fbpx
วิกิพีเดีย

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (เยอรมัน: Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger; 12 สิงหาคม ค.ศ. 1887 - 4 มกราคม ค.ศ. 1961) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย มีชื่อเสียงในฐานะผู้วางรากฐานกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมการชเรอดิงเงอร์ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1933 ต่อมาปี ค.ศ. 1935 หลังจากได้ติดต่อคบหาและเป็นเพื่อนกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขาจึงได้เสนอแนวคิดการทดลองในจินตนาการ เรื่อง แมวของชเรอดิงเงอร์

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์
เกิดErwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger
12 สิงหาคม ค.ศ. 1887(1887-08-12)
แอร์ดแบร์ก, เวียนนา,  จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
เสียชีวิต4 มกราคม ค.ศ. 1961 (73 ปี)
เวียนนา,  ออสเตรีย
สัญชาติ ออสเตรีย
พลเมือง ออสเตรีย,  เยอรมนี,  ไอร์แลนด์
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเวียนนา
มีชื่อเสียงจากสมการชเรอดิงเงอร์
แมวของชเรอดิงเงอร์
Schrödinger method
Schrödinger functional
Schrödinger picture
Schrödinger-Newton equations
สนามชเรอดิงเงอร์
Rayleigh-Schrödinger perturbation
Schrödinger logics
Cat state
รางวัลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (1933)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาฟิสิกส์
สถาบันที่ทำงานUniversity of Breslau
มหาวิทยาลัยซูริค
มหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
University of Graz
Dublin Institute for Advanced Studies
Ghent University
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกFriedrich Hasenöhrl
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆFranz S. Exner
Friedrich Hasenöhrl
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงLinus Pauling
Felix Bloch
ลายมือชื่อ

ชีวประวัติ

ช่วงวัยเยาว์

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrödinger) มีชื่อเต็มว่า Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger เป็นนักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย เกิดที่ Erdberg ในกรุงเวียนนา (Vienna) ประเทศออสเตรีย (Austria) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ.1887 เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของ Rudolf Schrödinger และ Georgine Emilia Brenda ซึ่งเป็นลูกสาวของ Alexander Bauer ศาสตราจารย์แห่งภาควิชาเคมีของ the Technical College of Vienna  

ความสนใจอันหลากหลายของชเรอดิงเงอร์ นั้นเริ่มต้นมาจากการศึกษาในวัยเด็กที่ Akademisches Gymnasium  เขาไม่เพียงแต่สนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ แต่ยังให้ความสนใจอย่างมากเกี่ยวกับ ศาสนาตะวันออก ไวยากรณ์โบราณและความสวยงามของบทประพันธ์ของเยอรมัน อีกทั้งเรียนภาษาอังกฤษกับยายของเขาซึ่งเป็นคนอังกฤษอีกด้วย และที่สำคัญคือเขาเป็นคนไม่ชอบการเรียนโดยใช้การจดจำข้อมูลและการเรียนจากหนังสือ

ในระหว่างปี ค.ศ.1906 - 1910 ชเรอดิงเงอร์ เข้าศึกษาที่เวียนนา กับ Franz Serafin Exner (นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย : ค.ศ.1849 - 1926) และ Friedrich Hasenöhrl (นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย : ค.ศ.1874 - 1915) และฝึกงานกับ Karl Wilhelm Friedrich "Fritz" Kohlrausch เพื่อนของเขาด้วย จนกระทั่งในปี ค.ศ.1911 ชเรอดิงเงอร์กลายมาเป็นผู้ช่วยของ Franz Exner ใน University of Vienna ประเทศออสเตรีย

ในช่วงวัยรุ่น ชเรอดิงเงอร์มีความสนใจอย่างมากเกี่ยวกับ Arthur Schopenhauer เขาอ่านงานของ Schopenhauer มาอย่างยาวนานจนทำให้มีสนใจเกี่ยวกับเรื่อง ทฤษฎีสี (colour theory) และปรัชญา มาโดยตลอด 

ช่วงวัยกลางคน

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914-1918) เขาเข้าร่วมในการสงคราม โดยเป็นนายทหารในป้อมปราการปืนใหญ่แห่งออสเตรีย  หลังจากนั้น ปี ค.ศ.1920 ชเรอดิงเงอร์ได้เป็นผู้ช่วยของ Max Wien (นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน : ค.ศ.1866 - 1938) ที่ University of Jena ต่อมาในเดือนกันยายน 1920 จึงได้รับตำแหน่งอาจารย์พิเศษที่ Stuttgart และศาสตราจารย์ที่ Breslau (ปัจจุบัน คือ Wroclawในโปแลนด์) ในปีถัดมา และย้ายไปยัง University of Zurich ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี ค.ศ.1922

ชเรอดิงเงอร์ ตีพิมพ์ผลงานที่มีชื่อว่า "Quantisation as an Eigenvalue Problem" ในปี ค.ศ.1926 ซึ่งถือเป็นการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ของเขา โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับกลศาสตร์คลื่น (Wave mechanics) ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันดีคือ สมการชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger equation) ซึ่งมีทั้งสมการชเรอดิงเงอร์ใน 1 มิติ และสมการชเรอดิงเงอร์ใน 3 มิติ

 
รูปปั้นครึ่งตัวของชเรอดิงเงอร์ ในลานของอาคารหลัก มหาวิทยาลัยเวียนนา ประเทศออสเตรีย

ปี ค.ศ.1927 เข้าร่วมงานกับมักซ์ พลังค์ (Max Planck) ที่ Friedrich Wilhelm University ในกรุงเบอร์ลิน (Berlin) ประเทศเยอรมัน ซึ่งขณะนั้นกลายเป็นศูนย์กลางความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม ในปี ค.ศ.1933 เขาตัดสินใจย้ายออกจากเยอรมัน เนื่องจากมีความคิดต่อต้านในลัทธินาซี (Nazi) โดยเขาได้ย้ายไปเป็นครูที่ Magdalen College ใน University of Oxford ประเทศอังกฤษ ซึ่งต่อจากนั้นไม่นาน เขาก็ได้รับรางวัลโนเบลร่วมกับพอล ดิแรก (Paul Dirac) สำหรับผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมและกลศาสตร์ควอนตัม (quantum mechanics) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาสมการคลื่นของกลศาสตร์ควอนตัม หรือสมการคลื่นของชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger equation) นั่นเอง

ที่มาของความคิดที่นำแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ สู่การนำเสนอสมการคลื่นของเขา เริ่มต้นตั้งแต่จุดกำเนิดของทฤษฎีควอนตัม (quantum theory) โดยบิดาแห่งฟิสิกส์ควอนตัม คือ มักซ์ พลังค์ (Max Planck) เมื่อปี ค.ศ.1900 ตามด้วยความคิดในวงการฟิสิกส์ควอนตัมต่อมา เรื่องความเป็นคลื่นและอนุภาคของทุกสิ่งที่มักจะเข้าใจกันว่า เป็นคลื่นหรือเป็นอนุภาคเพียงอย่างเดียว และสำคัญที่สุด คือการนำเสนอความคิดเรื่อง "คลื่นอนุภาค" (Particle Wave) โดยนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ หลุยส์ เดอ เบรย (Louis De Broglie) เมื่อปี ค.ศ.1923

ในปี ค.ศ.1934 ชเรอดิงเงอร์ ได้รับเชิญให้ไปบรรยายที่ Princeton University ในนิวเจอร์ซี (New Jersey) ประเทศสหรัฐอเมริกา และถูกเสนอให้รับตำแหน่งประจำที่นี่ แต่เขาก็ปฏิเสธ ต่อมาในปี ค.ศ.1936 เขาจึงตกลงรับตำแหน่งที่ University of Graz ในประเทศออสเตรีย และตำแหน่งในภาควิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยอัลลาฮาบาด (Allahabad University) ในอินเดีย จนกระทั่งในปี 1935 หลังจากได้ติดต่อคบหาและเป็นเพื่อนกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขาจึงได้เสนอแนวคิดการทดลองในจินตนาการ เรื่อง แมวของชเรอดิงเงอร์

ช่วงบั้นปลายชีวิต

ปี ค.ศ.1938 หลังจาก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ครอบครองออสเตรีย ชเรอดิงเงอร์ ต้องประสบปัญหาเนื่องจากการที่เขามีความคิดต่อต้านพวกนาซี และออกมาจากเยอรมันในปี 1933 ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นมิตรนัก แม้ว่าเขาจะปฏิเสธว่าไม่ได้ต่อต้านนาซี แต่ความไม่ไว้วางใจทางด้านการเมือง ทำให้เขาต้องออกจากงาน และถูกคำสั่งห้ามออกนอกประเทศ แต่เขาและภรรยาก็หนีไปอิตาลีได้สำเร็จ และได้ไปทำงานที่ Oxford และย้ายไปที่ University of Ghent

ในปี ค.ศ.1940 เขาได้รับเชิญให้เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง Institute for Advanced Studies ในกรุงดับลิน (Dublin) ประเทศไอร์แลนด์ (Ireland) และกลายเป็นผู้อำนวยการของ School for Theoretical Physics และอยู่ในตำแหน่งถึง 17 ปี ตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากกว่า 50 ชิ้น ในหลากหลายหัวข้อ รวมถึงความพยายามในการศึกษาทฤษฎีสนามรวม หรือ unified field theory (ทฤษฎีของไอน์สไตน์ ว่าด้วยการรวมทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism) และทฤษฏีแรงโน้มถ่วง (Gravitation) เข้าด้วยกัน)

ปี ค.ศ.1944 เขาเขียนหนังสือที่มีชื่อว่า "What is Life?" ซึ่งหนังสือดังกล่าวกลายเป็นแรงบันดาลใจให้กับเจมส์ วัตสัน (James D. Watson) ในการค้นคว้าวิจัยเรื่องยีน (Gene) และนำไปสู่การค้นพบโครงสร้างของ DNA ในที่สุด

เขาอยู่ที่กรุงดับลิน จนกระทั่งเกษียณอายุในปี ค.ศ.1955 หลังจากนั้น 1 ปี เขากลับไปยังเวียนนา ในช่วงเวลานี้ชเรอดิงเงอร์ได้หันกลับมาสนใจในเรื่องพื้นฐานของฟิสิกส์อะตอม โดยเขาไม่ค่อยเห็นด้วยกับนิยามทางกลศาสตร์ควอนตัมเกี่ยวกับคลื่นและอนุภาค และพยายามที่จะตั้งทฤษฎีในแง่ของคลื่นเท่านั้น สิ่งนี้ทำให้เขาเกิดการขัดแย้งกันอย่างมากกับนักฟิสิกส์ชั้นนำอื่น ๆ

ชเรอดิงเงอร์ได้เสียชีวิตลงในวันที่ 4 มกราคม ค.ศ.1961 ขณะมีอายุ 73 ปี ด้วยโรควัณโรค และฝังศพเขาไว้ที่เมือง Alpbach ประเทศออสเตรีย

อ้างอิง

  1. J J O'Connor; E F Robertson (October 2003). "Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger". School of Mathematics and Statistics University of St Andrews, Scotland. สืบค้นเมื่อ 2009-02-12. line feed character in |publisher= at position 37 (help)
  2. https://en.wikipedia.org/wiki/Erwin_Schr%C3%B6dinger
  3. http://www.nobelprize.org/nobel_prizes/physics/laureates/1933/schrodinger-bio.html

แหล่งข้อมูลอื่น

  • แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ บนธนบัตรออสเตรีย
  • วิดีโอการประชุมซอลเวย์ ค.ศ. 1927 ซึ่งมีชเรอดิงเงอร์อยู่ในภาพเปิด
  • "biographie" ((เยอรมัน)) หรือ
  • "Biography from the Austrian Central Library for Physics" ((อังกฤษ))
  • บทความเกี่ยวกับแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ จาก สารานุกรมบริตันนิกา
  • Nobel Lectures, Physics 1922-1941, "Erwin Schrödinger Biography" จาก NobelPrize.org
  • Vallabhan, C. P. Girija, "Indian influences on Quantum Dynamics" [ed. Schrödinger's interest in Vedanta]
  • Schrödinger Medal of the World Association of Theoretically Oriented Chemists (WATOC)
  • The Discovery of New Productive Forms of Atomic Theory Nobel Banquet speech ((เยอรมัน))
  • การทดลองทางความคิด "แมวของชเรอดิงเงอร์"
  • +Erwin Annotated bibliography for Erwin Schrodinger from the Alsos Digital Library for Nuclear Issues
  • Schrödinger and his interest for Hinduism
  • Critical interdisciplinary review of Schrödinger's "What is life?" ((อิตาลี))

แอร, ชเรอด, งเงอร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เยอรม, erwin, rudo. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir aexrwin cherxdingengxr eyxrmn Erwin Rudolf Josef Alexander Schrodinger 12 singhakhm kh s 1887 4 mkrakhm kh s 1961 epnnkfisiksthvsdichawxxsetriy michuxesiynginthanaphuwangrakthanklsastrkhwxntm odyechphaaxyangyingsmkarcherxdingengxr sungthaihekhaidrbrangwloneblsakhafisiks inpi kh s 1933 txmapi kh s 1935 hlngcakidtidtxkhbhaaelaepnephuxnkbxlebirt ixnsitn ekhacungidesnxaenwkhidkarthdlxngincintnakar eruxng aemwkhxngcherxdingengxraexrwin cherxdingengxrekidErwin Rudolf Josef Alexander Schrodinger 12 singhakhm kh s 1887 1887 08 12 aexrdaebrk ewiynna ckrwrrdixxsetriy hngkariesiychiwit4 mkrakhm kh s 1961 73 pi ewiynna xxsetriysychati xxsetriyphlemuxng xxsetriy eyxrmni ixraelndsisyekamhawithyalyewiynnamichuxesiyngcaksmkarcherxdingengxraemwkhxngcherxdingengxrSchrodinger methodSchrodinger functionalSchrodinger pictureSchrodinger Newton equationssnamcherxdingengxrRayleigh Schrodinger perturbationSchrodinger logicsCat staterangwlrangwloneblsakhafisiks 1933 xachiphthangwithyasastrsakhafisikssthabnthithanganUniversity of Breslau mhawithyalysurikh mhawithyalyhumobldthaehngebxrlinmhawithyalyxxksfxrd University of Graz Dublin Institute for Advanced Studies Ghent UniversityxacarythipruksainradbpriyyaexkFriedrich Hasenohrlxacarythipruksaxun Franz S ExnerFriedrich HasenohrlluksisythimichuxesiyngLinus PaulingFelix Blochlaymuxchux enuxha 1 chiwprawti 1 1 chwngwyeyaw 1 2 chwngwyklangkhn 2 3 1 3 chwngbnplaychiwit 2 3 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxunchiwprawti aekikhchwngwyeyaw aekikh aexrwin cherxdingengxr Erwin Schrodinger michuxetmwa Erwin Rudolf Josef Alexander Schrodinger epnnkfisikschawxxsetriy ekidthi Erdberg inkrungewiynna Vienna praethsxxsetriy Austria emuxwnthi 12 singhakhm kh s 1887 epnbutrchayephiyngkhnediywkhxng Rudolf Schrodinger aela Georgine Emilia Brenda sungepnluksawkhxng Alexander Bauer sastracaryaehngphakhwichaekhmikhxng the Technical College of Vienna 2 khwamsnicxnhlakhlaykhxngcherxdingengxr nnerimtnmacakkarsuksainwyedkthi Akademisches Gymnasium ekhaimephiyngaetsnicthangdanwithyasastr aetyngihkhwamsnicxyangmakekiywkb sasnatawnxxk iwyakrnobranaelakhwamswyngamkhxngbthpraphnthkhxngeyxrmn xikthngeriynphasaxngkvskbyaykhxngekhasungepnkhnxngkvsxikdwy aelathisakhykhuxekhaepnkhnimchxbkareriynodyichkarcdcakhxmulaelakareriyncakhnngsux 2 3 inrahwangpi kh s 1906 1910 cherxdingengxr ekhasuksathiewiynna kb Franz Serafin Exner nkfisikschawxxsetriy kh s 1849 1926 aela Friedrich Hasenohrl nkwithyasastrchawxxsetriy kh s 1874 1915 aelafukngankb Karl Wilhelm Friedrich Fritz Kohlrausch ephuxnkhxngekhadwy cnkrathnginpi kh s 1911 cherxdingengxrklaymaepnphuchwykhxng Franz Exner in University of Vienna praethsxxsetriyinchwngwyrun cherxdingengxrmikhwamsnicxyangmakekiywkb Arthur Schopenhauer ekhaxanngankhxng Schopenhauer maxyangyawnancnthaihmisnicekiywkberuxng thvsdisi colour theory aelaprchya maodytlxd 2 3 chwngwyklangkhn 2 3 aekikh inchwngsngkhramolkkhrngthi 1 kh s 1914 1918 ekhaekharwminkarsngkhram odyepnnaythharinpxmprakarpunihyaehngxxsetriy hlngcaknn pi kh s 1920 cherxdingengxridepnphuchwykhxng Max Wien nkfisikschaweyxrmn kh s 1866 1938 thi University of Jena txmaineduxnknyayn 1920 cungidrbtaaehnngxacaryphiessthi Stuttgart aelasastracarythi Breslau pccubn khux Wroclawinopaelnd inpithdma aelayayipyng University of Zurich praethsswitesxraelnd inpi kh s 1922cherxdingengxr tiphimphphlnganthimichuxwa Quantisation as an Eigenvalue Problem inpi kh s 1926 sungthuxepnkarkhnphbthiyingihykhxngekha odymienuxhaekiywkbklsastrkhlun Wave mechanics sungpccubnruckkndikhux smkarcherxdingengxr Schrodinger equation sungmithngsmkarcherxdingengxrin 1 miti aelasmkarcherxdingengxrin 3 miti ruppnkhrungtwkhxngcherxdingengxr inlankhxngxakharhlk mhawithyalyewiynna praethsxxsetriy pi kh s 1927 ekharwmngankbmks phlngkh Max Planck thi Friedrich Wilhelm University inkrungebxrlin Berlin praethseyxrmn sungkhnannklayepnsunyklangkhwamecriythangdanwithyasastr aetxyangirktam inpi kh s 1933 ekhatdsinicyayxxkcakeyxrmn enuxngcakmikhwamkhidtxtaninlththinasi Nazi odyekhaidyayipepnkhruthi Magdalen College in University of Oxford praethsxngkvs sungtxcaknnimnan ekhakidrbrangwloneblrwmkbphxl diaerk Paul Dirac sahrbphlnganekiywkbthvsdixatxmaelaklsastrkhwxntm quantum mechanics odyechphaaxyangying karphthnasmkarkhlunkhxngklsastrkhwxntm hruxsmkarkhlunkhxngcherxdingengxr Schrodinger equation nnexngthimakhxngkhwamkhidthinaaexrwin cherxdingengxr sukarnaesnxsmkarkhlunkhxngekha erimtntngaetcudkaenidkhxngthvsdikhwxntm quantum theory odybidaaehngfisikskhwxntm khux mks phlngkh Max Planck emuxpi kh s 1900 tamdwykhwamkhidinwngkarfisikskhwxntmtxma eruxngkhwamepnkhlunaelaxnuphakhkhxngthuksingthimkcaekhaicknwa epnkhlunhruxepnxnuphakhephiyngxyangediyw aelasakhythisud khuxkarnaesnxkhwamkhideruxng khlunxnuphakh Particle Wave odynkfisikschawfrngess chux hluys edx ebry Louis De Broglie emuxpi kh s 1923inpi kh s 1934 cherxdingengxr idrbechiyihipbrryaythi Princeton University inniwecxrsi New Jersey praethsshrthxemrika aelathukesnxihrbtaaehnngpracathini aetekhakptiesth txmainpi kh s 1936 ekhacungtklngrbtaaehnngthi University of Graz inpraethsxxsetriy aelataaehnnginphakhwichafisiksthimhawithyalyxllahabad Allahabad University inxinediy cnkrathnginpi 1935 hlngcakidtidtxkhbhaaelaepnephuxnkbxlebirt ixnsitn ekhacungidesnxaenwkhidkarthdlxngincintnakar eruxng aemwkhxngcherxdingengxr chwngbnplaychiwit 2 3 aekikh pi kh s 1938 hlngcak xdxlf hitelxr Adolf Hitler khrxbkhrxngxxsetriy cherxdingengxr txngprasbpyhaenuxngcakkarthiekhamikhwamkhidtxtanphwknasi aelaxxkmacakeyxrmninpi 1933 sungepnkarkrathathiimepnmitrnk aemwaekhacaptiesthwaimidtxtannasi aetkhwamimiwwangicthangdankaremuxng thaihekhatxngxxkcakngan aelathukkhasnghamxxknxkpraeths aetekhaaelaphrryakhniipxitaliidsaerc aelaidipthanganthi Oxford aelayayipthi University of Ghentinpi kh s 1940 ekhaidrbechiyihepnphurwmkxtng Institute for Advanced Studies inkrungdblin Dublin praethsixraelnd Ireland aelaklayepnphuxanwykarkhxng School for Theoretical Physics aelaxyuintaaehnngthung 17 pi tiphimphphlnganwicymakkwa 50 chin inhlakhlayhwkhx rwmthungkhwamphyayaminkarsuksathvsdisnamrwm hrux unified field theory thvsdikhxngixnsitn wadwykarrwmthvstiaemehlkiffa Electromagnetism aelathvstiaerngonmthwng Gravitation ekhadwykn pi kh s 1944 ekhaekhiynhnngsuxthimichuxwa What is Life sunghnngsuxdngklawklayepnaerngbndalicihkbecms wtsn James D Watson inkarkhnkhwawicyeruxngyin Gene aelanaipsukarkhnphbokhrngsrangkhxng DNA inthisudekhaxyuthikrungdblin cnkrathngeksiynxayuinpi kh s 1955 hlngcaknn 1 pi ekhaklbipyngewiynna inchwngewlanicherxdingengxridhnklbmasnicineruxngphunthankhxngfisiksxatxm odyekhaimkhxyehndwykbniyamthangklsastrkhwxntmekiywkbkhlunaelaxnuphakh aelaphyayamthicatngthvsdiinaengkhxngkhlunethann singnithaihekhaekidkarkhdaeyngknxyangmakkbnkfisikschnnaxun 2 3 cherxdingengxridesiychiwitlnginwnthi 4 mkrakhm kh s 1961 khnamixayu 73 pi dwyorkhwnorkh aelafngsphekhaiwthiemuxng Alpbach praethsxxsetriyxangxing aekikh J J O Connor E F Robertson October 2003 Erwin Rudolf Josef Alexander Schrodinger School of Mathematics and Statistics University of St Andrews Scotland subkhnemux 2009 02 12 line feed character in publisher at position 37 help 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 https en wikipedia org wiki Erwin Schr C3 B6dinger 3 0 3 1 3 2 3 3 3 4 http www nobelprize org nobel prizes physics laureates 1933 schrodinger bio htmlaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb aexrwin cherxdingengxraexrwin cherxdingengxr bnthnbtrxxsetriy widioxkarprachumsxlewy kh s 1927 sungmicherxdingengxrxyuinphaphepid biographie eyxrmn hrux Biography from the Austrian Central Library for Physics xngkvs bthkhwamekiywkbaexrwin cherxdingengxr cak saranukrmbritnnika Nobel Lectures Physics 1922 1941 Erwin Schrodinger Biography cak NobelPrize org Vallabhan C P Girija Indian influences on Quantum Dynamics ed Schrodinger s interest in Vedanta Schrodinger Medal of the World Association of Theoretically Oriented Chemists WATOC The Discovery of New Productive Forms of Atomic Theory Nobel Banquet speech eyxrmn karthdlxngthangkhwamkhid aemwkhxngcherxdingengxr Erwin Annotated bibliography for Erwin Schrodinger from the Alsos Digital Library for Nuclear Issues Schrodinger and his interest for Hinduism Critical interdisciplinary review of Schrodinger s What is life xitali bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title aexrwin cherxdingengxr amp oldid 8753155, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม