 chwomng kaefxincathukepliynaeplngsphaphthitb odyxasykarthangankhxngexnism isotokhrm phi 450 xxksieds Cytochrome P450 oxidase sungexnismnicaepliynkaefxinihepnxnuphnthusamchnid 8 khux pharaaesnthin Paraxanthine miphlinkarslayikhmn ephimprimankhxngkliesxrxlaelakrdikhmninkraaeseluxd thioxobrmin Theobromine miphlinkarkhyayhlxdeluxd aelaephimprimankhxngpssawa thioxfillin Theophylline miphlthaihklamenuxeriybthixyulxmrxbhlxdlmpxdkhlaytw cungthaihhlxdlmkhyaytwmakkhunxnuphnthuthngsamchnidnicathukaeprsphaphtxip aelakhbxxkthangpssawainthisud karxxkvththi aekikh enuxngcakkaefxinepnsarinklumaesnthinaexlkhalxydthimiokhrngsrangkhlaykhlungkbaexdionsin Adenosine sungepnsarsuxprasathchnidhnunginsmxng omelkulkhxngkaefxincungsamarthcbkbtwrbaexdionsin adenosine receptor insmxngaelaybyngkarthangankhxngaexdionsinid 9 phlodyrwmkhuxthaihmikarephimkarthangankhxngsarsuxprasathodpamin dopamine sungthaihsmxngekidkartuntw nxkcakniphbwaxaccamikarephimprimankhxngsiorothnin serotonin sungmiphltxxarmnkhxngphubriophkh thaihrusukphungphxicaelamikhwamsukhmakkhun xyangirktam kaefxinmiidldkhwamtxngkarnxnhlbkhxngsmxng ephiyngaetldkhwamrusukehnuxylalngethannxyangirkdi smxngcamikartxbsnxngtxkaefxinodykarephimprimankhxngtwrbaexdionsin thaihvththikhxngkaefxininkarbriophkhkhrngtxipldlng eraeriykphawaniwaphawathntxkaefxin caffeine tolerance aelathaihphubriophkhtxngkarkaefxinmakkhunephuxihekidphltxrangkay phlxikprakarthiekidcakkarthismxngephimprimankhxngtwrbaexdionsin nnkhuxthaihrangkayiwtxprimanaexdionsinthiphlittampktimakkhun 10 emuxhyudkarbriophkhkaefxininthnthi cathaihekidphlkhangekhiyngkhuxxakarpwdsirsaaelarusukkhlunisxaeciyn sungepnphlmacakkarthirangkaytxbsnxngtxaexdionsinmakekinipnnexng nxkcakni inphuthihyudbriophkhkaefxincathaihprimankhxngodpaminaelasiorothninldlnginthnthi sngphlihsuyesiysmathiaelakhwamtngic rwmthngxacekidxakarsumesraxyangxxnid xakardngklawnicaekidkhunpraman 12 24 chwomnghlngcakkarhyudbriophkhkaefxin aetcahayipidexngphayin 2 3 wn xakarkhxngkarxdkaefxindngklawsamarthbrrethaidodykarichyaaexsiphrin hruxkaridrbkaefxininprimannxy 11 phawaesphtidkaefxin aelaphawaphiskaefxin aekikhkarbriophkhkaefxinprimanmakepnewlanan xacnaipsuphawaesphtidkaefxin caffeinism sungcapraktxakartangthngthangrangkayaelathangcitic echn krasbkrasay witkkngwl klamenuxkratuk nxnimhlb icsn epntn 12 nxkcaknikarbriophkhkaefxinepnewlananxacthaihekidaephlinkraephaaxahar laiselkxkesb aelaorkhnayxyihlyxnklb gastroesophageal reflux disease 13 inphuthibriophkhkaefxinprimanmakinewlaediyw makkwa 400 millikrm xacthaihrabbprasathswnklangthukkratunmakekinip phawanieriykwaphawaphiskaefxin caffeine intoxication sungcathaihekidxakarkrasbkrasay nxnimhlb khwamkhidaelakarphudsbsn hnaaedng pssawamakphidpkti pwdthxng hwicetnaerng inkrnithiidrbinprimansungmak 150 200 millikrmtxnahnkrangkay 1 kiolkrm xacthaihthungaekchiwitid 14 karrksaphuthiekidphawaphiskaefxinodythwipcaepnkarrksatamxakarthiekid aethakphupwymiprimankaefxinineluxdsungmak xactxngidrbkarlangthxnghruxfxkeluxdxangxing aekikh This is the pKa for protonated caffeine given as a range of values included in Harry G Brittain Richard J Prankerd 2007 Profiles of Drug Substances Excipients and Related Methodology volume 33 Critical Compilation of Pka Values for Pharmaceutical Substances Academic Press ISBN 012260833X Peters JM 1967 Factors Affecting Caffeine Toxicity A Review of the Literature The Journal of Clinical Pharmacology and the Journal of New Drugs 7 3 131 141 doi 10 1002 j 1552 4604 1967 tb00034 x khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 12 mkrakhm 2012 Unknown parameter deadurl ignored help rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 krungethph rachbnthitysthan 2556 hna 113 Nehlig A 1992 May Aug Caffeine and the central nervous system Mechanisms of action biochemical metabolic and psychostimulant effects Brain Res Brain Res Rev 17 2 139 70 PMID 1356551 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Check date values in date help Meyer FP 1991 Time course of inhibition of caffeine elimination in response to the oral depot contraceptive agent Deposiston Hormonal contraceptives and caffeine elimination Zentralbl Gynakol 113 6 297 302 PMID 2058339 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Ortweiler W 1985 Determination of caffeine and metamizole elimination in pregnancy and after delivery as an in vivo method for characterization of various cytochrome p 450 dependent biotransformation reactions Biomed Biochim Acta 44 7 8 1189 99 PMID 4084271 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Bolton Ph D Sanford 1981 Caffeine Psychological Effects Use and Abuse PDF Orthomolecular Psychiatry 10 3 202 211 subkhnemux 2010 07 02 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Caffeine The Pharmacogenetics and Pharmacogenomics Knowledge Base subkhnemux 2006 08 14 Fisone G G 2004 Apr Caffeine as a psychomotor stimulant mechanism of action Cell Mol Life Sci 61 7 8 857 72 PMID 15095008 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Check date values in date help lingkesiy Green RM Jan 1986 Chronic caffeine ingestion sensitizes the A1 adenosine receptor adenylate cyclase system in rat cerebral cortex J Clin Invest 77 1 222 227 PMID 3003150 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Sawynok J Jan 1995 Pharmacological rationale for the clinical use of caffeine Drugs 49 1 37 50 PMID 7705215 access date requires url help Caffeine related disorders Encyclopedia of Mental Disorders subkhnemux 2006 08 14 Gastroesophageal Reflux Disease GERD Cedars Sinai subkhnemux 2006 08 14 Mrvos RM Dec 1989 Massive caffeine ingestion resulting in death Vet Hum Toxicol 31 6 571 2 PMID 2617841 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help warsarkrmwithyasastrkaraephthy chbbthi 3 kaaefihxairkbkhunbang nitysariklhmx chbbeduxn m kh 53 http www sistersandcompany comekhathungcak https th wikipedia org w index php title kaefxin amp oldid 9560206, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม